Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทความวิจัยพระมหาทิพย์ ม.นครพนม

บทความวิจัยพระมหาทิพย์ ม.นครพนม

Published by thipostngam, 2019-12-14 20:22:41

Description: บทความวิจัยพระมหาทิพย์ ม.นครพนม แก้ไขครั้งที่ 2

Search

Read the Text Version

รูปแบบความสมั พันธโ์ ครงสร้างเชงิ เส้นของปจั จยั ที่สง่ ผลตอ่ คณุ ภาพชวี ติ การทางานของครู โรงเรยี นพระปริยตั ิธรรมแผนกสามัญศกึ ษา ในภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื The Linear Structural Relationship Model of Factors Affecting the Quality of Work Life of Teachers in Phrapariyattidhamma School, General Education Department In the Northeast. ทิพย์ โอษฐงาม1 วาโร เพง็ สวสั ด์ิ2 วลั นกิ า ฉลากบาง3 และพรเทพ เสถียรนพเก้า4 Thip Ostngam,1 Waro Phengsawat,2 Wannika Chalakbang3 and Pornthep Steannoppakao4 บทคัดยอ่ การวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษา 1) พัฒนารูปแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้นของปัจจัยที่ส่งผลต่อ คุณภาพชีวิตการทางานของครูในโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2) ตรวจสอบความ สอดคล้องของรปู แบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชงิ เสน้ ของปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชวี ิตการทางานของครูในโรงเรียนพระปริยัติ ธรรมแผนกสามัญศึกษาในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ การดาเนนิ การวิจัยแบ่งออกเป็นสองระยะ คือ ระยะแรกเป็นการพัฒนา รูปแบบ โดยการศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องและสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ ระยะท่ีสองเป็นการตรวจสอบความ สอดคลอ้ งของรปู แบบดาเนินการโดยเกบ็ รวบรวมข้อมลู กบั กลุ่มตวั อยา่ งครใู นโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมแผนกสามญั ศกึ ษาในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ปีการศึกษา 2561 จานวน 497 รูป/คน ด้วยแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่า อานาจจาแนกระหวา่ ง 0.22 ถึง 0.89 และมีค่าความเชอื่ ม่ันทั้งฉบบั เทา่ กับ .99 โดยวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสาเร็จรูปทาง สถิติเพ่ือหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และวิเคราะห์ ความสมั พนั ธ์โครงสร้างเชงิ เส้น ผลการวิจยั พบว่า 1) รูปแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้นของปจั จัยท่ีส่งผลต่อคุณภาพชีวติ การทางานของครู โรงเรียนพระปริยตั ิธรรมแผนกสามัญศึกษา ประกอบด้วย 5 ปัจจยั คอื บรรยากาศองค์การ วัฒนธรรมองค์การ ความพึงพอใจ ในงาน ความผูกพันต่อองค์การ และคุณภาพชีวิตในการทางาน 2) รูปแบบที่พัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมี ค่า Chi-square = 188.37, df = 161, p-value = 0.06, χ2/df = 0.09, RMSEA = 0.01, GFI = 0.97, AGFI = 0.94 โดยบรรยากาศองค์การ วัฒนธรรมองค์การ ความพึงพอใจในงาน ความผูกพันต่อองค์การ สามารถร่วมกันอธิบายความ แปรปรวนของคณุ ภาพชวี ติ ในการทางาน ไดร้ อ้ ยละ 99.00 โดยบรรยากาศองค์การมีอทิ ธิพลทางตรงต่อคุณภาพชีวติ การทางาน ของครูอย่างมนี ัยสาคญั ทางสถติ ทิ ่ีระดับ .01 และมีอทิ ธพิ ลทางตรงตอ่ ความพงึ พอใจในงานอย่างนัยสาคัญทางสถติ ิท่ีระดับ .05 วฒั นธรรมองค์การมีอิทธิพลทางตรงต่อความพึงพอใจในงาน อยา่ งมีนัยสาคัญทางสถิติทร่ี ะดับ .01 และความพึงพอใจในงานมี อิทธิพลทางตรงตอ่ ความผูกพันต่อองค์การอย่างมีนยั สาคัญทางสถิตทิ ่รี ะดับ .01 คาสาคัญ: รปู แบบ ; ความสัมพนั ธ์โครงสร้างเชงิ เส้น ; คณุ ภาพชวี ติ การทางานของครู ; โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา 1 นกั ศกึ ษาปรญิ ญาเอก สาขาการบริหารการศึกษา มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สกลนคร, Doctor of Philosophy Program students Department of Educational Administration and Development Sakonnakhon Rajabhat University 2-4 อาจารยป์ ระจา สาชาการบริหารการศึกษา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สกลนคร, Lecturers in Educational Administration and Development Sakonnakhon Rajabhat University

2 ABSTRACT The purpose of this research was to study 1) Develop the linear structure relationship model of factors affecting the quality of working life of teachers in the Buddhist Scripture School of General Education in the northeast region. 2) Check the consistency of the linear structural relationship model of the factors. That affects the quality of working life of teachers in the Phrapariyattidhamma Schools, General Education Department in the northeast . The research was divided into 2 phases: the first phase was the development of model by studying documents, related researchs, interviewing experts. The second was to check the consistency of the data collection from the sample group of teachers, altogether 497 persons in Phrapariyatidhamma School, General of Education Department in the northeastern region, academic year 2018. The data were collected by using 5 likert scale questionnaire with discrimination value between 0.22 – 0.89 and reliability value was equal to .99. by analyzing data using statistical package program to find the frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson's product moment correlation coefficient and analyze linear structural relationships. The findings were as follows: 1) The linear structural relationship model of factors affecting the quality of work life of teachers in Phrapariyatidhamma School, General of Education Department in the northeastern region, it consisted of 5 factors, namely; the organizational climate, organization culture, job satisfaction, organizational commitment and quality of work life. 2) The developed model was consistent with empirical data with Chi-square = 188.37, df = 161, p-value = 0.06, χ2/df = 0.09, RMSEA = 0.01, GFI = 0.97, AGFI = 0.94. by organizational climate, organizational culture, job satisfaction, organizational commitment could explain the variance of quality of work life by 99.00%. The organizational climate direct influence on the quality of work life statistically significant at level of .01. and it had direct influence on in the job satisfaction statistically significant at level of .05. The organizational culture had direct influence on job satisfaction statistically significant at level of .01. and Job satisfaction had direct influence on the organizational commitment statistically significant at level of .01. Keywords: Model ; Linear Structure Relations ; Quality of Work Life of Teachers ; Phrapariyattidhamma School, General Education Department. บทนา กรอบคุณวุฒิแห่งชาติและมาตรฐานอาชีพ/วิชาชีพ ส่งเสริม การจัดการเรียนการสอน ผลิตและพัฒนาครูผู้สอนท่ีมี โลกในปัจจุบันมีการแข่งขันสูงมาก เน่ืองจากการ คุณภาพและมาตรฐาน เพื่อสร้างกาลังคนให้มีสมรรถนะ เปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ทาให้ ตอบสนองต่อความต้องการของตลาดงานและการพัฒนา องค์การต่างๆ ทุกประเทศท่ัวโลกต้องแข่งขันกัน เพื่อให้ เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ รองรับพลวัตของโลกและ องค์การประสบความสาเร็จและบรรลุเป้าหมาย ภายใต้ การแข่งขันในศตวรรษที่ 21 และสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากดั การพัฒนาทรัพยากรมนษุ ยเ์ ป็น ชา ติแ ล ะยุ ทธศ า สต ร์ป ร ะเ ทศไ ทย 4.0 ( Ministry of กลไกสาคญั ยง่ิ ในการนาประเทศเขา้ สู่สงั คมโลก จึงเป็นความ Education, 2017) ดงั ท่ีกล่าวมามนุษย์จึงเป็นทรัพยากรที่มี จาเป็นเร่งด่วนท่ีรัฐและทุกภาคส่วนที่เก่ียวข้อง จะต้อง ความสาคัญมากท่ีสุดในการบริหารจัดการองค์การ ดังนั้น ร่วมกันกาหนดกรอบทิศทางและเป้าหมายการผลิตและ องคก์ ารมีความจาเปน็ ทจ่ี ะตอ้ งสร้างคณุ ภาพชีวิตการทางาน พฒั นากาลังคนในสาขาต่าง ๆ เพอื่ การผลิตกาลงั คนทต่ี รงกับ ที่ดีให้กับบุคลากรของตน สอดคล้องกับSrisawat (2014) ความต้องการของตลาดงานและการพัฒนาประเทศ พัฒนา กล่าวว่า คุณภาพชีวิตการทางานเป็นการบรหิ ารจัดการท่ีทา หลักสูตรการศึกษาในระดับต่าง ๆ ที่สามารถสร้างเสริม ให้ผู้ปฏิบัติมีสภาพการทางานที่ดีอยู่ภายใต้การทางานที่ ทักษะสาคัญในศตวรรษท่ี 21 และสอดคล้องเช่ือมโยงกับ เหมาะสม มีความปลอดภัยได้รับประโยชน์สทิ ธิต่าง ๆ อย่าง ยุติธรรม เสมอภาคในสังคมนั้น ๆ ทาให้ผู้ปฏิบัติงานมี

3 ความสุขในการทางานท้ังร่างกายและจิตใจ การมีคุณภาพ สามัญศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ท่ีผู้วิจัยพัฒนา ชีวิตการทางานที่ดี ย่อมส่งผลให้องค์การได้รับผลผลิตสูง ข้นึ กบั ข้อมูลเชงิ ประจกั ษ์ นาไปสู่ความมีประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผล สมมติฐานการวิจัย ในการวิจัยคร้ังน้ี ผู้วิจัยศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อ การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้กาหนดสมมติฐานของการ คุณภาพชีวิตการทางานของครูในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดย วิจัยไว้ ดังนี้ รูปแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้นของ การศึกษาวิเคราะห์และสังเคราะห์เอกสาร แนวคิด ทฤษฎี ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทางานของครูในโรงเรียน และงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆ ที่ พระปริยตั ธิ รรมแผนกสามญั ศกึ ษาในภาตะวันออกเฉียงเหนอื ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทางาน ทาให้ได้ตัวแปรเชิงสาเหตุ ท่ีพฒั นาข้นึ มคี วามสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจกั ษ์ จานวน 4 ตัวแปร คือ บรรยากาศขององค์การ วัฒนธรรม องค์การ ความพึงพอใจในงาน และความผูกพันต่อองค์กร กรอบแนวคิดการวิจัย โดยศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตวั แปร และตรวจสอบความ การวิจัยครั้งน้ี ผู้วิจัยศึกษาตามแนวคิด ทฤษฎี สอดคล้องของรูปแบบตามสมมติฐานกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ผลการวิจัยที่ได้จะเป็นสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร และผู้ที่ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกบั ปัจจัยท่ีส่งผลตอ่ คุณภาพชีวิตการ เก่ียวข้องในการนาองค์ความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ให้เข้ากับ ทางานของครู ผู้วิจยั ได้กาหนดเป็นกรอบแนวคิดการวิจยั คือ นโยบายการบรหิ ารงานบุคคล ในการส่งเสริมบุคลากรครูใน 1. ปัจจัยคุณภาพชีวิตการทางานของครู จากแนวคิดของ โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษามีคุณภาพชีวิต Bruce and Blackburn ( 1992) ; Supapoom (2014) ; การทางานท่ดี ีนาไปสู่การพฒั นางาน และโรงเรียนต่อไป Srisawat (2014) ; Numongkud (2014) ; Suwannoy (2015) เป็นตัวแปรภายในเชิงผล ปัจจัยท่ีส่งผลต่อคุณภาพ วตั ถปุ ระสงคก์ ารวจิ ัย ชีวิตการทางานของครู ได้แก่ บรรยากาศองค์การ จาก 1. เพื่อพัฒนารูปแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิง แ น ว คิ ด ข อ ง Litwin & Stringer (1968) ; Supapoom (2014) ; Horasit (2014) และวัฒนธรรมองค์การ จาก เส้นของปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทางานของครูใน แ น ว คิ ด ข อ ง Sergiovanni (1988) ; Srisawat (2014) ; โ ร ง เ รี ย น พ ร ะ ป ริ ยั ติ ธ ร ร ม แ ผ น ก ส า มั ญ ศึ ก ษ า ใ น ภ า ค Khianchanat (2014) ซึ่งเป็นตัวแปรแฝงภายนอก และ ตะวันออกเฉยี งเหนือ ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพการทางานของครู ได้แก่ ความพึง พอใจในงาน จากแนวคิดของ Pigors & Myers (1981) ; 2. เพ่ือตรวจสอบความสอดคล้องของรูปแบบ Sangoiem (2015) ; Koponrat (2015) และความผกู พนั ต่อ ความสัมพันธ์โครงสรา้ งเชิงเส้นของปัจจยั ที่ส่งผลต่อคุณภาพ องค์การ จากแนวคิดของ Steers and Porter (1991) ; ชีวิตการทางานของครูในโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนก Pheasa (2017) ซง่ึ เปน็ ตัวแปรแฝงภายใน ดงั ภาพท่ี 1 ภาพท่ี 1 กรอบแนวคิดการวจิ ัย

4 วิธีดาเนนิ การวิจยั ระยะที่ 2 การตรวจความสอดคลอ้ งของรปู แบบ ในระยะนี้ทาการตรวจสอบสมมติฐานการวิจัยตามกรอบ การวิจัยครั้งน้ีเป็นการวิจัยโดยใช้ระเบียบวิจัย แนวคดิ การวจิ ัยท่ีไดศ้ ึกษา ดงั น้ี ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ (Causal Relationships) มี วัต ถุป ร ะ ส งค์ เ พื่อพัฒน า แ ล ะ ต ร วจ ส อ บ รู ป แ บ บ 1 ประชากร ได้แก่ ครูในโรงเรียนพระปริยัติ ความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้นของปัจจัยท่ีส่งผลต่อ ธรรมแผนกสามัญศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี คุณภาพชีวิตการทางานของครูโรงเรียนพระปริยัติธรรม การศกึ ษา 2560 จานวนท้ังส้ิน 2,292 รปู / คน แผนกสามัญศึกษา ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีการ ดาเนินการวิจยั 2 ระยะ ดังนี้ 2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูในโรงเรียนพระ ปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะท่ี 1 การพัฒนารปู แบบ ในระยะน้ีผู้วิจัยได้ ปกี ารศึกษา 2560 จานวน 497 รูป / คน ได้มาโดยการใช้ ดาเนินการวิเคราะห์เอกสาร และงานวิจัยที่เก่ียวข้อง วิธีการสุ่มแบบหลายข้ันตอน (Multi-stage Random สัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ และนาผลการศึกษามากาหนด Sampling) ดังนี้ 1) ใช้จังหวัดเป็นหน่วยการสุ่ม สุ่มอย่าง กรอบแนวคิดการวิจัย มรี ายละเอียด ดงั น้ี ง่ายดว้ ยวิธีการจับสลาก ใชเ้ กณฑ์ร้อยละ 50 ของจังหวดั ท่ี อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จากจานวนทั้งหมด 20 1 การวิเคราะห์เอกสารและงานวิจัยท่ี จังหวัด ได้กลมุ่ ตัวอยา่ ง จานวน 10 จังหวดั 2) ใช้โรงเรยี น เก่ียวข้อง เพื่อกาหนดการพัฒนารูปแบบความสัมพันธ์ เป็นหน่วยสุ่ม สุ่มแบบแบ่งช้ันโดยใช้จังหวัดเป็นชั้นในการ โครงสร้างเชิงเส้นของปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพการทางาน สมุ่ แล้วจงึ ทาการสุ่มอย่างงา่ ยด้วยวธิ ีการจบั สลากโรงเรียน ของครูในโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษาใน จากจังหวัดในข้อ 1) ใช้เกณฑ์ร้อยละ 50 ได้โรงเรียน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และนาขอ้ มลู ดังกล่าวมากาหนด จานวน 70 โรงเรียน 3) กลุ่มตัวอย่างครูจากโรงเรียนที่สุ่ม กรอบแนวคิดการวิจยั เบือ้ งต้น มาได้ตามขอ้ 2) ใชว้ ธิ กี ารส่มุ อย่างง่าย ด้วยการจับสลากใช้ เกณฑ์ร้อยละ 50 ได้กลุ่มตัวอยา่ งครูรวมจานวน 497 รูป/ 2 การสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ เพ่ือให้ได้ คน ดงั ตารางที่ 1 ประเด็นตัวแปรเก่ียวกับปัจจัยท่ีส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการ ทางานของครู สมั ภาษณ์ผทู้ รงคณุ วฒุ ิจานวน 5 รูป / คน ตารางที่ 1 ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ งครู จาแนกตามทต่ี ้งั ของจงั หวัด และโรงเรยี น ประชากรครู กล่มุ ตวั อย่าง จงั หวดั โรงเรยี น พระ ฆราวาส รวม พระ ฆราวาส รวม รอ้ ยเอ็ด 8 37 61 98 19 31 50 62 บรุ รี ัมย์ 8 47 76 123 24 38 27 99 สุรินทร์ 4 21 31 52 11 16 37 62 อบุ ลราชธานี 13 87 109 196 44 55 49 30 ศรษี ะเกษ 5 30 44 74 15 22 50 31 อุดรธานี 10 51 72 123 26 36 497 หนองคาย 6 41 56 97 21 28 มหาสารคาม 5 19 40 59 10 20 นครราชสมี า 6 40 59 99 20 30 กาฬสินธ์ุ 5 18 44 62 9 22 10 70 391 592 983 199 298 เครื่องมอื ทใ่ี ชใ้ นการวจิ ัย อาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา ประธานกลุ่ม ผู้บริหาร ระยะท่ี 1 เกบ็ รวบรวมข้อมลู ไดแ้ ก่ แบบสัมภาษณ์ โรงเรียน และครู โดยสัมภาษณ์เก่ียวกับปัจจัยท่ีส่งผลต่อ คุณภาพชีวิตการทางานของครูในโรงเรียนพระปริยัติธรรม เป็นแบบสัมภาษณ์แบบก่ึงมีโครงสร้าง ผู้วิจัยสร้างข้ึนเพื่อ แผนกสามัญศกึ ษา มีดชั นีความสอดคลอ้ ง .80 – 1.00 สัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 5 รูป/คน ประกอบด้วย

5 ระยะที่ 2 เก็บรวบรวมข้อมูล โดย แบบสอบถาม การวิเคราะหข์ อ้ มูล แบบสอบถามทใ่ี ช้เก็บข้อมูลกบั กลุ่มตวั อย่างครู จานวน 497 ระยะที่ 1 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาที่ได้จากการ คน มีการสร้างและการตรวจสอบคุณภาพ ดังนี้ เป็น แบบสอบถามเก่ียวกับปัจจัยด้านต่างๆ ท่ีส่งผลต่อคุณภาพ สมั ภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ เอกสารและงานวิจยั ท่ีเกยี่ วข้อง และ ชีวิตการทางานของครูในโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนก สรปุ เป็นกรอบแนวคดิ การวจิ ัยเบอ้ื งต้น สามัญศึกษา ประกอบด้วย 6 ตอน ดังน้ีตอนที่ 1 สอบถาม เกี่ยวกับสถานภาพของครู ได้แก่ เพศ จาแนกเป็น เพศชาย ระยะท่ี 2 วิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับสถานภาพของ เพศหญิง และครูท่ีเป็นบรรพชิต และครูที่เป็นคฤหัสถ์ ซ่ึงมี ผู้ตอบแบบสอบถามที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง และการวิเคราะห์ ลกั ษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check List) ตอนที่ 2 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ใช้สาหรับวิเคราะห์ สอบถามเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการทางานของครใู นโรงเรียน ระดับการรับรู้เก่ียวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการ พ ร ะ ป ริ ยั ติ ธ ร ร ม แ ผ น ก ส า มั ญ ศึ ก ษ า ใ น ภ า ค ทางานของครูท่ีนามาศึกษา การวิเคราะห์องค์ประกอบ ตะวันออกเฉียงเหนือ มีข้อคาถามจานวน 28 ข้อ ซึ่งเป็น (Factor analysis) เพ่ือวิเ คร า ะ ห์ ค วา ม เ ท่ีย งต ร งเ ชิ ง แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ คือ มากท่ีสุด มาก โครงสร้าง (Construct validity) โดยใช้วิธีการวิเคราะห์ ปานกลาง น้อย และน้อยท่ีสุด มีค่าอานาจจาแนก 0.22 – องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory factor analysis) 0.86 ค่าความเชื่อม่ัน 0.96 ตอนท่ี 3 สอบถามเกี่ยวกับ ท้ังนี้เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทางานของ บรรยากาศขององค์การในโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนก ครูทุกปัจจัย การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบ สามัญศกึ ษา มขี ้อคาถามจานวน 25 ข้อ มีค่าอานาจจาแนก เ พี ย ร์ สั น (Pearson’s product moment coefficient) 0.36 – 0.89 ค่าความเช่ือม่ัน 0.97 ตอนท่ี 4 สอบถาม และการวิเคราะห์เส้นทางอิทธิพล (Path analysis) แสดง เกีย่ วกบั วัฒนธรรมองคก์ ารในโรงเรยี นพระปริยัติธรรมแผนก ความสัมพันธ์ของตัวแปรที่ศึกษา ทดสอบความมีนัยสาคัญ สามญั ศกึ ษา มขี อ้ คาถามจานวน 26 ขอ้ มี คา่ อานาจจาแนก ด้วยสถิติที (t - test) เพ่ือศึกษารูปแบบความสัมพันธ์เชิง 0.23 – 0.89 ค่าความเชื่อม่ัน 0.97 ตอนท่ี 5 สอบถาม เหตุผลของปัจจัยท่ีส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทางานของครู เกี่ยวกับความพึงพอใจในงานของครูโรงเรียนพระปริยัติ โดยวิเคราะหข์ อ้ มลู ระหว่างเดอื นตลุ าคม – ธันวาคม 2561 ธรรมแผนกสามัญศึกษา มีข้อคาถามจานวน 18 ข้อ มีค่า อานาจจาแนก 0.34 – 0.84 ค่าความเชื่อมั่น 0.97 ตอนท่ี 6 สรปุ ผลการวจิ ัย สอบถามเกี่ยวกับความผูกพันต่อองค์การของครูในโรงเรียน พระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา มีข้อคาถามจานวน 14 1 รูปแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้นของ ข้อค่าอานาจจาแนก 0.22 – 0.86 คา่ ความเชอ่ื ม่นั 0.96 โดย ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทางานของครูในโรงเรียน มคี ่าความเช่ือมั่นท้ังฉบับ 0.99 พ ร ะ ป ริ ยั ติ ธ ร ร ม แ ผ น ก ส า มั ญ ศึ ก ษ า ใ น ภ า ค ตะวันออกเฉียงเหนือ มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิง การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ประจักษ์ มีคา่ สถติ ิวัดความกลมกลืนของรูปแบบ คือ ค่าไค- ระยะที่ 1 รวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ สแควร์ (Chi-square) เท่ากับ = 188.37 ที่องศาอิสระ (df) เท่ากับ 161 ค่าความน่าจะเป็น (p-value) เท่ากบั 0.06902 ผู้วิจัยได้ดาเนินการสัมภาษณ์ด้วยตนเอง ทาการสรุปข้อมูล ค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ (χ2/df) เท่ากับ 0.097 ค่า RMSEA = และได้ส่งให้ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบความถูกต้อง และได้ 0.019 ค่า GFI = 0.97 ค่า AGFI = 0.94 โดยตัวแปรแฝง นามาปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้องสมบูรณ์ โดยเก็บรวบรวม ภายนอก ด้านบรรยากาศองค์การมีความสัมพันธก์ ับตวั แปร ขอ้ มูลระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ - เมษายน 2561 แฝงภายนอกด้านวัฒนธรรมองค์การ อย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติท่ีระดบั .01 และสง่ ผลต่อตวั แปรแฝงภายใน ได้แก่ ดา้ น ระยะท่ี 2 รวบรวมข้อมูล โดย แบบสอบถาม คุณภาพชีวิตการทางานของครู และด้านความพึงพอใจใน ผู้วิจัยได้นาส่งและเก็บรวมรวมข้อมูลด้วยตนเองในบางส่วน งาน ตัวแปรในรูปแบบสามารถอธิบายความแปรปรวนของ และบางส่วนนาส่งให้โรงเรียนท่ีเป็นกลุ่มตัวอย่างทาง ตัวแปรแฝงภายในแต่ละตัวได้ร้อยละ 99.00 และ 90.00 ไปรษณีย์ และติดตามด้วยตนเอง ผู้วิจัยได้ส่งแบบสอบถาม ตามลาดับ ไปยังกลุ่มตัวอย่างจานวน 497 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 97.78 โดยเก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือน มิถุนายน – กันยายน 2 อิทธิพลทางตรง ทางอ้อม และโดยรวม พบว่า 2561 บรรยากาศองค์การมีอิทธิพลทางตรงต่อคุณภาพชีวิตการ ทางานของครูอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่า สมั ประสิทธ์ิพยากรณ์เท่ากับ 1.91 และมีอิทธิพลทางตรงต่อ ความพึงพอใจในงานอย่างนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 มี

