Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตลาดแข่งขันสมบูรณ์

ตลาดแข่งขันสมบูรณ์

Published by EaRn YuWaNdA, 2021-10-18 05:43:04

Description: จัดทำโดย
นางสาวมัชฌิมา มะบุตร
นางสาวยุวรรณดา แซ่เหลา
นายนัฐพล ชนนิกรณ์
นางสาววิสาขา คำปริก

สาขาวิชาการบัญชี ACC16341N
คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ

Keywords: ตลาดแข่งขันสมบูรณ์

Search

Read the Text Version

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ตลาดแข่งขันแบบสมบูรณ์ Perfectly Competitive Market นางสาวมัชฌิมา มะบุตร นางสาวยุวรรณดา แซ่เหลา นายนัฐพล ชนนิกรณ์ นางสาววิสาขา คำปริก สาขาวิชาการบัญชี คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ

สารบัญ Key takeaways: จำนวนของผู้ผลิต ลักษณะสินค้า ตัวอย่างสินค้า อำนาจของผู้ผลิตในการกำหนดราคา วิธีการจำหน่ายสินค้า ลักษณะอุปสงค์ของผู้ผลิตแต่ละราย ระดับราคาสินค้า กำไรในระยะยาว คำถาม - คำตอบ

จำนวนของผู้ผลิต ➸ผู้ซื้อและผู้ขายมีจำนวนรายมาก ➸สินค้าเหมือนกันทุกประการ ➸ผู้ผลิตสามารถเข้าและออกจากตลาดได้โดยเสรี ➸ผู้ซื้อและผู้ขายต่างมีข้อมูลของตลาดเป็นอย่างดี

ลักษณะของสินค้า ➸ จะต้องมีลักษณะเหมือนกันทุกประการ ➸ รูป สี กลิ่น รส เหมือนกันทุกอย่าง ➸ สามารถ​ใช้ทดแทนกันได้อย่างสมบ​รูณ์​

ตัวอย่างสินค้าที่เป็นผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร ตัวอย่างสินค้า ตัวอย่างสินค้าที่สามารถพบ ได้ทั่วไปตามท้องตลาด

อำนาจของผู้ผลิตใน การกำหนดราคา อำนาจของผู้ผลิตในการกำหนดราคา ไม่สามารถกำหนดราคาได้เอง ราคาจะต้องเป็น ไปตามกลไกการตลาด

วิธีการจำหน่ายสินค้า สามารถซื้อขายกันอย่างง่ายดาย ผู้ซื้อผู้ขาย ต่างรู้ข้อมูลของตลาดเป็นอย่างดี ถ้าเจ้าไหน ขึ้นราคาสูงผู้ขายก็จะไม่ไปซื้อเจ้านั้นทำให้ผู้ขาย ขายสินค้าไม่ได้เลย

ลักษณะ​อุปสงค์ของผู้ผลิตแต่ละราย ราคา ราคา S P D=P=AR=MR D 0 ปริมาณ 0 ปริมาณ ผู้ผลิตแต่ละราย ตลาดหรืออุตสาหกรรม​ ผู้ขายแต่ละรายจึงไม่สามารถกำหนดราคาสินค้าตามใจชอบ แต่จะต้องขายตามราคาตลาด (Price Taker)​ซึ่งเป็นราคากำหนดขึ้นโดยอุปสงค์และอุปทานรวมของตลาด

ระดับราคาสินค้า ราคา , ต้นทุน , รายได้ MC จากกราฟนั้นสามารถอธิบายได้ ดั งนี้ P4 ATC (AC) 1.เมื่ อราคาตลาดอยู่จุด OP4 กำไรสูงสุดนั้นจะอยู่ที่จุด A MR 4 = AR 4 ดุลยภาพ A หมายถึง กำไรเกินปกติ P3 2.เมื่ อราคาตลาดอยู่ที่จุด OP3 กำไรสูงสุดนั้นจะอยู่ที่จุด P2 C AVC ดุลยภาพ B หมายถึง กำไรปกติ (เรียกว่าจุดคุ้มทุน) P1 D B MR 3 = AR 3 3.และเมื่ อมาถึงจุด OP2 กำไรสูงสุดนั้นจะอยู่ที่จุด ดุลยภาพ C หมายถึง ขาดทุนแต่ยังสามารถผลิตต่อได้ M MR 2 = AR 2 4.ณ จุด OP1 นั้นกำไรสูงสุดจะอยู่ที่จุดดุลยภาพ D หมาย 0 Q4 Q3 MR 1 = AR1 ถึง จุดจุดนี้จะเป็นการตัดสินใจว่าจะผลิตต่อไปหรือ ห ยุ ด แ ค่ นี้ Q2 Q1 จำนวนผลผลิต

กำไรในระยะยาว ต้นทุน , รายได้ LMC LAC จากกราฟสามารถตั้งสมมติฐานได้ 2 ประการ คือ Po SMC 1.ผู้ผลิตจะมีกำไรสูงสุดเมื่อผลิตตรงระดับ ที่ MC = LMC SAC A 2.ผู้ผลิตสามารถเปลี่ยนแปลงการผลิตได้ตลอดเวลา เมื่อรู้ E D = MR = AR = P สึกไม่คุ้มทุน อีกทั้งยังมีการเข้ามาแข่งขันอย่างเสรี 0 ปริมาณ สรุปได้ว่า ผู้ผลิตในตลาดนี้นั้นจะมีจุดดุลยภาพเมื่อผลิตตรงระดับที่ SMC Qo = LMC = MR = P = ต้นทุนต่อหน่วยต่ำที่สุด (LAC)

คำถาม - คำตอบ 1. อำนาจหน้าที่ของผู้ผลิตราคาเป็นอย่างไร ต้นทุน , รายรับ MC 2. กลวิธีในการจัดจำหน่ายสินค้าเป็นอย่างไร 3. กำหนดให้นางสาวมัชฌิมาขายสินค้า XYZ ในตลาด 200 AC แข่งสมบูรณ์ จงหาราคารายรับเฉลี่ย รายรับทั้งหมด 60 A D = AR = MR ต้นทุนเฉลี่ย ต้นทุนทั้งหมด กำไรต่อหน่วย กำไรทั้งหมด และผลตอบแทนที่นางสาวมัชฌิมาจะได้รับจากการ B ดำเนินธุรกิจ โดยมีข้อมูลราคา รายรับเฉลี่ย ต้นทุนเฉลี่ย ดังภาพ ปริมาณสินค้า 600 เฉลย 1. ในการกำหนดราคาไม่สามารถกำหนดราคาได้เอง ราคาจะได้เป็นไปตามกลไกการตลาด 2. ผู้ซื้อขายรู้ข้อมูลตลาดเป็นอย่างดี เมื่อผู้ขายราคาที่สูงผู้ซื้อก็จะไม่เลือกซื้อและไปซื้อเจ้าอื่น 3. ราคาต่อหน่วย = 200 ปริมาณ = 600 รายรับทั้งหมด = 120,000 ต้นทุนทั้งหมด = 36,000 กำไรทั้งหมด = 84,000 ผลตอบแทน = กำไรเกินกว่าปกติ

THE END นางสาวมัชฌิมา มะบุตร นางสาวยุวรรณดา แซ่เหลา นายนัฐพล ชนนิกรณ์ นางสาววิสาขา คำปริก สาขาวิชาการบัญชี คณะบริหารธุรกิจและ เทคโนโลยีสารสนเทศ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook