Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้สังคมศึกษา1ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4ครูชำนาญ โมสกุล ครูณัฐวรินทร ธารบุปผา

ใบความรู้สังคมศึกษา1ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4ครูชำนาญ โมสกุล ครูณัฐวรินทร ธารบุปผา

Published by PUCRAB, 2020-06-21 07:10:03

Description: ใบความรู้สังคมศึกษา1ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ครูชำนาญ โมสกุล ครูณัฐวรินทร ธารบุปผา

Search

Read the Text Version

สังคมน่ารู้กับครูเตรยี มน้อมนนท์ ส31101 สงั คมศึกษา1 ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 4 ใบความรู้ ประวัติและความสาคัญของพระพุทธศาสนา หลกั การของพระพทุ ธศาสนากับหลกั วิทยาศาสตร์ หลกั ของวทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ คอื วิชาที่เกิดจากการศึกษาค้นคว้าหาหลกั ฐานและเหตผุ ลแล้วจงึ นามาจดั เข้าเปน็ ระเบยี บ หรือวิชาท่มี นุษย์พยายามศึกษาเรื่องราวของตนเองและจักรวาลจนเกดิ ความรู้ ซึ่งไดม้ าโดยการสงั เกตและ ค้นควา้ จากธรรมชาตแิ ลว้ นามาจัดระเบียบ หลักการของวทิ ยาศาสตร์ มีดงั น้ี 1. วิทยาศาสตร์เนน้ ด้านวัตถุนยิ ม คือสสารและพลังงาน และความสุขทางวัตถุ 2. วทิ ยาศาสตร์เช่ือวา่ ความจริงรบั รไู้ ดด้ ว้ ยประสาทสมั ผสั ไดแ้ ก่ ตา หู จมูก ล้นิ และกาย 3. วทิ ยาศาสตร์ไม่ยอมรับความจรงิ ทเี่ ป็นนามธรรม (หรือจติ ใจ) ซึง่ สมั ผสั จับต้องไม่ได้ 4. วทิ ยาศาสตรเ์ นน้ ให้คนแสวงหาความสุขทางกาย 5. วิทยาศาสตรใ์ ห้ความสาคญั กบั มลู คา่ หรือผลสาเร็จคิดเปน็ ราคา ตน้ ทุน และกาไร หลักการของพระพุทธศาสนา หลกั การสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา คือ การเขา้ ถงึ ความหลดุ พน้ จากความทุกข์ โดย จาแนกเป็นข้อ ๆ ได้ดังนี้ 1. พระพทุ ธศาสนายอมรบั ความจรงิ อ่นื นอกจากวัตถุ 2. พระพุทธศาสนายอมรบั ความจริงทเี่ ปน็ นามธรรม (จิตใจ) เชน่ กรรมดี กรรมชัว่ 3. พระพทุ ธศาสนายอมรบั ในประสาทสัมผัสทง้ั หา้ และประสาทสมั ผัสทางจิต 4. พระพทุ ธศาสนาเนน้ ให้คนเป็นคนดี โดยมุง่ ฝึกฝนอบรมทางจิต 5. พระพทุ ธศาสนามงุ่ เนน้ ความสงบสุขทางใจ หรือความสุขจากการสละกิเลสตัณหา 6. พระพทุ ธศาสนามีเป้าหมายให้ชาวพทุ ธหลุดพน้ จากความทุกข์ ท้ังในการดาเนินชีวติ ประจาวัน (การดารงชวี ติ ในสังคม) และ ดับทุกขโ์ ดยสน้ิ เชิง (นิพพาน) เปรยี บเทียบหลักการของพระพุทธศาสนากบั หลักวิทยาศาสตร์ หลกั การของพระพุทธศาสนากบั วทิ ยาศาสตร์ มีท้งั เหมอื นกนั และแตกตา่ งกัน ดังนี้ 1. หลกั การท่ีเหมือนกนั มี 3 ประการ คือ (1) ความจริงที่ค้นพบ เกดิ จากการพิสูจน์ใหป้ ระจกั ษด์ ว้ ยประสบการณ์ของตนเอง (2) จดุ มุง่ หมาย มุ่งแสวงหาความจรงิ ท่ีเกดิ ประโยชน์ต่อมนุษยชาติ (3) วิธกี ารแสวงหาความจริง เนน้ การลงมือปฏิบตั ิ ทดลอง และพสิ ูจน์ 2. หลกั การทแ่ี ตกต่างกัน คือ พระพุทธศาสนามุ่งค้นหาความจรงิ ทเ่ี ป็นประสบการณ์ ด้านจิตใจแตว่ ิทยาศาสตรม์ ่งุ แสวงหาความจริงหรือคาตอบที่ตอ้ งการเปน็ วัตถุ (สสารและพลังงาน) การคดิ ตามนยั แห่งพระพุทธศาสนากบั การคิดแบบวทิ ยาศาสตร์ พระพุทธศาสนากบั วิทยาศาสตร์ มีวิธีการทเี่ ปน็ ระบบเหมือนกนั ดงั นี้ 1. วิธคี ดิ ตามนยั แห่งพระพทุ ธศาสนา เปน็ กระบวนการคิดพิจารณาคน้ คว้าหาคาตอบ ของพระพุทธเจ้าเพื่อตรสั รู้ สรปุ ได้ 2 วธิ ี คือ (1) คิดโดยสืบสาวจากผลไปหาเหตุ เชน่ การสงั เกตสภาพของคนแก่ คนเจบ็ คน ตาย (เปน็ ผล) และคิดตามหลักอริยสัจ 4 (ทุกข์, สมุทัย, นิโรธ, มรรค)

สงั คมนา่ ร้กู ับครเู ตรยี มนอ้ มนนท์ ส31101 สังคมศึกษา1 ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 4 ใบความรู้ (2) คดิ โดยสบื สาวจากเหตุไปหาผล คอื การคิดจะลงมือปฏิบัติโดยวิธกี ารตา่ ง ๆ เชน่ การบาเพญ็ เพยี รทางจิต จะสง่ ผลให้เกดิ การรู้แจง้ ในสจั ธรรม 2. วิธคี ดิ แบบวทิ ยาศาสตร์ เป็นการคดิ ใช้เหตผุ ล หรอื คดิ ตามกระบวนการของ “วธิ กี าร วิทยาศาสตร์” โดยเริม่ ตงั้ แต่ การสังเกต การรวบรวมขอ้ มลู การตั้งสมมติฐาน การทดสอบ และการสรุปผลตามลาดับ 4. ความสอดคล้องกันระหว่างแนวคดิ ของพระพุทธศาสนากับวทิ ยาศาสตร์ พระพทุ ธศาสนากับวทิ ยาศาสตร์ มแี นวคดิ สอดคล้องกัน 2 ประการ ดงั น้ี 1. ความไม่เทย่ี งของสรรพสิ่งในโลก สง่ิ ทงั้ หลายท้ังปวงเกิดขึน้ และดาเนนิ เปน็ ไป ตามกฎแหง่ เหตุและผลตามธรรมชาติ (หลักคาสอนเรอ่ื งไตรลักษณ์ของพระพทุ ธศาสนา) สอดคล้องกับทรรศนะของวิทยาศาสตร์ทว่ี า่ ทุกสิ่งในสากลจักรวาลมกี ารเคลอ่ื นไหวหรือเปลย่ี นแปลงอย่ตู ลอดเวลา ไม่หยุดนง่ิ 2. มนุษยค์ อื ผลผลิตของธรรมชาติ ไม่ไดเ้ กดิ จากการปน้ั แต่งของพระเจา้ 3. การพสิ ูจน์ความจริงอยา่ งเสรแี ละมีเหตผุ ล พระพุทธศาสนาสอนไม่ให้เชื่ออะไร ง่าย ๆ (หลักคาสอนเรือ่ งกาลามาสูตร) โดยไม่ได้พสิ ูจนใ์ หป้ ระจกั ษ์ด้วยประสบการณข์ องตนเองเสยี ก่อน ซึ่งสอดคล้องกับหลักแนวคดิ ของวิทยาศาสตร์เช่นกัน ความแตกตา่ งในแนวคดิ ระหวา่ งพระพุทธศาสนากบั วทิ ยาศาสตร์ มีคาสอนในพระพุทธศาสนาบางเรอ่ื งที่วิทยาศาสตร์ไมย่ อมรบั เพราะวทิ ยาศาสตร์ไมส่ ามารถแยกแยะหรือพิสจู นไ์ ด้ มีดังน้ี 1. คาสอนเรือ่ งของจิต ได้แก่ หลกั คาสอนเร่ือง “เบญจขนั ธ์” หรือองคป์ ระกอบของมนษุ ย์ 5 ประการ ได้แก่ รปู ขนั ธ์ (ร่างกาย) และนามขันธ์ 4 (ส่วนประกอบที่เป็นจิต 4 อย่าง ไดแ้ ก่ เวทนา สญั ญา สังขาร และวญิ าณ) ซ่ึงวิทยาศาสตร์ไมส่ ามารถใช้ เครอ่ื งมอื พสิ จู นใ์ หป้ ระจักษ์ได้ 2. คาสอนเรื่องปญั ญา คาสอนในพระพุทธศาสนาเร่อื งปญั ญาขึ้นสูงสุด คือ การ เข้าถึงโลกตุ ระ (ปญั ญาทท่ี หี่ ลุดพ้นจากกิเลสหรือวิสัยทางโลก) โดยวธิ ฝี ึกอบรมวปิ สั สนาจนเกิดปญั ญาร้แู จ้งตามความจริงน้นั เป็นสงิ่ ท่ี วิทยาศาสตรย์ ังไมย่ อมรบั ลักษณะประชาธิปไตยในพระพทุ ธศาสนา 1. พระพุทธศาสนามีหลักการเปน็ ประชาธปิ ไตย พระพุทธศาสนาไดช้ ือ่ ว่าเปน็ ศาสนาท่ีมลี ักษณะประชาธิปไตยหลายประการ สรปุ ดงั น้ี 1. ยดึ หลกั ธรรมาธิปไตย โดยใช้เหตผุ ลเป็นใหญ่ มิใช่ยดึ ในตัวบคุ คล 2. การไม่บงั คบั ใหช้ าวพุทธมเี สรีภาพทางความคิดและปฏิบตั ิ ให้เกิดศรัทธาดว้ ยปญั ญา 3. การรบั ฟังความเห็น หรอื ฟงั เสียงของเหลา่ พทุ ธบริษทั 4 และนามาพิจารณาไตรต่ รอง 4. การกระจายอานาจ มอบภาระหน้าที่ใหส้ งฆร์ บั ผิดชอบในพื้นฐานที่ต่าง ๆ 5. จดุ มุง่ หมายสงู สุดของพระพทุ ธศาสนา คอื มุ่งสูอ่ ิสรภาพ (หมายถงึ บุคคลเปน็ อิสระจากกเิ ลสกองทกุ ข์เครื่องเศรา้ หมองทง้ั ปวง)หรือเรียกวา่ “วิมตุ ิ” 6. ความเสมอภาคของบุคคล ไม่ยอมรับในเร่อื งชนช้ันวรรณะ 7. ยดึ หลักความถกู ต้องตามธรรมะและความเป็นเอกฉันท์ในการลงมติในทีป่ ระชมุ หมายถงึ ให้พิจาณาตัดสินจาก “เสียงขา้ งมาก” ในที่ประชมุ สงฆ์ ประกอบกบั หลักความถูกต้องตามศลี วินัยสงฆแ์ ละหลักธรรมะอ่นื ๆ ประกอบการพจิ ารณาร่วมกนั 8. มหี ลกั ธรรมสนับสนุ นการประชุมในหมู่สงฆ์และเคารพกฎของการประชุม คือ หลกั ธรรม เรื่อง

สังคมนา่ รกู้ บั ครเู ตรียมน้อมนนท์ ส31101 สงั คมศกึ ษา1 ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 ใบความรู้ “อปรหิ านิยธรรม” มี 7 ประการ เชน่ หมน่ั ประชมุ เป็นเนืองนติ ย์ เข้าประชุมและเลกิ ประชุมพรอ้ มเพรยี งกันเป็นตน้ พระพุทธศาสนาเนน้ การฝึกฝนอบรมตนเอง การพึ่งตนเอง และการมงุ่ สู่อสิ รภาพ พระพุทธศาสนาสอนให้ชาวพุทธหมั่นฝกึ ฝนอบรมตนเอง โดยการศกึ ษาให้ครบทัง้ 3 ดา้ น เรยี กว่า “ไตรสกิ ขา” (สิกขา แปลวา่ ศึกษา) มดี งั นี้ 1. ศีล (อธสิ ีลสิกขา) คือ การฝกึ ฝนอบรมตนเองทางดา้ นศลี โดยควบคมุ กายและ วาจาไม่ใหเ้ บยี ดเบยี นผู้อื่น (รักษาศลี 5) 2. สมาธิ (อธจิ ิตตสกิ ขา) คอื การฝกึ อบรมทางด้านจิตใจ โดยควบคมุ จติ ใจให้ อ่อนโยน ปลอดโปรง่ บรสิ ุทธ์ิ แน่วแน่ และม่ันคง 3. ปัญญา อธิปัญญาสิกขา) คือ การฝึกอบรมตนเองทางด้านปัญญา ให้รูเ้ ท่าทันโลก ตามความเป็นจริง จนจิตใจเป็นอสิ ระอยู่ภายใต้อานาจของกิเลสตัณหา เป้าหมายในการฝกึ ฝนอบรมตนเอง การฝึกฝนอบรมตนเองตามหลัก “ไตรสิกขา” ดงั กล่าว มีเปา้ หมาย 2 ระดับ คือ 1. การพง่ึ ตนเองได้ หมายถงึ ควบคุมตนเองได้ทัง้ กาย วาจา และใจ ทาให้สามารถ ดาเนินชวี ิตประจาวนั ด้วยตนเองได้อยา่ งถูกต้อง แกป้ ญั หาหรือตัดสนิ ใจได้ด้วยตนเอง ไม่ต้องใหผ้ ใู้ ดมาคอยกากบั 2. การมีอิสรภาพ เมือ่ พึ่งตนเองได้ย่อมมีอสิ รภาพ หมายถึงมีอสิ ระทีจ่ ะคดิ จะทา จะ ตดั สินใจในเรือ่ งใด ๆ ได้ดว้ ยตนเอง การมีอสิ ระทางจติ ใจไม่ตกอยู่อานาจของใคร ย่อมทาให้ชวี ติ มีความสขุ

สังคมน่าร้กู บั ครูเตรยี มน้อมนนท์ ส31101 สังคมศกึ ษา1 ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 4 ใบความรู้ พุทธประวตั ิ พุทธจริยาพุทธจริยา คือ การปฏิบัติตนหรอื การบาเพ็ญประโยชน์ของพระพทุ ธเจ้า พุทธจริยาประกอบด้วยพระจริยวัตร ของพระพุทธเจา้ 3 ประการ ดงั น้ี 1. โลกตั ถจรยิ า การบาเพญ็ ประโยชนต์ อ่ ชาวโลก 2. ญาตัตถจรยิ า การบาเพ็ญประโยชน์แก่พระประยูรญาติ 3. พุทธตั ถจริยา การบาเพญ็ ประโยชน์แกพ่ ระองค์เองและผู้อนื่ ตามหนา้ ท่แี ละความรบั ผิดชอบในฐานะทรงเปน็ พระพุทธเจา้ โลกัตถะจรยิ า คอื การบาเพญ็ ประโยชน์ของพระพุทธเจ้าต่อชาวโลกภายหลังการตรสั ร้เู ปน็ องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว มดี ังน้ี 1. เวลาเชา้ มืดกอ่ นสว่าง ทรงพจิ ารณาถึงบุคคลหรอื สถานท่ที จี่ ะเดินทางไปโปรด 2. เวลาเช้า เสด็จออกบิณฑบาต 3. เวลาเย็นแสดงธรรมโปรดประชาชน 4. เวลาคา่ ประทานโอวาทแกพ่ ระภกิ ษุ 5. เวลาเที่ยงคนื สนทนาธรรมกับเทวดา (กษตั ริยห์ รอื บคุ คลชน้ั สงู ) ญาตัตถจริยา คือ การบาเพ็ญประโยชน์ของพระพุทธเจ้าตอ่ พระประยูรญาติ ซึ่งประกอบด้วย พระญาติวงศ์ 2 ฝ่าย ต้ังบ้านเมืองอยู่ สองฝั่งแม่น้าโรหิณี ได้แก่ ฝ่ายพระมารดาท่ีเมืองเทวทหะ แคว้นโกลิยะ และฝ่ายพระบิดาที่เมืองกบิลพัสดุ์ แค้วนสักกะ สรุปพุทธ จริยาในข้อนไ้ี ดด้ นี ี้ 1. โปรดพระบิดา (พระเจ้าสุทโธทนะ) และพระประยูรญาติท่ีเมืองกบิลพัสด์ุ เป็นผลให้บิดาและพระญาติวงศ์เกิดความ ศรัทธาเขา้ รบั นบั ถือในพระพทุ ธศาสนาจานวนมาก 2. โปรดพระนางพิมพาและพระราหุล ผลจากการเสด็จไปแสดงธรรมเทศนาโปรดพระประยูรญาติในคร้ังน้ี พระนางพิมพา (พระมารดาของพระโอรสราหุล) ได้ขออุปสมบทเป็นภิกษุณี ต่อมาได้ชื่อใหม่ว่า “ภัททากัจจานา” และพระราหุล พระโอรสได้ขอ บวชเปน็ สามเณรองค์แรกในพระพทุ ธศาสนา 3. ทรงระงบั กรณพี ิพาทระหวา่ งพระญาติ โดยมสี าเหตเุ กิดจากราษฎรชาวเมืองกบลิ พัสดุ์กบั ชาวเมืองโกลิยะขัดแย้งกันเร่ือง การทดน้าเข้านาในในช่วงฝนแล้ง ซึ่งระดับน้าในแม่น้าโรหิณีลดลงต่า ทาให้กองทัพทั้งสองฝ่ายเตรียมทาสงครามแย่งน้ากัน พระพุทธเจา้ จงึ เสด็จไปหา้ ม พุทธัตถจริยา คอื การบาเพ็ญประโยชนข์ องพระพุทธเจ้าตามหนา้ ทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบในฐานะที่ทรงเป็นพระบรมศาสดา มดี งั น้ี 1. ทรงแสดงธรรมโปรดเวไนยสตั ว์ (สัตวท์ ่ีพงึ สั่งสอนอบรมขัดเกลาได้) 2. ทรงบัญญัติพระวินัยแก่พุทธบริษัท ได้แก่ ศีล 5 (ชาวพุทธท่ัวไป) , ศีล 8 (อุบาสกและอุบาสิกา) , ศีล 227 (ภิกษุ) และศีล 311 (ภกิ ษุณ)ี 3. ทรงมอบความเป็นใหญ่ให้แก่คณะสงฆ์ เช่น มอบอานาจให้คณะสงฆ์ในชนบทบริหารและปกครองกันเอง และทาพิธีบวช ให้แกผ่ ศู้ รัทธาเล่ือมใส โดยไม่ต้องยดึ ติดกบั พระพทุ ธองค์ 4. ทรงประกาศให้พระธรรมวินัยเป็นศาสดาแทนพระสงฆ์ ก่อนเสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน ทรงให้โอวาทแก่พระสงฆ์และพุทธ บริษัทให้ยดึ พระธรรมวนิ ยั เป็นท่ีพงึ่ หรอื เป็นศาสดาแทนพระองค์

สังคมน่ารู้กบั ครเู ตรียมน้อมนนท์ ส31101 สงั คมศึกษา1 ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 ใบความรู้ ชาดก ความหมายของชาดก ชาดก คือ เร่ืองราวในอดตี ชาตขิ องพระพทุ ธเจ้าทีป่ รากฏในคัมภรี ์พระไตรปิฎก โดยแสดงเก่ียวกับชาติ กาเนิดของพระพุทธเจา้ ในอดตี ชาตปิ างก่อน (เรยี กว่า พระโพธสิ ัตว์) ซง่ึ ต้องทรงสะสมปัญญาบารมมี ใี นด้านต่าง ๆ เช่น ความมเี มตตา ความเพยี ร ฯลฯ ก่อนทจี่ ะสง่ ผลใหท้ รงเสวยชาติเปน็ พระสัมมาสัมพุทธเจา้ ในที่สดุ มโหสถชาดก มโหสถ เป็นเรอ่ื งราวของพระโพธสิ ัตว์ชาตทิ ี่ 5 ในทศชาติ มสี าระสาคัญสรปุ ไดด้ ังนี้ 1. มโหสถ มีชาติกาเนิดเป็นบุตรของเศรษฐีชื่อสิริวัฒกะและนางสุมนาเทวีแห่งเมืองมิถิลา เหตุท่ีได้ชื่อว่า “มโหสถ” เพราะ เมื่อแรกคลอด มือทารกน้อยถือแท่งยาววิเศษของพระอินทร์ติดมือมา ซ่ึงต่อมาได้นามาปรึกษาคนเจ็บไข้ได้ป่วยได้ผลอย่างน่า มหศั จรรย์ 2. ความสามารถของมโหสถกุมาร ไดแ้ สดงสตปิ ัญญาอนั เฉียบแหลมต้ังแตว่ ัยเด็กจนถึงวัยหนุ่มได้ชว่ ยแก้ไขปัญญาข้อพิพาท ให้เพื่อนบ้านด้วยสติปัญญาอันชาญฉลาด รวมทั้งถูกพระราชาทดสอบการใช้ปัญญาแก้ไขปัญหาต่าง ๆซ่ึงมโหสถสามารถทาได้ด้วยดี สรุปได้ดงั น้ี (1) สร้างศาลาท่ีพักคนเดินทาง โดยระดมเงินทุนจากเด็ก ๆ ในวัยเดียวกัน ทั้งน้ีมโหสถเป็นผู้ออกแบบและควบคุมการก่อสรา้ ง เองจนสาเรจ็ (2) ตัดสินข้อพิพาทแย่งชิงวัว มีชายสองคนอ้างความเป็นเจ้าของวัวตัวเดียวกันและขอให้ มโหสถช่วยตัดสิน มโหสถสอบถาม เรื่องอาหารที่ใหว้ วั กิน เจา้ ของตวั จริงบอกว่าให้กนิ หญา้ เจ้าของตวั ปลอมบอกวา่ ใหก้ ินแปง้ งา และขนม เม่ือมโหสถใหว้ ัวกินยาขบั จน อาเจยี นออกมาเป็นหญ้า ทาให้ตัดสินได้ว่าใครเป็นเจา้ ของท่แี ทจ้ รงิ โดยไดส้ อนให้โกงนบั ถือศลี 5 อกี ดว้ ย (3) ตัดสนิ กรณีแยง่ ชิงบุตร มหี ญงิ สองคนแย่งชงิ เด็กน้อยผู้หนึ่ง โดยตา่ งอา้ งความเป็นมารดาของเด็ก มโหสถใชว้ ิธีพิสูจน์โดยให้ หญิงท้ังสองใช้กาลังแย่งชิงเด็ก ทาให้เด็กน้อยร้องไห้ด้วยความตกใจและเจ็บปวดมารดาตัวจริ งต้องยอมปล่อยและทรุดตัวร้องไห้ เพราะสงสารลูก มโหสถจงึ ตดั สนิ วา่ หญงิ ท่ีใจออ่ นปลอ่ ยมือทารกเปน็ มารดาของเดก็ ที่แท้จรงิ (4) ใชป้ ัญญาแกป้ ัญหาให้พระราชาช่ืนชมในความสามารถ พระเจา้ วิเทหะ กษตั ริยแ์ หง่ เมืองมิถลิ า ได้ทรงทดสอบภูมปิ ัญญาขอ งมโหสถหลายคร้ัง เชน่ ใหพ้ ิสูจนว์ ่าไมต้ ะเคียนขา้ งใดเป็นโคน ข้างใดเป็นปลาย มโหสถใหห้ ยอ่ นไม้ตะเคยี นลงในน้า ข้างโคนมนี ้าหนัก จะจมก่อน 3. มโหสถได้รับแต่งต้ังให้เป็นราชบัณฑิตประจาราชสานัก ได้แสดงสติปัญญาแก้ไขปัญหาในงานบริหารราชการแผ่นดนิ ของ พระเจ้าวิเทหะด้วยดีตลอดมา ได้ใช้ปัญญาแก้ไขสถานการณ์คับขันช่วยปอ้ งกันบา้ นเมืองจากการคุกคามของกองทัพข้าศึกศัตรูหลาย คร้ัง ทาให้มโหสถเปน็ ทโ่ี ปรดปรานพระราชาย่งิ นัก 4. ประโยชน์ท่ไี ด้รับจากการศึกษาเรอ่ื งมโหสถชาดก คือ (1) ผู้มีปัญญาและถึงพร้อมด้วยคุณธรรมความดี ย่อมได้รับการยอมรับจากมหาชน และทาให้ตนเองมีความสุขความเจริญใน การดาเนินชวี ติ (2) คุณธรรมของผู้มีปัญญา คือ มีความเมตตาและปรารถนาดีต่อผู้อื่น มีเบียดเบียนทาร้ายผู้อื่น หรือทาให้ผู้อ่ืนได้รับความ เดือดร้อน และคดิ จะทาส่งิ ท่เี ป็นประโยชน์ตอ่ ส่วนรวม

สงั คมน่ารู้กบั ครูเตรียมน้อมนนท์ ส31101 สังคมศกึ ษา1 ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 ใบความรู้ วนั สาคัญทางพระพทุ ธศาสนา วนั มาฆบชู า 1. ความสาคัญ วันมาฆบชู า ตรงกบั วันเพ็ญขนึ้ 15 ค่าเดือน 3 ไดช้ ่อื ว่าเป็น “วนั พระธรรม” เพราะมเี หตุการณ์ท่ีเก่ยี วข้องท่ี เกิดข้นึ ในวันนี้เมื่อครั้งพุทธกาลได้ 2 ประการ คือ (1) มกี ารประชมุ พระสงฆส์ าวกทใ่ี หญ่ทส่ี ุด เรียกวา่ จาตุรงคสนั นบิ าต หรือการประชุมที่ประกอบดว้ ยองค์ 4 คอื - วนั ประชุมตรงกับวนั เพญ็ เดือนมาฆะ (เดือน 3) - พระสงฆส์ าวก 1,250 รูป ท่ีมาประชุมลว้ นเป็นพระอรหนั ต์ - พระสงฆ์สาวกทั้งหมดลว้ นเปน็ เอหิภิกขุ (พระพทุ ธเจ้าทรงบวชให)้ - พระสาวกทกุ รูปมาประชุมพร้อมกนั โดยมิได้นัดหมาย (2) พระพทุ ธเจา้ ทรงแสดง “โอวาทปาติโมกข์” ซึ่งเปน็ แมบ่ ทหรือหรือหวั ใจของคาสัง่ สอนทัง้ ปวงสรุปได้ 3 ประการ คือ ทาความดใี ห้พร้อม ไมท่ าบาปทงั้ ปวง และทาจิตใจใหบ้ ริสุทธ์ิ 2. การปฏิบัติของชาวพุทธในวนั มาฆบูชา เหมือนกับวันวสิ าขบูชา 3. หลักธรรมท่เี ก่ียวข้องกับวันมาฆบูชา คอื บุญกริ ิยาวตั ถุ 3 หมายถึง วิธีการทาบญุ หรือทาความดี 3 ประการ สรุปยอ่ ๆ ได้วา่ “ทาน ศลี ภาวนา” ดงั น้ี (1) ทาน (ทานมยั ) คอื การใหท้ าน มีท้งั ทานด้วยวัตถุสง่ิ ของ (วตั ถทุ าน) , ใหท้ านดว้ ยการใหค้ วามรู้ (ธรรมทาน) และการ ให้อภัยตอ่ การกระทาของผู้อ่ืน (อภยั ทาน) (2) ศีล (สลี มัย) คือ การรักษาศลี การควบคมุ กายและวาจาให้อยู่ในความดี ปฏิบัติตามศีล 5 หรอื ศีล 8 โดยเคร่งครดั (3) ภาวนา (ภาวนามัย) คือ การเจริญภาวนา หรือฝกึ อบรมจติ ใหส้ ะอาดบริสุทธิ์ วนั วสิ าขบูชา 1. ความสาคญั สาหรับชาวพุทธ วันวสิ าขบชู า ตรงกับวนั เพ็ญข้นึ 15 คา่ เดือน 6 ของทุกปไี ดช้ ่ือว่าเปน็ “วนั พระพุทธเจ้า” เพราะมีเหตุการณ์สาคัญเกีย่ วข้องกับพระพทุ ธเจา้ 3 ประการ คือ (1) เปน็ วนั คล้ายวันประสูติ (เมอ่ื 80 ปี ก่อน พ.ศ.) (2) เป็นวันคลา้ ยวนั ตรัสรู้ (เม่ือ 45 ปี ก่อน พ.ศ.) (3) เป็นวนั คลา้ ยวันปรินพิ พาน (เม่ือ 1 ปี ก่อน พ.ศ.) 2. ความสาคัญทางสากล ทีป่ ระชมุ สมชั ชาใหญแ่ หง่ ชาติ (UN) มมี ติให้รบั รองวันวิสาขบูชา เป็น “วนั สาคญั สากล) ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2542 เป็นตน้ มา 3. การปฏิบตั ิกจิ ของชาวพุทธ (1) ทาบญุ ตกั บาตรในตอนเช้า หรือนาภัตตาหารไปถวายพระสงฆ์ท่วี ัด (2) ฟังพระธรรมเทศนา รักษาศลี (3) เวยี นเทียนรอบพระอโุ บสถในชว่ งคา่ 4. หลักธรรมท่เี กย่ี วข้องกับวันวิสาขบูชา คือ อิทธิบาท 4 หมายถงึ คณุ ธรรมแห่งความสาเรจ็ 4 ประการ นามาใชท้ ัง้ ในการ ปฏบิ ัตหิ น้าทก่ี ารงานและการศกึ ษาเล่าเรียน มดี ังน้ี (1) ฉนั ทะ คือ ความพอใจในสง่ิ ท่ีทา (2) วริ ยิ ะ คือ ความขยันหมัน่ เพียร

สงั คมน่ารกู้ ับครเู ตรยี มน้อมนนท์ ส31101 สังคมศึกษา1 ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 4 ใบความรู้ (3) จิตตะ คือ ความเอาใจใส่ในสิ่งทีท่ า (4) วมิ งั สา คอื การไตร่ตรองหาเหตผุ ล ใช้ปญั ญาตรวจสอบเพื่อปรบั ปรงุ ใหด้ ยี ่ิง ๆขึ้น วนั อาสาฬบูชา 1. ความสาคญั วันอาสาฬหบชู า ตรงกับวนั ข้นึ 15 ค่า เดอื น 8 ไดช้ ื่อว่าเปน็ “วันพระสงฆ์” เพราะมีพระสงฆ์สาวกองค์แรก เกดิ ข้นึ ในโลก (พระโกณฑัญญะ) มเี หตุการณส์ าคัญท่เี กดิ ขึ้นในวนั น้คี ือ (1) การแสดงปฐมเทศนาของพระพทุ ธเจา้ ทรงแสดงต่อพราหมณ์ปัญจวัคคยี ์ ธรรมท่แี สดง คือ ธมั มจักกัปปวัตนสตู ร (ปฐมเทศนา) (2) เกิดพระสงฆส์ าวกองค์แรกในโลก คอื พระโกณฑัญญะ (3) มพี ระรัตนตรัยครบองค์สาม คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ 2. การปฏิบัตกิ จิ ของชาวพทุ ธในวันอาสาฬหบูชา เหมอื นกบั วันวสิ าขบชู า 3. หลกั ธรรมท่ีเกยี่ วข้องกบั วันอาสาฬหบูชา คอื จักร 4 (จักรธรรม 4) คือ ธรรมที่เปรียบเสมอื นล้อรถนาชวี ิตไปสคู่ วาม เจรญิ รุ่งเรือง ไดแ้ ก่ (1) การอย่ใู นถนิ่ ที่เหมาะสม (ท่ีอยู่อาศยั และท่ีทางานแวดล้อมดว้ ยคนดี มีความเจริญ) (2) การคบคนดี (คบคนมีความรแู้ ละมศี ีลธรรม) (3) การตง้ั ตนไวช้ อบ (มจี ิตต้ังม่นั ในคณุ ความด)ี (4) การทาความดีให้ถงึ พร้อม (ทาความดอี ยา่ งต่อเนอ่ื ง) วนั อฏั ฐมีบูชา 1. ความสาคัญ วนั อฏั ฐมีบชู า ตรงกับวนั แรม 8 คา่ เดอื น 6 เป็นวันคลา้ ยวันถวายพระเพลงิ พุทธสรีระ ณ เมืองกุสินารา เมืองหลวงของแคว้นมลั ละ ในปจั จบุ ัน มวี ดั ท่ีจดั พธิ ีน้ีไมม่ ากนกั 2. การปฏบิ ัตกิ จิ ของชาวพุทธในวนั อฏั มีบชู า เหมือนกบั วันวสิ าขบชู า แตไ่ ม่มีพิธเี วียนเทยี น 3. หลักธรรมที่เก่ียวข้องกับวนั อัฏฐมบี ูชา คอื สุจริต 3 หมายถึง การประพฤตดิ ี ปฏิบัติชอบทางกาย วาจา และใจ เพอ่ื ความ สงบสุขของชวี ติ 3 ประการ มีดังน้ี (1) กายสจุ รติ ได้แก่ ไม่ทาร้ายเบียดเบยี นผู้อืน่ ทางกาย ไมฆ่ า่ สัตว์ ไม่ลกั ขโมย ฯลฯ (2) วจสี จุ ริต ได้แก่ ไม่พูดโกหก ไม่พดู คาหยาบ ไมพ่ ดู ใดๆ ให้ผูอ้ ่ืนเกดิ ทุกข์ ฯลฯ (3) มโนสุจริต ได้แก่ ไม่คิดทารา้ ยหรือโกรธอาฆาตพยาบาทผอู้ นื่ ให้คดิ แต่สิ่งทด่ี ี ๆ ฯลฯ วันเขา้ พรรษา 1. ความสาคญั วันเขา้ พรรษา ตรงกับวนั แรม 1 คา่ เดอื น 8 เป็นวนั ทพี่ ระสงฆ์เร่ิมอยู่จาพรรษาที่วดั แห่งใดแห่งหนึ่งเป็นเวลา 3 เดือน ตลอดช่วงฤดฝู น เป็นพิธสี าหรับพระสงฆ์โดยตรง 2. จุดมุ่งหมาย เพ่ือปฏิบัติตามพุทธบัญญัติ คือ ให้พระสงฆ์หยดุ พักจากการเดนิ ทางไปจาริกส่ังสอนพระธรรมแกช่ าวพทุ ธ ตามชนบทในชว่ งฤดฝู น ซ่งึ เดินทางยากลาบากและอาจไปเหยียบยา่ พชื ผลของชาวไร่ชาวนาให้ได้รบั ความเสยี หายได้ 3. ประโยชนท์ พี่ ระสงฆ์ได้รบั คอื ได้ใชเ้ วลาศกึ ษาพระธรรมวนิ ยั ใหเ้ ข้าใจชัดเจนย่ิงข้นึ แลเปดิ โอกาสให้ชาวพุทธเข้ารับการ อุปสมบทเปน็ พระภกิ ษสุ งฆ์ เพอื่ ศึกษาพระธรรมตลอดชว่ งฤดพู รรษา 4. ประโยชนท์ ป่ี ระชาชนไดร้ บั คอื ไดป้ ฏบิ ัตติ นรักษาศีลให้เคร่งครัดตลอดฤดูพรรษา เชน่ งดเหลา้ การพนัน ฯลฯ ได้ฟงั พระธรรมเทศนา ตักบาตร และทาบญุ ท่วี ัด