6 ค่าสัมประสิทธ์ิพยากรณ์เท่ากับ 0.38 มีอิทธิพลทางอ้อม สัมประสิทธิ์พยากรณ์เท่ากับ -0.79 และความพึงพอใจใน อย่างไมม่ ีนัยสาคญั ทางสถิติ แต่มอี ทิ ธพิ ลโดยรวมต่อคณุ ภาพ งานมีอิทธิพลทางตรงต่อความผูกพันต่อองค์การอย่างมี ชีวิตการทางานของครูอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าสัมประสิทธ์ิพยากรณ์ วฒั นธรรมองค์การมีอทิ ธิพลทางตรงตอ่ ความพงึ พอใจในงาน เทา่ กับ 0.82 มีอิทธิพลทางอ้อมและโดยรวมตอ่ คุณภาพชวี ิต อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าสัมประสิทธิ์ การทางานของครูอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ ความผูกพัน พยากรณ์เท่ากบั 0.58 มอี ิทธพิ ลทางออ้ มอยา่ งไมม่ ีนยั สาคัญ ต่อองค์การ มีอิทธิพลทางตรงและอิทธิพลรวมต่อคุณภาพ ทางสถิติ แต่มีอิทธิพลโดยรวมต่อคุณภาพชีวิตการทางาน ชีวิตในการทางานของครูอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ จากท่ี ของครูอย่า งมีนัยสาคั ญทางสถิติที่ระดับ .05 มีค่ า กลา่ วมา สามารถแสดงไดด้ ังตารางท่ี 2 และภาพที่ 2 ตารางที่ 2 คา่ สถิติวดั ความสอดคล้องของรปู แบบกับขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์หลงั ปรบั ดชั นี ระดบั การยอมรบั คา่ สถติ ทิ ไ่ี ด้ ผลการพิจารณา 1. คา่ ไค-สแควร์ (Chi-square) p > .05, df = 93 χ2 = 188.37, p = 0.06 ผ่านเกณฑ์ 2. คา่ ไค-สแควรส์ มั พทั ธ์ χ2/df < 2.00 1.17 ผ่านเกณฑ์ 3. ค่า GFI 4. ค่า AGFI > 0.90 0.97 ผา่ นเกณฑ์ 5. ค่า RMSEA > 0.90 0.94 ผา่ นเกณฑ์ < 0.08 0.019 ผา่ นเกณฑ์ ภาพท่ี 2 ผลการวิเคราะหร์ ปู แบบกับข้อมูลเชิงประจกั ษ์หลังปรับ การอภิปรายผลการวจิ ัย พ ร ะ ป ริ ยั ติ ธ ร ร ม แ ผ น ก ส า มั ญ ศึ ก ษ า ใ น ภ า ค ตะวันออกเฉียงเหนือ ที่พัฒนาข้ึนมีความสอดคล้องกับ 1. รูปแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้นของ ขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์ ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานการวิจัย เมื่อ ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทางานของครูในโรงเรียน พิจารณารูปแบบพบว่า ปัจจัยบรรยากาศองค์การและ

7 วัฒนธรรมองค์การ สามารถอธิบายความแปรปรวนของ พบว่า ความพึงพอใจในงานและความผูกพันต่อองค์การใน ความพึงพอใจในงานร้อยละ 90 ความผูกพันต่อองค์การ ภาพรวม มีความสัมพันธ์อยู่ในระดับสูง โดยมีค่าสหสัมพันธ์ ร้อยละ 76 และคุณภาพชีวติ การทางานของครูรอ้ ยละ 99 ที่ เท่ากับ .738 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ . 01 เป็นเช่นนี้ ตามลาดับ ซึ่งHoy (2008) กล่าวว่า บรรยากาศ นอกจากน้ียังพบว่า ความพึงพอใจในงานไม่มีอิทธิพล องค์การเป็นสภาพแวดล้อมภายในองค์การซ่ึงสมาชิกใน ทางอ้อมและโดยรวมต่อคุณภาพชีวิตการทางานของครู ท่ี องค์การสามารถเรียนรู้และมีประสบการณ์ บุคคลย่อม เป็นเช่นน้ีเพราะว่า ครูขาดโอกาสในการมีส่วนร่วมในการ จะต้องมีบุคลิกภาพที่แสดงถึงความเป็นตัวเองเช่นเดียวกับ วางแผน การปฏิบัติและรับผลจากงานที่ปฏิบัติงาน รวมถึง องค์การหรือหนว่ ยงาน และ Dimmock & Walker (2005) ลักษณะงานท่ีรับผิดชอบไม่มีความท้าทาย โดยเฉพาะครูที่ กล่าวว่า วัฒนธรรมองค์การมีความสัมพันธ์ที่เชื่อมโยงกับ เ ป็ น ฆ ร า ว า ส ไ ม่ ถ นั ด ใ น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ใ ห้ แ ก่ ความคิดในลักษณะอื่น ๆ ที่เก่ียวข้องกับการบริหาร พระภกิ ษุ สามเณร ในด้านวสั ดุ อุปกรณ์ และสง่ิ อานวยความ การศึกษาในสถานศึกษาด้านโครงสร้างต่าง ๆ ท่ีจะเป็นตัว สะดวกต่อการจัดการเรียนการสอนมีไม่เพียงพอ ตลอดทั้ง สร้างแรงจูงใจให้กับผู้นา เพื่อการตัดสินใจการส่ือสารและ อาคารสถานท่ีสภาพแวดล้อมอาจไม่เอ้ือต่อการจัดการ ก า ร แ ล ก เ ป ล่ี ย น ที่ จ ะ ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ท่ี ดี ใ น ก า ร เรียนรู้ และผู้บริหารขาดการกากับ ติดตาม นิเทศงานที่ ปฏิบัติงานในองค์การ นอกจากน้ี งานวิจัยของ Pheasa มอบหมายให้อย่างต่อเน่ือง จากผลการวิจัยครั้งน้ี ได้ข้อค้น (2017) พบว่า ความพึงพอใจในงาน และความผูกพันต่อ พบว่า บรรยากาศองค์การ และวัฒนธรรมองค์การ เป็น องค์การเป็นองค์ประกอบของปัจจัยเชิงสาเหตุท่ีส่งผลต่อ ปัจจัยสาคัญท่ีมีอิทธิพลทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อคุณภาพ คุณภาพชีวิตในการทางานของครูในโรงเรียนพระปริยัติ ชวี ิตการทางานของครูโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญ ธรรมแผนกสามญั ศึกษา ศกึ ษา ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 2. บรรยากาศองค์การมีอิทธิพลทางตรงต่อ ข้อเสนอแนะเพ่อื การวิจยั คุณภาพชีวิตการทางานของครูอย่างที่นัยสาคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 มีค่าสัมประสิทธ์ิพยากรณ์เท่ากับ 1.91 และมี ขอ้ เสนอแนะสาหรับการนาผลการวิจัยไปใช้ อิทธิพลทางตรงต่อความพึงพอใจในงานอย่างนัยสาคัญทาง 1. จากผลการทดสอบรูปแบบความสัมพันธ์ สถิติท่ีระดับ .05 มีค่าสัมประสิทธ์ิพยากรณ์เท่ากับ 0.38 มี อิทธิพลทางอ้อมอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ แต่มีอิทธิพล โครงสร้างเชิงเส้นของปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการ โดยรวมต่อคุณภาพชีวิตการทางานของครูอย่างมีนัยสาคัญ ทางานของครูในโรงเรียนพระปรยิ ัตธิ รรมแผนกสามัญศกึ ษา ทางสถิติที่ระดับ .01 สอดคล้องกับงานวิจัย Supapoom ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือครั้งน้ี พบว่า บรรยากาศ (2014) พบว่า บรรยากาศองค์การมอี ิทธิพลต่อคุณภาพชีวิต องค์การส่งผลมากที่สุดต่อคุณภาพชีวิตการทางานของครู ของนักวิชาการสาธารณสุข โดยตัวแปรบรรยากาศองค์การ โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา ดังนั้นผู้บริหาร สามารถพยากรณ์คุณภาพชี วิตการของนักวิชาการ โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษาควรนาปัจจัย สาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลจังหวัด เ ห ล่ า น้ี ไ ป ใ ช้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร พิ จ า ร ณ า ใ น ก า ร บ ริ ห า ร ง า น อุดรธานีได้ร้อยละ 75.9 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ สถานศึกษาให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ซึ่งจะส่งผลต่อคุณภาพ .001 วัฒนธรรมองค์การพบว่า มีอทิ ธพิ ลทางตรงตอ่ ความพึง ชีวิตการทางานของครูในโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนก พอใจในงาน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่า สามัญศกึ ษา สัมประสิทธ์ิพยากรณ์เท่ากับ 0.58 มีอิทธิพลทางอ้อมอย่าง ไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ แต่มีอิทธพิ ลโดยรวมต่อคุณภาพชีวิต 2. ผลการวิจัยพบว่า บรรยากาศองค์การส่งผลต่อ การทางานของครอู ยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถิตทิ รี่ ะดบั .05 มีค่า ความพึงพอใจในงาน และคุณภาพชีวิตการทางานของครูใน สัมประสิทธิ์พยากรณ์เท่ากับ -0.79 สอดคล้องกับงานวิจัย โ ร ง เ รี ย น พ ร ะ ป ริ ยั ติ ธ ร ร ม แ ผ น ก ส า มั ญ ศึ ก ษ า ใ น ภ า ค ของ Srisawat (2014) พบว่า วัฒนธรรมองค์การส่งผลต่อ ตะวันออกเฉยี งเหนอื ดงั นนั้ โรงเรยี นต้องกาหนดกฎระเบยี บ คุณภาพชีวิตการทางานของครู ซึ่งวัฒนธรรมองค์การ ข้อบังคับ การติดต่อสื่อสารภายในตามสายบังคับบัญชา สามารถทานายคุณภาพชีวิตการทางานของครูได้ร้อยละ อย่างเป็นระบบและรวดเร็ว ผู้บริหารมีความเป็นกันเองใน 60.01 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 ความพึงพอใจ การให้คาปรกึ ษา ชว่ ยเหลอื สนบั สนนุ สง่ เสริม และใหค้ วาม ในงานมีอิทธิพลทางตรงต่อความผูกพันต่อองค์การอย่างมี ไว้วางใจครูในการปฏิบัติงาน ยกย่อง ชมเชย ให้รางวัล และ นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าสัมประสิทธ์ิพยากรณ์ ประเมินผลการปฏบิ ตั ิงานของครูอยา่ งเปน็ ธรรม เท่ากับ 0.82 สอดคล้องกับงานวิจัยของ Kopolrat (2015) 3. ผลการวิจัยพบว่า วัฒนธรรมองค์การส่งผลต่อ ความพึงพอใจในงาน และคุณภาพชีวิตการทางานของครูใน