สงั คมนา่ รู้กับครเู ตรียมน้อมนนท์ ส31101 สังคมศึกษา1 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 4 ใบความรู้ 5. การปฏบิ ตั ขิ องชาวพุทธในวันเขา้ พรรษา มดี ังน้ี (1) ทาบญุ ตักบาตร (2) ฟังเทศน์ ฟงั ธรรม (3) ถวายเทียนพรรษา ถวายผา้ อาบน้าฝน และเคร่ืองไทยธรรมแด่พระสงฆ์ผ้จู าพรรษา วนั ออกพรรษา 1. ความสาคญั วันออกพรรษา ตรงกับวันเพ็ญขึ้น 15 ค่า เดอื น 11 เปน็ วนั ส้ินสุดการอยูจ่ าพรรษาของพระสงฆ์ 2. จุดมุ่งหมาย เพื่อปฏิบตั ติ ามพุทธบญั ญัติ โดยพระภิกษุสงฆจ์ ะทาพิธี “ปวารณากรรม” หมายถงึ ยนิ ยอมใหพ้ ระภกิ ษุสงฆ์ ว่ากลา่ วตักเตือนซึง่ กนั และกันได้ เพ่ือใหถ้ ึงพร้อมก่อนจะออกไปทาหน้าท่จี าริกสั่งสอนพระธรรมและเผยแพร่พระศาสนาตอ่ ไป เป็น พธิ ีการของพระสงฆ์โดยเฉพาะ 3. การปฏิบัติของชาวพุทธในวันออกเข้าพรรษา มดี ังนี้ (1) การทาบญุ ตักบาตร (2) ฟังพระธรรมเทศนา 4. พิธีตกั บาตรเทโว (หรอื ตกั บาตรเทโวโรหณะ) จดั ขึ้นถัดจากวนั ปวารณา เกดิ จากตานานที่กลา่ วถงึ พระพทุ ธเจ้าเสดจ็ ขน้ึ ไปโปรดพระพุทธมารดาบนสวรรค์ชั้นดาวดงึ ส์ และเสดจ็ กลับมายงั โลกมนุษย์

สังคมนา่ รู้กับครูเตรียมน้อมนนท์ ส31101 สงั คมศึกษา1 ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4 ใบความรู้ ศกึ ษาความรเู้ พิม่ เติม ประวตั แิ ละความสาคัญของพระพทุ ธศาสนา https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8 %9E%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98 http://oknation.nationtv.tv/blog/index.php พทุ ธประวัติพระสาวก ศาสนิกชนตวั อยา่ ง และชาดก https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%9B%E0%B8% A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4 http://www.larnbuddhism.com/puttaprawat/ http://internetuniversity95.weebly.com/4- 36233636359436343614364036073608362436343626360536193660.html หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%88_4 https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8% A3%E0%B8%B1%E0%B8%A2 https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%82%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B9%8C https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%98 http://mediacenter.mcu.ac.th/data/caipyo/m4/index.html https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A5 http://www.dhammathai.org/treatment/poem/poem00.php พุทธศาสนสภุ าษติ และพระไตรปฎิ ก https://sites.google.com/site/socialbuddhismm4/unit_4 หน้าที่ชาวพทุ ธและมารยาทชาวพุทธ https://sites.google.com/site/manumai070/haelng-khwam-ru-sangkhmsuksa/phraphuthth-sasna-m- 2/hnwy-thi-5-hnathi-chaw-phuthth-laea-maryath-chaw-phuthth วันสาคญั ทางพระพทุ ธศาสนา และศาสนพธิ ี http://www.dhammathai.org/day/buddhismday.php การบรหิ ารจติ และการเจริญปัญญา https://sites.google.com/site/physicsofm4/home/bth-thi7-kar-brihar-cit-laea-kar-ceriy-payya พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหาและการพฒั นา https://sites.google.com/site/physicsofm4/home/bth-thi8-phuthth-sasna-kab-kar-kae-pay-ha-laea-kar-phathna