8 โ ร ง เ รี ย น พ ร ะ ป ริ ยั ติ ธ ร ร ม แ ผ น ก ส า มั ญ ศึ ก ษ า ใ น ภ า ค คุณภาพชีวิตการทางานของครูให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เช่น ตะวันออกเฉียงเหนือ ดังน้ัน สานักงานพระพุทธศาสนา ภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลง ปัจจัยลักษณะบุคคล แรงจูงใจ แห่ งชา ติ แล ะ ผู้มี ส่ วน ที่เกี่ ย วข้ องต้ องเ ส นอให้มี ก ฎห ม า ย การรบั รคู้ วามยุตธิ รรมในองค์การ เป็นตน้ พระราชบัญญัติเก่ียวกับการศึกษาโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามญั ศึกษาให้เปน็ รูปธรรมท่ีชัดเจน 2. ควรศึกษาแยกกันระหว่างกลุ่มตัวอย่างท่ีเป็น บรรพชิตกับคฤหัสถ์ เพ่ือทราบว่าระหว่างกลุ่มมีความ ข้อเสนอแนะสาหรบั การวจิ ัยครัง้ ตอ่ ไป แปรเปลี่ยนของรูปแบบหรือไม่อย่างไร และอาจศึกษาใน 1. ควรศึกษาปัจจัยด้านอ่ืนๆ นอกเหนือจากท่ีได้ ภาพรวมระดบั ประเทศ ศึกษาแล้วในงานวิจัยนี้ที่อาจส่งผลต่อคุณภาพชีวิตในการ 3. ควรศกึ ษาประเด็นเดียวกันนี้ ดว้ ยวิธีวิจยั แบบมี ทางานของครูในโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา ส่วนร่วม หรือการวิจัยและพัฒนา หรือทฤษฎีฐานราก เพ่ือนาข้อค้นพบที่ได้มาใช้เป็นแนวทางในการส่งเสริม เนื่องจากบริบทของแต่ละโรงเรียนอาจมคี วามแตกต่างกนั References Bruce,W.M.and Blackburn. J.W. (1992). Balancing job satisfaction & performance : A Guide for Human Resonrce Professionals. Westport : Quorum Books. 15-16. Dimmock, C., and Walker, A. (2005). Educational leadership: Culture and Diversity. Gateshead: Athenaeum Press. Koponrat, U. (2015). The Relationship between Job Satisfaction and Organizational Commitment of Employees of Imperial Hotel, SakonNakhon Province. (Unpublished master’s thesis). Sakon Nakhon Rajabhat University. SakonNakhon, Thailand. [in Thai] Horasit, H. (2014). Organizational Climate Affecting Teachers’ Teamworking in School Under the Office of Chaiyaphum Primary Educational Service Area 2. (Unpublished master’s thesis). Khonkaen University, khonkaen, Thailand. [in Thai] Hoy, W.K. (2008). Educational administration: Theory, Research, and Practice. New York: McGraw-Hill. Khianchanat. L. (2014). Organizational Culture Affecting the Internal Quality Assurance in Schools under the Office Secondary Educational Service Area 30. (Unpublished master’s thesis). Khonkaen- University, khonkaen, Thailand. [in Thai] Kopolrat, U. (2015). The Relationship between Job Satisfaction and Oraganizational Commitment of Employees of Imperial Hotel, Sakon nakhon Province. (Unpublished master’s thesis). Sakon Nakhon Rajabhat University, Sakon Nakhon, Thailand. [in Thai] Litwin, G. H. and Stringer, R. A. Jr. (1968). Motivation and organizational climate. Boston: Harvard University. Ministry of Education. (2017). National Education Plan 2017 - 2036. Bangkok. The Secretariat of the Council of Education. Numongkud, W. (2014). Organizational health that affects the working life quality of the educational personnel in schools for children withintellectual disabilities under The Bureau of Special Education. (Unpublished master’s thesis). Nakhon Pathom Rajabhat University, Nakhon Pathom, Thailand. [in Thai] Pheasa, E. (2017). Causal Relationship Model of Factors Affecting Organizational Citizenship Behavior of Teachers in General Buddhist Scripture School, General Education Division under Sangha Council. Nakhon Phanom University Journal, 7(2), 36-43. Pigors, P. and Mayers, C. A. (1981). Personnel administrator. (9th ed.). Tokyo: Mcgraw-Hill. Sangoiem, P. (2015). Factors Affecting the Job Satisfaction and Organizational Commitment of Academic

9 Support Personnel at the Natoinal Institute of Develofment Adminitration. (Unpublished master’s thesis). Ramkhamhaeng University, Bangkok, Thailand. [in Thai] Sergiovanni, T. J. and Starratt, R. J. (1988). Supervision: human perspectives. New York: McGraw-Hill. Srisawat, P. (2014). Organizational culture affecting the quality work life of teachers in secondary schools of nakhon saw province. (Unpublished master’s thesis). Nakhon Sawan Rajabhat University, Nakhon- Sawan, Thailand. [in Thai] Steers, R. M. and Porter, L. W. (1991). Motivation and work behavior. (5th ed.). New York: McGraw-Hill. Supapoom, P. (2014). Organiational climate affecting the quality of work life of health officer of sub- destrict health promoting hospital in udonthani province. (Unpublished master’s thesis). Khonkaen University, khonkaen, Thailand. [in Thai] Suwannakul, V. (2011). The impact of quality of life at work toward the commitment in organization of staff at mae wang sugar industry Co.,Ltd. (Unpublished master’s thesis). Lumpang Rajabhat University, Lumpang, Thailand. [in Thai] Suwannoy, C. (2015). Quality of Working Life of the Wing 21 Officials of the Royal Thai Air Force in Mueang Ditrict, Ubon Ratchathani Province. (Unpublished master’s thesis). UbonRatchathanirajabhat University, Ubon Ratchathani, Thailand. [in Thai] Yantarudon, K. (2009). A study of problem and problem solving guidelines for personnel administration of administrators in ecclesiastical schools under the Genera education division in the northeast. (Unpublished master’s thesis). Nakhon Ratchasima Rajabhat University, Nakhon Ratchasima, Thailand. [in Thai]


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook