Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชากฎหมายทั่วไปเกี่ยวกับงานอาชีพ-แปลง

วิชากฎหมายทั่วไปเกี่ยวกับงานอาชีพ-แปลง

Published by Aneera Yousoh, 2020-10-25 15:02:28

Description: วิชากฎหมายทั่วไปเกี่ยวกับงานอาชีพ-แปลง

Search

Read the Text Version

กฎหมายท่ัวไปเกี่ยวกบั งาน อาชีพ (3001 1002)

คาอธบิ ายรายวชิ า ศึกษาเก่ยี วกบั หลกั กฎหมายทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับงานและการประกอบธุรกิจใน สาขา วิชาชีพ กฎหมายเก่ยี วกบั ความปลอดภัย กฎหมายเกย่ี วกับสิง่ แวดล้อม และ กฎหมายเกี่ยวกบั ทรัพย์สินทางปัญญา ◈ บทที่ 1 กฎหมายท่เี กีย่ วข้องกบั งาน ◈ บทที่ 3 กฎหมายเกย่ี วกับสิ่งแวดล้อม และการประกอบธุรกิจในประเทศไทย ◈ บทที่ 2 กฎหมายเกี่ยวกบั ความ ◈ บทที่ 4 กฎหมายเกีย่ วกับทรัพย์สินทาง ปลอดภัย ปญั ญา 1

บทที่ 1 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงาน และการประกอบธุรกิจในประเทศไทย 2

กฎหมายคมุ้ ครองแรงงาน คือ ประเดน็ สาคญั ・กฎหมายคุ้มครองแรงงาน คือ กฎหมายทีบ่ ญั ญตั ิถึงสทิ ธิและหน้าทีข่ องนายจ้าง เพือ่ ใหก้ าร จ้างงาน และการใช้งาน การประกอบกิจการ และ ความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง เป็นไปโดยดี ได้รบั ประโยชน์ทีเ่ หมาะสม ・กฎหมายคุ้มครองแรงงาน หรือ พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน คือ กฎหมายที่บญั ญัติถงึ สทิ ธิและ หน้าที่ระหวา่ งนายจา้ งและลกู จ้าง 3

“ ◈ พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงานฉบบั ใหมเ่ พมิ่ สิทธอิ ะไรบา้ ง ◈ ประเด็นสาคญั ◈ ・กรณที ีน่ ายจ้างไมจ่ ่ายค่าตอบแทนใหล้ ูกจ้าง นายจ้างต้องเสยี ดอกเบีย้ ร้อยละ 15 ต่อป,ี เพิ่มอัตราค่าชดเชยเลิกจา้ ง หาก ลกู จ้างทางานมากกว่า 20 ปีขึ้นไป ได้รบั ค่าชดเชย 400 วนั ◈ ・กรณพี นกั งานลากิจสามารถลาไดอ้ ย่างน้อย 3 วนั ต่อปี, พนกั งานหญิงสามารถลาคลอดไดไ้ มเ่ กิน 98 วัน และใหส้ ทิ ธิเท่า เทียมกันระหว่างชายหญิงมากข้ึน ◈ ・กรณีย้ายสถานประกอบการไปที่อืน่ นายจา้ งต้องมีการ ประกาศใหช้ ดั เจน สว่ นลกู จา้ งหากไมต่ ้องการยา้ ยตามก็สามารถ แจ้งความประสงค์ได้ ภายในเวลา 30 วนั ก่อนการย้าย 4

โดยสาระสาคัญที่ได้มกี ารปรบั ปรงุ แกไ้ ขสทิ ธิประโยชน์ เพือ่ ใหเ้ ข้ากับสภาพการณ์ปัจจุบัน มีดงั นี้ นายจ้างไมจ่ า่ ยคา่ ตอบแทน กรณนี ายจา้ งไมค่ ืนเงนิ หลกั ประกัน ไม่จ่ายเงินกรณบี อกเลิกสัญญาจ้างโดยไมบ่ อกลว่ งหน้า หรือไม่ จ่ายค่าจ้าง ค่าลว่ งเวลา ค่าทางาน-ค่าล่วงเวลาในวนั หยดุ และเงินที่นายจ้างมหี น้าทีต่ ้องจา่ ย หรือไม่จ่ายเงนิ กรณีนายจ้างหยุดกิจการ หรือค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกกล่าวลว่ งหน้า ให้ นายจ้างเสียดอกเบีย้ ให้แก่ลกู จ้างในระหว่างเวลาผิดนดั ร้อยละ 15 ต่อปี 5

เปลี่ยนนายจา้ ง เปลีย่ นนติ บิ คุ คล ในกรณีท่มี ีการเปลย่ี นแปลงตวั นายจ้าง หรือในกรณีทน่ี ายจ้างเปน็ นิติบุคคล และมี การจดทะเบียนเปลย่ี นแปลง โอน หรือควบกบั นิติบุคคลใด หากมีผลทาใหล้ ูกจ้าง ไปเปน็ ลกู จ้างของนายจ้างใหม่ การไปเปน็ ลูกจ้างของนายจ้างใหม่ดังกล่าวต้องได้รบั ความยินยอม จากลูกจ้างคนน้ันดว้ ย และใหส้ ทิ ธิต่าง ๆ ทีล่ กู จ้างเคยมอี ยู่จากนายจา้ งเดมิ มีสิทธิต่อไป โดย นายจ้างใหมต่ ้องรบั ไปทง้ั สิทธิและหน้าทข่ี องลูกจ้างคนน้ันทุกประการ 6

การเลกิ จ้างและอตั ราค่าชดเชยใหม่ ในกรณีท่นี ายจ้างบอกเลกิ สญั ญาจ้างโดยไม่บอกกล่าวลว่ งหนา้ ใหล้ ูกจา้ งทราบ ให้นายจา้ งจา่ ยเงินให้แก่ ลกู จ้างเป็นจานวนเทา่ กบั คา่ จา้ งท่ีลูกจ้างควรจะได้รับ นับตงั้ แตว่ นั ที่ให้ลูกจ้างออกจากงาน จนถงึ วนั ท่กี ารเลกิ สญั ญาจ้างมีผลโดยให้จา่ ย ในวันทใ่ี ห้ลูกจ้างออกจากงาน สว่ นในกรณีท่นี ายจ้างเลิกจา้ งลูกจ้าง ให้นายจา้ งจา่ ยคา่ จ้าง คา่ ล่วงเวลา คา่ ทางาน-คา่ ล่วงเวลาในวันหยดุ และ เงินทน่ี ายจ้างมีหนา้ ที่ต้องจ่ายตามที่ลกู จา้ งมีสทิ ธไิ ด้รบั ภายใน 3 วนั นับต้ังแตว่ ันที่เลกิ จ้าง และในกรณีทีน่ ายจ้างมีความจาเป็นตอ้ งหยุดกิจการทงั้ หมดหรอื บางสว่ นเป็นการชัว่ คราว ซึ่งมิใช่เหตุสุดวิสยั ให้ นายจ้างจ่ายเงินให้แก่ลกู จ้างไม่น้อยกว่า ร้อยละ 75 ของค่าจ้างในวนั ทางานท่ลี ูกจ้างได้รับก่อนนายจ้างหยุด กิจการ ตลอดระยะเวลาทน่ี ายจ้างไม่ได้ให้ลกู จ้างทางาน 7

เพิ่มอัตราชดเชยค่าเลิกจา้ งเพิ่มข้ึนอกี 1 อตั รา ทาใหเ้ กณฑ์การจ่ายค่าชดเชยเลกิ จ้าง เปน็ ดังตอ่ ไปนี้ – อตั ราท่ี 1 ทางานครบ 120 วัน แต่ไม่ถงึ 1 ปี ได้ค่าชดเชย 30 วนั – อตั ราท่ี 2 ทางานครบ 1 ปี แต่ไมถ่ ึง 3 ปี ได้ค่าชดเชย 90 วนั – อตั ราท่ี 3 ทางานครบ 3 ปี แต่ไม่ครบ 6 ปี ค่าชดเชย 180 วนั – อัตราที่ 4 ทางานครบ 6 ปี แต่ไม่ครบ 10 ได้ค่าชดเชย 240 วนั – อัตราท่ี 5 ทางานครบ 10 ปี แต่ไม่ครบ 20 ปี ได้ค่าชดเชย 300 วัน – อัตราท่ี 6 ทางานมากกว่า 20 ปีขึ้นไป ได้รับค่าชดเชย 400 วัน *ลา่ สดุ ทเ่ี พิ่มเข้ามา 8

ลากิจ ลาคลอด ให้ลูกจ้างมสี ิทธิลาเพือ่ กิจธรุ ะอันจาเปน็ ได้ ปีละไม่น้อยกวา่ 3 วันทางาน และต้อง จ่ายค่าจ้างเท่ากบั ค่าจ้างในวันทางานตามปกติ ในกรณลี าคลอด ให้ลูกจ้างซ่งึ เปน็ หญิงมคี รรภ์ มีสิทธิลาเพือ่ คลอดบุตร ครรภ์หนึ่งไม่เกนิ 98 วัน รวมถงึ วนั ลาเพือ่ ตรวจครรภ์ กอ่ นคลอดบุตรดว้ ย และใหน้ ับรวมวนั หยดุ ทีม่ ใี น ระหว่างวันลาด้วย โดยลูกจ้างจะไดร้ ับค่าจ้างระหวา่ งลาคลอดบุตรจากประกันสังคม 45 วนั และจากนายจ้างอกี ไมเ่ กิน 45 วนั 9

ให้สิทธเิ ทา่ เทยี มกนั ให้นายจ้างกาหนดค่าจา้ ง ค่าล่วงเวลา ค่าทางาน-ค่าล่วงเวลาในวันหยดุ ให้แกล่ ูกจ้างทท่ี างาน อันมีลักษณะ คุณภาพ และปรมิ าณเทา่ กัน หรืองานที่มีค่าเท่าเทียมกันในอตั ราเท่ากนั ไมว่ ่า ลกู จ้างน้ันจะเปน็ ชายหรือหญิง ดงั นี้ – กรณีท่มี ีการคานวณค่าจ้างเปน็ รายเดือน รายวัน รายชั่วโมง หรือเปน็ ระยะเวลาอย่างอื่น ที่ไม่ เกินหนึ่งเดือน หรือตามผลงานโดยคานวณเป็นหน่วย ให้จ่ายไม่น้อยกว่า 1 ครั้งต่อเดือน เว้นแต่ จะมีการตกลงกนั เปน็ อย่างอืน่ ทีเ่ ปน็ ประโยชน์แกล่ ูกจ้าง – ในกรณที ี่มีการคานวณค่าจ้างนอกเหนือจากนี้ ให้จ่ายตามกาหนดเวลาที่นายจ้างและลูกจ้าง ตกลงกนั 10

ย้ายสถานประกอบการไปทอี่ ื่น หากนายจ้างประสงค์จะย้ายสถานประกอบกิจการไปต้ัง ณ สถานทีใ่ หมห่ รอื ย้ายไปยังสถานทีอ่ ื่น ให้นายจ้างปิดประกาศ แจ้งให้ลกู จ้างทราบล่วงหน้า โดยใหป้ ิดประกาศไว้ในที่เปิดเผย ที่ลูกจ้างสามารถเหน็ ได้อย่างชัดเจน ติดตอ่ กันเป็นเวลาไม่นอ้ ย กว่าสามสบิ วนั ก่อนวันย้ายสถานประกอบกิจการ และประกาศน้ันตอ้ งมีขอ้ ความชัดเจนเพียงพอที่จะเข้าใจได้ว่าลูกจ้างคนใด จะต้องถูกย้ายไปสถานที่ใดและเมื่อไหร่ ในกรณีทีน่ ายจ้างไม่ปิดประกาศให้ลกู จา้ งทราบล่วงหน้า นายจ้างจะต้องจ่ายค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าแก่ ลกู จา้ งที่ไม่ประสงคจ์ ะไปทางาน ณ สถานประกอบกิจการแห่งใหม่เท่ากับค่าจ้างอตั ราสุดท้าย 30 วนั หากลูกจา้ งคนใดเหน็ ว่าการย้ายสถานประกอบกิจการดงั กล่าวมผี ลกระทบตอ่ การดารงชีวติ ตามปกติของลูกจ้าง หรอื ครอบครัวของลกู จ้างคนนนั้ และไม่ประสงค์จะไปทางาน ณ สถานประกอบกิจการแห่งใหม่ ต้องแจ้งให้นายจ้างทราบเปน็ หนงั สือภายใน 30 วัน นับตั้งแต่วันทีป่ ิดประกาศ หรอื นบั ตั้งแต่วนั ทีย่ ้ายสถานประกอบกิจการในกรณีที่นายจา้ งมไิ ด้ปิด ประกาศ และให้ถือว่าสัญญาจา้ งส้ินสุดลงในวนั ทีน่ ายจ้างย้ายสถานประกอบกิจการ โดยลูกจา้ งมสี ิทธิได้รบั ค่าชดเชยพิเศษไม่ นอ้ ยกว่าอตั ราค่าชดเชยทีล่ กู จ้างพงึ มีสิทธิได้รับ 11

แบบทดสอบวชิ าธุรกจิ และการเปน็ ผปู้ ระกอบการ 1 ธรุ กจิ หมายถึงขอ้ ใด 2 ข้อใดเป็นความสาคัญของธรุ กจิ 1. การจดั ตงั้ องค์กรหรอื กิจการ 1. สรา้ งความเจริญก้าวหน้าทาง 2. กระบวนการนาทรพั ยากรธรรมชาติผ่านกรรมวิธีการ เทคโนโลยี ผลิต 2. เพ่มิ ผลประโยชน์หรอื กาไร 3. ความตอง้ การซ้ือของผู้บริโภค 3. เพือ่ สร้างความมั่นคงใหกิจการ 4. การดาเนนิ งานโดยกลุ่มบุคคลทม่ี ีความตอ้งการ 4. เพ่อื พฒั นาผลติ ภัณฑ์และธุรกจิ คล้ายคลึงกนั 5. เพ่อื ให้เกิดการเปล่ยี นแปลง 5. กิจการการโอนย้ายสนิ ค้าและบริการ 12

3 องคป์ ระกอบธรุ กจิ ข้อใดเป็นหวั ใจสาคัญ ใน 4 กลุ่มบคุ คลท่มี ีความสาคญั มาก การดาเนนิ ธรุ กิจ 1. การเงิน ตอ่ ธุรกจิ คอื ข้อใด 2. การผลิต 3. การตลาด 1. ผู้ขาย 4. การค้าปลกี 5. การค้าสง่ 2. รฐั บาล 3. ผู้ซื้อ ๔. ลูกจา้ ง ๕. ผู้ลงทุน 13

๕. การจา้ งแรงงานตอ้ งทาอย่างไรจึงจะสมบรู ณ์ 1. ทาสัญญาจ้างโดยลงลายมือชื่อเป็นสาคัญ 2. เมือ่ ทาสญั ญาแลว้ ตอ้ งติดอากรแสตมปใ์ ห้เรยี บร้อย 3. เข้าใจถูกต้องตรงกันและตกลงด้วยวาจา 4. ตอ้ งมีการยกเลิกสัญญากอ่ นการเลกิ จ้าง 1 ช่วงระยะเวลาการจา่ ยคา่ จา้ ง 5. ทาสัญญาโดยกาหนดระยะเวลาให้ชัดเจน 14

บทที่ 2 กฎหมายเกี่ยวกับความ ปลอดภัย 15

การทีบ่ คุ คลจะเกดิ พฤติกรรมดา้ นความปลอดภัยทถ่ี ูกตอ้ งได้นั้น บุคคลดังกล่าวควรต้องมีความรู้ ความ เข้าใจในเรือ่ งของความปลอดภัยและมีทศั นคติที่ดี หรือมีความตระหนกั ในเรื่องของความปลอดภัยในด้านตา่ ง ๆ ซึ่ง ชมุ ชนสามารถสร้างความตระหนักในการระมดั ระวังภยั อันตรายและการป้องกนั ความไม่ปลอดภัยให้เกิดข้ึนกบั คน ของชุมชน ดงั วิธีการต่อไปนี้ ◈ 1. สรา้ งความรู้ความเขา้ ใจทีถ่ ูกต้องในการป้องกันภยั อนั ตรายตา่ ง ๆ โดยการเผยแพร่ความรู้ผ่านกลุ่มคนใน ชมุ ชน เชน่ ฝึกอบรมการปอ้ งกันภยั จากโจรผู้รา้ ย การฝึกซ้อมหนไี ฟ ฝึกปฐมพยาบาล และวธิ กี ารแจ้งเตอื นถึง อนั ตรายของอบุ ัตเิ หตทุ ่เี กิดขนึ้ ในชมุ ชนอย่างสม่าเสมอ เพอ่ื ให้เห็นความสาคัญของปญั หาและผลกระทบทม่ี ีต่อ สุขภาพ ชีวติ แบะทรพั ย์สนิ จนกอ่ ให้เกิดความตระหนกั ในเร่อื งความปลอดภยั ของคนในชมุ ชนไปโดย อตั โนมัติ ◈ 2. การปลูกฝงั ทัศนคตทิ ด่ี ดี ้านความปลอดภยั ทัศนคตทิ ด่ี ดี า้ นความปลอดภยั คอื การตระหนักว่าความปลอดภัย มีความสาคญั ต่อการดารงชีวติ ทาให้บคุ คล ครอบครัวและชุมชนมีสุขภาพทด่ี ี และการไม่ระมัดระวัง ฝ่าฝืนกฎ ความปลอดภยั ต่าง ๆ ถือว่าเปน็ เรอ่ื งถกู ต้อง วิธีการปลูกฝังทศั นคตดิ า้ นความปลอดภยั เชน่ ให้คนในชุมชนเขา้ มา มีส่วนร่วมในการรับผิดชอบต่อกระบวนการสรา้ งเสรมิ ความปลอดภยั ในชุมชนให้มากทีส่ ดุ เพราะจะทาให้เกิดการ ชกั จูงโดยกลุ่มของชุมชนใหบ้ ุคคลเห็นคุณคา่ ของการมีชีวติ อยู่อย่างปลอดภยั มีความตระหนักวา่ ความปลอดภยั ของชมุ ชนนั้นเปน็ สิ่งสาคัญ และเป็นภาระหน้าทีข่ องทุกคนที่ต้องมีพฤติกรรมด้านความปลอดภัยที่ถูกต้อง 16

◈ 3. การสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย ชุมชนต้องมกี ารกาหนดกฎเกณฑ์ ระเบียบ ปฏิบัติดา้ นความปลอดภยั เพื่อใหค้ นของชมุ ชนได้ปฏิบตั ิ ◈ และมกี ารสืบทอดพฤตกิ รรมด้านความปลอดภัยต่าง ๆ จากรุ่นพอ่ แม่สู่รุ่นลูกหลานสืบ ต่อไป จนเกิดเปน็ วัฒนธรรมดา้ นความปลอดภัยต่าง ๆ ◈ ขึ้นในชุมชน เชน่ การขบั ขีต่ ามกฎจราจร การหลีกเลี่ยงสารเสพติด หรือการใหค้ วาม รว่ มมือในการป้องกันภยั อนั ตรายของชุมชน 17

กฎหมายคุ้มครองความปลอดภยั ◈ กฎหมายคุ้มครองความปลอดภัย เปน็ ส่งิ ทีท่ าใหบ้ ุคคลอยู่รว่ มกันอยา่ งมีความสุข มีความ ปลอดภยั เพราะกฎหมายดังกล่าวชว่ ยควบคมุ บังคับให้ประชาชน นายจ้าง นิติบุคคล หรือ องค์กรตา่ ง ๆได้ปฏบิ ัติตามกฎขอ้ บังคบั ของกฎหมาย ส่งผลทาให้เกิดพฤตกิ รรมความ ปลอดภยั ในสังคมโดยส่วนรวม ◈ กฎหมายคุ้มครองความปลอดภยั มอี ยู่ด้วยกนั หลายฉบับ ซึ่งในบทเรียนนีจ้ ะขอกล่าว เฉพาะกฎหมายทีส่ าคญั ๆ ดงั นี้ ◈ 1. พระราชบญั ญตั ิคุ้มครองแรงงาน ( ฉบบั ที่ 3 ) พ.ศ. 2551 18

◈ 1. พระราชบญั ญัตคิ มุ้ ครองแรงงาน ( ฉบับที่ 3 ) พ.ศ. 2551 ◈ พระราชบญั ญัตคิ มุ้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 เป็นกฎหมายท่บี ัญญตั ิสิทธแิ ละหนา้ ท่ี ระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง โดยกาหนดมาตรฐานขน้ั ต่า ในการใช้แรงงานและการจ่าย คา่ ตอบแทนในการทางาน เพื่อให้ลูกจ้างทางานดว้ ยความปลอดภยั มีสขุ ภาพอนามัยท่ดี ี ไดร้ บั คา่ ตอบแทนและสวัสดกิ ารตามสมควร โดยในพระราชบัญญัติฉบับนมี้ ีสาระสาคัญที่เกีย่ วขอ้ งกบั ความปลอดภยั ของลกู จ้าง โดยดงั นี้ ◈ 1) การใช้แรงงานทั่วไป กฎหมายแรงงานฉบับนีก้ าหนดให้นายจ้างปฏิบตั ิต่อลกู จ้าง ดงั น้ี ◈ - การทางานปกติ นายจ้างตอ้ งประกาศเวลาทางานปกตใิ ห้ลูกจ้างทราบโดยกาหนดเวลา เริ่มตน้ และเวลาสนิ้ สดุ ของการทางานแต่ละวันของลูกจ้างไดไ้ ม่เกิน 8 ช่วั โมง ◈ - การทางานลว่ งเวลา นายจ้างที่ต้องการใหล้ กู จา้ งทางานลว่ งเวลาในวันทางาน ตอ้ งไดร้ ับ ความยินยอมจากลกู จา้ งก่อนเป็นคราวไป 19

การลา มี 6 ประเภท คือ ◈ (1) ลาป่วย ลูกจา้ งมสี ิทธิลาป่วยได้เท่าทีป่ ่วยจริง การลาป่วยต้ังแต่ 3 วนั ทางานขนึ้ ไป นายจ้างอาจให้ ลูกจา้ งแสดงใบรับรองของแพทย์แผนปัจจุบนั ชั้นหนึง่ หรอื ของสถานพยาบาลของทางราชการ หากไม่มีท ใบรบั รองของแพทย์ ลูกจา้ งตอ้ งชแี้ จงให้เจา้ นายทราบ ◈ (2) ลาคลอด ลูกจา้ งหญิงที่มคี รรภม์ ีสทิ ธิลาเพื่อคลอดบุตรครรภ์หนึง่ ได้ไม่เกิน 90 วัน โดยนบั รวมวนั หยุดที่ มีระหว่างวนั ลาด้วย ◈ (3) ลาเพื่อทาหมัน ลกู จ้างมีสทิ ธิลาเพือ่ ทาหมนั ได้และมสี ิทธิลาเนือ่ งจากการทาหมันตามระยะเวลาที่แพทย์ กาหนดและออกใบรบั รอง ◈ (4) ลาเพื่อกิจธรุ ะอนั จาเป็น ลกู จา้ งมสี ิทธิลาเพื่อกิจธุระอันจาเปน็ ได้ตามข้อบังคับเกีย่ วกบั การทางาน ◈ (5) ลาเพือ่ รับราชการทหาร ลกู จ้างมีสทิ ธิลาเพื่อรบั ราชการทหารในการเรยี กพลเพือ่ ตรวจสอบ เพื่อฝึกวิชา ทหาร หรอื เพื่อทดลองความพรง่ั พร้อมตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร ◈ (6) ลาเพือ่ การฝึกอบรม ลกู จา้ งมสี ิทธิลาเพือ่ การฝึกอบรมหรือพฒั นาความรคู้ วามสามารถได้ตามหลักเกณฑ์ และวิธีการทีก่ าหนดในกฎกระทรวง 20

◈ การกาหนดวนั หยดุ มี 3 ประเภท คือ ◈ (1) วันหยุดประจาสปั ดาห์ สปั ดาห์หนึง่ ไม่น้อยกว่า 1 วัน โดยมีระยะห่างกันไม่ เกนิ 6 วัน นายจ้างและลกู จ้างอาจตกลงกนั ให้มีวนั หยุดประจาสปั ดาห์วันใดก็ได้ ◈ (2) วันหยดุ ตามประเพณี นายจ้างตอ้ งประกาศให้ลูกจ้างทราบวันหยดุ ตามประเพณีเป็นการ ลว่ งหนา้ ปีหน่งึ ไม่น้อยกว่า 13 วัน โดยรวมวันแรงงานแห่งชาติด้วย ◈ (3) วันหยุดพกั ผ่อน ลกู จ้างซึง่ ทางานตดิ ต่อกันมาแล้วครบ 1 ปีมีสทิ ธิหยุดพักผ่อน ประจาปีได้ปีหน่งึ ไม่น้อยกว่า 6 วันทางาน โดยให้ ◈ นายจ้างเปน็ ผู้กาหนดวนั หยุดดังกล่าวให้แก่ลกู จ้างล่วงหน้าหรือกาหนดให้ตามทีน่ ายจ้างและลกู จ้าง ตกลงกนั 21

◈ 2) การใช้แรงงานหญงิ กฎหมายกาหนดให้นายจา้ งปฏิบตั ิต่อลกู จา้ งชายและหญงิ โดยเท่าเทียมกันในการ จ้างงาน เวน้ แต่ลักษณะหรือสภาพของงานไม่อาจปฏิบตั ิได้ อย่างไรก็ตามกฎหมายกาหนดขอ้ ห้ามในการใช้ แรงงานหญิงไว้ ดังน้ี ◈ - ห้ามทางานทเ่ี ป็นอันตรายต่อสุขภาพหรือร่างกาย เชน่ งานเหมืองแร่หรอื งานก่อสร้างที่ต้องทาใต้ ดิน ใตน้ า้ ในถา้ ในอโุ มงค์ หรอื ปลอ่ งในภูเขา เว้นแตส่ ภาพของการทางานไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพหรอื ร่างกายของลกู จ้าง หรืองานทต่ี อ้ งทาบนนั่งรา้ นที่สงู กว่าพื้นดิน ตงั้ แต่ 10 เมตรขนึ้ ไป หรืองานผลิตหรือ ขนสง่ วัตถรุ ะเบิดหรือวตั ถุไวไฟ เวน้ แต่สภาพของการทางานไม่เปน็ อนั ตรายต่อสุขภาพหรือร่างกายของ ลูกจ้าง ◈ - ห้ามหญิงมีครรภ์ทางาน เกี่ยวกับเคร่ืองจกั รหรือเครือ่ งยนตท์ ี่มีความสั่นสะเทือนหรืองาน ขบั เคล่อื นหรือตดิ ไปกับยานพาหนะหรอื งานยก แบก หาม หาบ ทูน ลาก หรือเข็นของหนัก เกนิ 15 กิโลกรัม หรืองานทท่ี าในเรือ นอกจากนี้ ยงั ห้ามทางานในระหว่างเวลา 22.00 น. ถึง 06.00 น. หรือทางานลว่ งเวลา หรือทางานในวนั หยุดดว้ ย สว่ นผู้ที่มีตาแหนง่ เปน็ ผู้บรหิ ารงาน วิชาการ งานธรุ กจิ การเงินหรอื บัญชี นายจ้างอาจให้ทางานลว่ งเวลาในวนั ทางานได้เท่าท่ไี ม่กระทบตอ่ สุขภาพของลกู จ้างและได้รบั ความยินยอมจากลกู จา้ งก่อนและห้ามมิให้นายจ้างเลกิ จ้างลกู จ้างหญงิ เพราะ เหตุมีครรภ์ 22

◈ 3) การใช้แรงงานเดก็ ในการทางานโดยทั่วไปนายจ้างสามารถจ้างลูกจ้างที่มีอายุ 18 ปีขนึ้ ไป ได้โดยไม่มีเงื่อนไข ในกรณีทมี ีการจา้ งเดก็ อายุตา่ กวา่ 18 ปี เปน็ ลูกจ้าง นายจ้างตอ้ ง ปฏิบตั ิ ดังนี้ ◈ (1) แจ้งต่อพนักงานตรวจแรงงานภายใน 15 วัน นบั แต่วันท่เี ข้าทางาน ◈ (2) จัดทาบนั ทึกสภาพการจ้างที่มีการเปลีย่ นแปลงไปจากเดิมเก็บไว้ ณ สถานประกอบกจิ การ หรือสานกั งานของนายจา้ งพร้อมทีจ่ ะให้พนักงานตรวจแรงงานตรวจได้ ◈ (3) แจ้งการสิน้ สุดการจ้างลูกจ้างเด็กต่อพนักงานตรวจแรงงานภายใน 7 วัน นับแต่วนั ท่อี อก จากงาน 23

แบบทดสอบกฎหมายคุ้มครองความปลอดภัย ◈ กฎหมายคุ้มครองความปลอดภยั คือ…………………………………………………………………. ◈ การใช้แรงงานท่วั ไป นายจา้ งต้องประกาศเวลาทางานปกติไม่เกิน ……. ชวั่ โมง ◈ การลามกี ่ปี ระเภทอะไรบา้ ง ◈ การกาหนดวนั หยดุ มกี ี่ประเภท อะไรบ้าง ◈ กฎหมายกาหนดข้อหา้ มในการใช้แรงงานหญิงไวอ้ ย่างไร 24

บทที่ 3 กฎหมายเกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อม 25

กฎหมายสิ่งแวดลอ้ มนา่ รู้ ◈ กฎหมายสิง่ แวดล้อม คือ กฎหมายประเภทหนึง่ มกั ตราข้นึ เพื่อการอนุรักษ์ส่งิ แวดล้อมเป็นหลกั เนือ้ หาครอบคลมุ การ ป้องกันและเยียวยาความเสื่อมโทรมแหง่ สุขภาพทั้งของมนุษย์และอมนุษย์ และมักคาบเกี่ยวกบั กฎหมายจารีตประเพณี สนธิสัญญา ข้อตกลง พันธกรณี กฎระเบียบ และนโยบาย ฯลฯ หลากชนิด กฎหมายสิง่ แวดล้อมของบางประเภทอาจกาหนดคุณภาพสิง่ แวดล้อม และจากัดเง่อื นไขในการดาเนินกิจการบาง ประเภทของมนษุ ย์ เชน่ กาหนดปริมาณของภาวะมลพิษทีจ่ ะให้มไี ด้ หรอื กาหนดให้ตอ้ งมกี ารวางแผนและการตรวจสอบ กิจการบางอย่าง เป็นต้น นโยบายของรฐั เปน็ ต้นว่า มาตรการกันไว้ดกี ว่าแก้ (precautionary principles) การมสี ่วนรว่ ม ของประชาชน การจัดตง้ั ศาลสิ่งแวดล้อม และมาตรการใครทาคนน้ันจ่าย (polluter pay principles) ล้วนเป็นลกั ษณะหน่งึ ของกฎหมายสิ่งแวดล้อม ได้มกี ารรเิ ริม่ จะให้มกี ฎหมายสิง่ แวดล้อมขนึ้ เปน็ คร้ังแรกในยคุ ปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมประมาณช่วง พ.ศ. 2503อย่างไรก็ดี ถึงแม้วา่ นานาประเทศในโลกจะได้ตรากฎหมายสิ่งแวดล้อมขนึ้ แตก่ ลไกแหง่ กฎหมายดงั กล่าวก็ มักไม่ประสบผล และในปัจจบุ ัน กฎหมายสิง่ แวดล้อมก็ถูกมองว่าเป็นเครื่องมอื หน่ึงในการโฆษณาและส่งเสริมกลไกการ พัฒนาอย่างยงั่ ยืนการปฏิรูปกฎหมายสิ่งแวดล้อมในขณะนี้ เปน็ ไปเพื่อพฒั นามาตรการดา้ นสิง่ แวดล้อมให้มปี ระสิทธิภาพ มากกว่าเดิมที่ใช้มาตรการบงั คบั และควบคุม (command and control) ซึ่งผคู้ นมักไม่พงึ ใจนัก ผลสว่ นหน่งึ ที่ได้จากการ ปฏิรปู ดงั กล่าว เป็นตน้ ว่า การจัดเก็บภาษีสิ่งแวดลอ้ ม การวางมาตรฐานบางอย่าง เชน่ ไอเอสโอหนึง่ พนั สี่ร้อย ตวั อย่าง กฎหมายสิ่งแวดล้อมที่ควรรู้ กฎหมายที่สาคัญ ได้แก่ 26

กฎหมายสงิ่ แวดลอ้ มทคี่ วรรู้ กฎหมายทสี่ าคญั ได้แก่ ◈ 1.พระราชบญั ญตั ิสง่ เสริมและรักษาคณุ ภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 บัญญัติข้ึนเพือ่ ป้องกนั ปญั หา ความเสือ่ มโทรมของคุณภาพสิง่ แวดล้อม เชน่ ดินเสีย นา้ เน่า อากาศเป็นพิษ ป่าไม้ ตน้ นา้ ลาธารถกู ทาลาย อัน เนื่องมาจากการขยายตัวของประชากร การใชท้ รพั ยากรอย่างไม่ถกู ต้อง และอุตสาหกรรม โดยส่งเสริม ประชาชน และองค์กรเอกชน ให้มสี ่วนรว่ มในการส่งเสริมและรกั ษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม กาหนดอานาจหน้าที่ ของสว่ นราชการ รฐั วิสาหกิจ และราชการส่วนท้องถิ่นและกาหนดแนวทางปฏิบัติในส่วนที่ไม่มีหน่วยงานใด รับผิดชอบโดยตรง กาหนดมาตรการควบคมุ มลพิษด้วยการจัดใหม้ ีระบบบาบัดอากาศเสีย ระบบบาบดั น้าเสีย ระบบกาจัดของเสีย และเครื่องมือหรอื อุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับมลพิษ และหนา้ ที่ความ รบั ผดิ ชอบของผู้ทีเ่ กี่ยวข้องกบั การก่อให้เกิดมลพษิ ตลอดจนใหม้ ีกองทนุ สิ่งแวดล้อม การบังคบั ใชก้ ฎหมาย ฉบับนีจ้ งึ เป็นการวางกรอบนโยบายเกี่ยวกบั สิง่ แวดล้อม การกาหนดมาตรฐานคุณภาพสิง่ แวดล้อม การวางแผน การจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม การประกาศเขตอนุรักษ์และพ้ืนทีค่ ุ้มครองส่ิงแวดล้อม การกาหนดให้โครงการ ขนาดใหญ่จะต้องจัดทารายงานการวิเคราะหผ์ ลกระทบสิง่ แวดล้อม เปน็ ต้น แตม่ ิได้มบี ทบญั ญัติเกี่ยวกับการเก็บ รวบรวมหรือการรีไซเคิลเศษเหลือทิ้งของเครือ่ งใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิคส์ใด ๆ 27

◈ 2.พระราชบญั ญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 เปน็ กฎหมายทีอ่ อกใช้เพือ่ ควบคุมดแู ลการประกอบกิจการโรงงานให้ เหมาะสม โดยกาหนดให้แบ่งโรงงานตามประเภทชนิดหรอื ขนาดโรงงาน แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ โรงงาน จาพวกที่ 1 โรงงานจาพวกที่ 2 หรอื โรงงานจาพวกที่ 3 แล้วแต่กรณี กฎหมายกาหนดให้โรงงานจาพวกใด จาพวกหนึ่งหรือทุกจาพวกต้องปฏิบตั ิตามในเรอื่ งที่ตง้ั สภาพแวดลอ้ ม ลกั ษณะอาคารและลักษณะภายในของ โรงงาน ลกั ษณะและชนิดของเครือ่ งจักร เครื่องอุปกรณ์ คนงานที่ต้องมีความรู้ตามประเภทชนิดหรอื ขนาดของ โรงงาน หลักเกณฑ์ทีต่ ้องปฏิบัติ กรรมวิธีการผลิต เครือ่ งมืออปุ กรณ์เพือ่ ป้องกันหรือระงับหรอื บรรเทาอันตราย ความเสียหาย ความเดือดรอ้ นที่อาจเกิดแก่บคุ คลหรอื ทรัพย์สินในโรงงานหรือที่อยู่ใกล้เคียง มาตรฐานและวิธี ควบคมุ การปล่อยของเสีย มลพิษที่มผี ลกระทบกับสิง่ แวดล้อม การจดั ให้มีเอกสารเพือ่ การควบคมุ หรอื ตรวจสอบ ข้อมลู ทีจ่ าเปน็ ทีผ่ ปู้ ระกอบกิจการจะต้องแจ้งตามระยะเวลาทีก่ าหนด และการอน่ื ใดทีค่ ุ้มครองความปลอดภัยใน การดาเนินงาน เชน่ ในมาตรา 8 (4) ได้กาหนดหลกั เกณฑ์ทีต่ ้องปฏิบตั ิ กรรมวิธีการผลิตและการจดั ให้มอี ุปกรณ์ หรอื เครื่องมืออ่นื ใด เพือ่ ป้องกนั หรอื ระงับหรอื บรรเทาอันตรายความเสียหายหรอื ความเดือดรอ้ นที่อาจเกิดแก่ บคุ คลหรือทรพั ย์สนิ ที่อยู่ในโรงงานหรอื ที่อยู่ใกล้เคียงกบั โรงงาน ซึ่งอาจใชอ้ านาจดงั กล่าวในการกาหนดให้โรงงาน ปฏิบัติเกีย่ วกบั การรไี ซเคิลวัสดุเหลอื ทิ้งจากกระบวนการผลิต และการห้ามไม่ใหใ้ ชส้ ารอันตรายบางอย่างใน กระบวนการผลิต 28

◈ 3. พระราชบญั ญตั ิการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2522 เปน็ กฎหมายจดั ตั้งการนคิ ม อตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทย เพื่อให้เป็นองค์กรที่ทาหนา้ ที่จดั หาพืน้ ทีต่ ้ังนิคมอุตสาหกรรม แล้วจดั ใหเ้ ชา่ เชา่ ซื้อ หรือขาย และให้บริการแก่ผู้ประกอบอุตสาหกรรม และผู้ประกอบกิจการที่เปน็ ประโยชนห์ รือตอ่ เนอ่ื งกบั ผู้ ประกอบอตุ สาหกรรมในนิคมอตุ สาหกรรม กฎหมายยงั ได้กาหนดสิทธิประโยชน์ของผู้ประกอบอุตสาหกรรม ด้านต่าง ๆ เปน็ ต้นว่าผปู้ ระกอบอุตสาหกรรมอาจได้รับอนุญาตให้ถือกรรมสิทธิ์ในทีด่ นิ ในนิคมอุตสาหกรรมตาม จานวนเนือ้ ที่ที่คณะกรรมการเห็นสมควร แมจ้ ะเกินกาหนดทีจ่ ะพึงมีได้ตามกฎหมายอืน่ ได้รบั อนญุ าตให้นาคน ต่างดา้ วซึ่งเป็นช่างฝมี อื ผชู้ านาญการ คู่สมรส และบคุ คลซึง่ อยู่ในอุปการะเข้ามาในราชอาณาจกั ร ได้ตาม จานวนและภายในกาหนดระยะเวลาตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร แม้จะเกินจานวนหรอื ระยะเวลาตาม กฎหมายว่าดว้ ยคนเข้าเมอื ง อนญุ าตใหน้ าหรอื ส่งเงินทนุ เงินกู้ตา่ งประเทศ หรอื เงินตามข้อผูกพันออกนอก ราชอาณาจักรเป็นเงินตราต่างประเทศได้ การกาหนดเงอ่ื นไขบางอย่างให้ผู้ประกอบการในนิคมอุตสาหกรรม ปฏิบัติเกีย่ วกับการจัดการของเสียในกระบวนการผลิต คงเปน็ ไปในทานองเดียวกันกบั พระราชบญั ญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ซึ่งไม่สามารถกาหนดเลยไปถึงขั้นตอนหลังการขายทีไ่ ด้จาหน่ายใหก้ ับผู้บริโภคแลว้ 29

◈ 4. พระราชบัญญตั ิวัตถอุ ันตราย พ.ศ. 2535 เป็นกฎหมายที่ออกมายกเลิก พระราชบัญญตั ิวตั ถุมีพิษ พ.ศ. 2510 และพระราชบญั ญัติวตั ถมุ ีพษิ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2516 เนื่องจากปรากฏว่ามีการนาวตั ถุอนั ตรายมาใช้ ในกิจการประเภทต่าง ๆ เปน็ จานวนมาก และวัตถอุ นั ตรายบางชนดิ อาจก่อใหเ้ กิดอันตรายอย่างร้ายแรงแก่ บุคคล สตั ว์ พืช ทรพั ย์ และสิ่งแวดล้อมได้ แมว้ ่าในขณะน้ีจะมีกฎหมายทีใ่ ชค้ วบคมุ วตั ถทุ ี่ก่อให้เกิดอันตรายอยู่ บ้างแล้วก็ตาม แตก่ ็มีอยู่หลายฉบบั และอยู่ในอานาจหน้าที่ของหลายกระทรวง ทบวง กรม ซึ่งกฎหมายเหล่านั้น ได้ออกมาต่างยคุ ต่างสมัยกัน ทาให้มบี ทบญั ญตั ิที่แตกต่างกนั และยังไม่ครอบคลมุ เพียงพอ สมควรปรบั ปรุง กฎหมายว่าดว้ ยวัตถมุ ีพิษโดยขยายขอบเขตใหค้ รอบคลมุ วตั ถุอนั ตรายต่าง ๆ ทกุ ชนิด และกาหนดหลกั เกณฑ์ และวิธีการในการควบคุมวตั ถอุ นั ตรายใหเ้ หมาะสมยิ่งขึ้น พร้อมกับจดั ระบบบริหารให้มีการประสานงานกัน ระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกันกับการควบคมุ ดแู ลวัตถอุ นั ตรายดังกล่าวด้วย กฎหมายฉบบั นใี้ ช้บงั คับ กบั บคุ คลใดทีผ่ ลิต นาเข้า ส่งออก หรอื มีไว้ในครอบครองซึ่งวตั ถุอันตราย แตม่ ิได้มบี ทบัญญตั ิกาหนดให้ผู้ผลิต ต้องเรียกคืนเศษเหลือทิ้งวตั ถทุ ีใ่ ชแ้ ล้วมาบาบัดหรอื รีไซเคิล 30

แบบทดสอบกฎหมายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ◈ กฎหมายสิง่ แวดลอ้ ม คืออะไร ◈ กฎหมายสิง่ แวดล้อมทีค่ วรรู้ได้แก่ ◈ พระราชบัญญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535 เป็นกฎหมายท่อี อกใช้เพือ่ ควบคุมดูแลการ ประกอบกิจการโรงงานใหเ้ หมาะสม โดยกาหนดให้แบ่งโรงงานตามประเภทกี่ประภท ◈ พระราชบัญญตั ิวตั ถอุ นั ตราย พ.ศ. 2535 เปน็ กฎหมายฉบับนี้ใชบ้ งั คบั กับบุคคลใด ◈ พระราชบญั ญัติการนิคมอุตสาหกรรมแหง่ ประเทศไทย พ.ศ. 2522 เป็นกฎหมายจดั ตั้ง การนิคมอตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทยเพื่ออะไร 31

บทที่ 4 กฎหมายเกี่ยวกับทรัพย์สิน ทางปัญญา 32

ทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา ◈ ทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา หมายถงึ ผลงานอันเกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของ มนุษย์ ทรัพย์สินทางปัญญาเปน็ ทรัพย์สินอกี ชนิดหนึง่ นอกเหนือจาก สงั หาริมทรพั ย์ คือ ทรพั ย์สินทีส่ ามารถเคลื่อนย้ายได้ เช่น นาฬิกา รถยนต์ โต๊ะ เป็นต้น และอสงั หาริมทรัพย์ คือ ทรัพย์สินที่ไมส่ ามารถเคลือ่ นย้ายได้ เช่น บ้าน ทีด่ ิน เป็นต้น 33

◈ ประเภทของทรพั ย์สินทางปญั ญา ◈ โดยทั่วๆ ไป คนไทยส่วนมากจะคุ้นเคยกบั คาว่า \"ลิขสทิ ธิ\"์ ซึง่ ใชเ้ รียกทรัพย์สนิ ทางปัญญาทุกประเภท โดยที่ ถกู ต้องแล้วทรัพย์สนิ ทางปัญญาแบ่งออกเปน็ 2 ประเภท ที่เรยี กว่า ทรพั ย์สินทางอตุ สาหกรรม และลิขสิทธิ์ ◈ ทรัพย์สินทางอตุ สาหกรรม ไม่ใช่สังหาริมทรพั ย์และอสังหาริมทรพั ย์ที่ใชใ้ นการผลิตสินค้าหรอื ผลิตภณั ฑท์ าง อุตสาหกรรม แท้ทีจ่ รงิ แล้ว ทรัพย์สนิ ทางอตุ สาหกรรมน้ี เปน็ ความคดิ สร้างสรรคข์ องมนุษย์ที่เกีย่ วกับสินค้า อตุ สาหกรรม ความคิดสรา้ งสรรค์นีจ้ ะเป็นความคิดในการประดิษฐ์คิดค้น การออกแบบผลิตภัณฑท์ างอตุ สาหกรรม ซึง่ อาจจะเป็นกระบวนการ หรอื เทคนิคในการผลิตทีไ่ ด้ปรบั ปรงุ หรอื คิดค้นข้ึนใหม่ หรอื ที่เกี่ยวข้องกบั ตัวสินค้า หรอื ผลติ ภณั ฑ์ทีเ่ ปน็ องค์ประกอบและรูปร่างสวยงามของตัวผลติ ภัณฑ์ นอกจากนีย้ ังรวมถึงเครือ่ งหมายการค้าหรอื ยี่หอ้ ซือ่ และถิน่ ทีอ่ ยู่ทางการค้า ที่รวมถึงแหลง่ กาเนิดสินค้าและการป้องกนั การแขง่ ขันทางการค้าทีไ่ ม่เปน็ ธรรม ทรพั ย์สิน ทางอตุ สาหกรรม จงึ สามารถแบ่งออกได้ดังน้ี ◈ · สิทธิบตั ร (Patent) · เครือ่ งหมายการค้า (Trademark) ◈ · แบบผงั ภูมขิ องวงจรรวม (Layout - Designs Of Integrated Circuit) ◈ · ความลับทางการคา้ (Trade Secrets) ◈ · สิ่งบ่งชที้ างภูมิศาสตร์ (Geographical Indication) 34

ลิขสิทธิ์ หมายถึง งานหรอื ความคิดสร้างสรรค์ในสาขาวรรณกรรม ศลิ ปกรรม ดนตรีกรรม งานภาพยนต์ หรอื งานอื่นใด ในแผนกวิทยาศาสตร์ลขิ สิทธิย์ งั รวมท้ัง · สิทธิขา้ งเคียง (Neighbouring Right) คือ การนาเอางานด้านลิขสทิ ธิอ์ อกแสดง เชน่ นกั แสดง ผบู้ นั ทึกเสียงและ สถานวี ิทยุโทรทศั น์ในการบันทึกหรือถ่ายทอดเสียงหรอื ภาพ · โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer Program หรอื Computer Software) คือ ชุดคาสั่งที่ใช้กบั เครื่องคอมพิวเตอร์ เพือ่ กาหนดให้เครอื่ งคอมพิวเตอร์ทางาน · งานฐานขอ้ มูล (Data Base) คือ ข้อมูลทีไ่ ด้รบั เกบ็ รวบรวมข้นึ เพือ่ ใช้ประโยชนด์ ้านตา่ งๆ การประดษิ ฐ์ คือ ความคิดสรา้ งสรรคเ์ กีย่ วกบั ลกั ษณะองค์ประกอบ โครงสรา้ งหรอื กลไกลของผลิตภณั ฑ์ รวมทั้ง กรรมวิธีในการผลิตการักษา หรอื ปรับปรุงคณุ ภาพของผลิตภณั ฑ์ การออกแบบผลติ ภณั ฑ์ คือ ความคิดสรา้ งสรรคเ์ กี่ยวกบั การทาให้รูปร่างลักษณะภายนอกของผลิตภณั ฑเ์ กิดความ สวยงาม และแตกต่างไปจากเดิม ผลิตภัณฑ์อรรถประโยชนห์ รอื ทเี่ รยี กอกี อยา่ งหนึ่งวา่ อนุสิทธบิ ตั ร (Petty Patent) จะมีลักษณะคล้ายกนั กบั การประดษิ ฐ์ แตเ่ ป็นความคดิ สร้างสรรคท์ ี่มรี ะดบั การพัฒนาเทคโนโลยีไม่สูงมาก หรอื เป็นการประดษิ ฐ์คิดค้นเพียงเลก็ น้อย แบบผงั ภูมขิ องวงจรรวม หมายถึง แผนผงั หรอื แบบที่ทาขึน้ เพือ่ แสดงถึงการจัดวางและการเชื่อมต่อวงจรไฟฟ้า เชน่ ตวั นา ไฟฟ้า หรือตวั ตา้ นทาน เปน็ ตน้ 35

ลิขสิทธิ์คืออะไร ◈ ลขิ สิทธ์ิ หมายถึง ผลงานท่เี กดิ จากความคิดรเิ ริ่มสร้างสรรค์ประเภทต่างๆ เชน่ งานวรรณกรรม นาฏกรรม ศลิ ปกรรม ดนตรีกรรม โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิง่ บนั ทกึ เสียง งานแพร่เสยี งแพร่ภาพ หรือ งานอน่ื ใดในแผนกวรรณคดี วิทยาศาสตร์ หรือศิลปะ เป็นต้น ซึง่ เจ้าของลิขสทิ ธจ์ิ ะมีสทิ ธแิ ต่เพียงผู้เดยี ว ทจ่ี ะกระทาการใดๆ เกย่ี วกบั งาน ลขิ สทิ ธิข์ องตนโดยกฎหมายลขิ สทิ ธิไ์ ด้ให้ความคุ้มครองถึงสทิ ธขิ อง นักแสดง และสร้างสรรคด์ า้ นเทคโนโลยี เชน่ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย ลขิ สิทธ์ิ เป็นผลงานทเ่ี กดิ จากใช้สติปัญญา ความรู้ความสามารถ และความวิรยิ ะอุตสาหะใน การสร้างสรรคง์ านให้เกดิ ขึน้ ซึ่งถือวา่ เปน็ “ทรพั ย์สนิ ทางปญั ญา” ประเภทหนง่ึ ที่มีคณุ คา่ ทางเศรษฐกิจ ดงั นน้ั เจา้ ของลิขสทิ ธจ์ิ ึงควรได้รับความคุ้มครองตามกฎหมาย เจา้ ของลิขสทิ ธส์ิ ามารถหาประโยชน์ จากงานลขิ สิทธข์ิ องตนได้ เชน่ ทาซา้ คอื การคดั เลือก ทาสาเนา ทาแม่พิมพ์ บันทกึ เสียง บนั ทกึ ภาพ ฯลฯ จากต้นฉบบั หรอื สาเนา ไม่วา่ ท้ังหมดหรือบางส่วน หรือเผยแพร่ต่อสาธารณชน เชน่ การแสดง การบรรยาย การจาหนา่ ย การทาให้ปรากฏดว้ ยเสยี งดว้ ยภาพ ฯลฯ จากงานท่ไี ด้จัดทาขนึ้ เปน็ ต้น 36

◈ งานสร้างสรรค์ที่มีลิขสิทธิ์ งานสร้างสรรค์ที่มีลขิ สิทธิ์ ประกอบด้วยประเภทงานตา่ งๆ ดังนี้ - งานวรรณกรรม เชน่ หนงั สอื จลุ สาร สิง่ เขียน สิ่งพิมพ์ คาปราศรัย รวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ดว้ ย - งานนาฏกรรม เช่น งานเกี่ยวกบั การรา การเตน้ การทาทา่ หรอื การแสดงท่ปี ระกอบขนึ้ เปน็ เรือ่ งราว รวมถึงการแสดงโดยวิธีใบ้ดว้ ย - งานศิลปกรรม เช่น งานจิตรกรรม งานประตมิ ากรรม ภาพพมิ พ์งานสถาปัตยกรรม ภาพถ่าย ภาพประกอบ หรืองานสร้างสรรค์ รูปทรงสามมติ เิ กีย่ วกับภูมปิ ระเทศหรือวทิ ยาศาสตร์ งานศลิ ปประยกุ ต์ ซึ่งรวมถึงภาพถ่ายและแผนผงั ของงานดังกลา่ วดว้ ย - งานดนตรีกรรม เชน่ คารอ้ ง ทานอง การเรียบเรียงเสียงประสานรวมถึงโนต้ เพลงทีไ่ ด้แยกและเรียบเรียงเสียงประสานแล้ว - งานโสตทัศนวสั ดุ เชน่ วีดีโอเทป แผ่นเลเซอร์ดิสที่บันทึกข้อมลู ซึง่ ประกอบด้วยลาดับของภาพหรือภาพและเสียงอันสามารถท่จี ะ นามาเลน่ ซา้ ไดอ้ กี เป็นต้น - งานภาพยนตร์ เชน่ ภาพยนตร์ รวมทั้งเสียงประกอบของภาพยนตร์น้ันด้วย (ถ้าม)ี - งานสง่ิ บันทึกเสียง เชน่ เทปเพลง แผ่นคอมแพ็คดิสก์ทีบ่ นั ทึกข้อมลู เสียงทั้งนี้ ไมร่ วมถึงเสียงประกอบภาพยนตร์ หรือเสียงประกอบ โสตทัศนวสั ดุอยา่ งอ่นื - งานแพร่เสยี งแพร่ภาพ เช่น การกระจายเสยี งทางวทิ ยุ หรือการแพร่เสยี งหรือภาพทางสถานโี ทรทัศน์ - งานอ่นื ใดอันเปน็ งานในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ 37

ประโยชน์ของลขิ สทิ ธิ์ ◈ 1 ประโยชน์ของเจ้าของลขิ สิทธิ์ เจ้าของลขิ สิทธิ์ย่อมได้รบั ความคุ้มครองตามกฎหมายลิขสิทธิ์ และมีสทิ ธิ์แต่เพียงผู้เดียวที่จะ กระทาการใดๆ เกี่ยวกบั งานที่ผสู้ ร้างสรรคไ์ ด้ทาขึน้ หรอื ผลงานตามข้อใดข้อหนึ่งตามทีไ่ ด้กล่าวไว้ขา้ งต้น ดังนนั้ เจ้าของลขิ สิทธิจ์ ะมีสทิ ธิใ์ นการทาซ้า ดดั แปลง เผยแพร่ต่อสาธารณชน และให้เชา่ ต้นฉบบั หรือสาเนางานอนั มี ลิขสิทธิ์ของตน รวมท้ังให้ประโยชนอ์ ันเกิดจากลิขสทิ ธิ์แก่ผอู้ ืน่ หรอื อนญุ าตใหผ้ อู้ ืน่ ใช้ลขิ สิทธิ์ของตนทั้งหมดหรอื บางสว่ นกไ็ ด้ โดยเจา้ ของลขิ สิทธิ์ย่อมได้รบั ค่าตอบแทนที่เป็นธรรม ◈ 2 ประโยชน์ของประชาชนหรอื ผบู้ ริโภค การคมุ้ ครองและพิทกั ษ์สทิ ธิในผลงานลขิ สิทธิ์ มผี ลให้เกิดแรงจูงใจแก่ผู้สร้างสรรค์ผลงานที่จะ สร้างสรรคผ์ ลงานทีม่ ีประโยชนแ์ ละมีคุณค่าออกสู่ตลาดส่งผลใหผ้ บู้ ริโภคได้รับความรู้ ความบันเทิง และได้ใช้ ผลงานทีม่ ีคณุ ภาพ 38

กิจกรรมประกอบการสอน 39

ใบงานที่ 1กฎหมายทวั่ ไปเกี่ยวกับงานอาชีพ ค าสง่ั ; ให้นกั ศึกษายกตัวอย่างสถานการณ์/ข่าว ทีน่ กั ศึกษา พบเห็น เกี่ยวกับการละเมิดกฎหมาย ที่เกดิ ข้ึน ประเด็นข่าว? - ใคร/ทีใ่ หน/อย่างไร/เมื่อไหร?่ - ข้อคิดเหน็ สว่ นตวั 40

ใบงานที่ 2 กฎหมายท่ัวไปเกีย่ วกบั งานอาชีพ คาสง่ั ใหน้ ักศึกษาสรปุ /อธิบายสาระสาคัญของ พระราชบัญญตั ิว่าดว้ ย การกระทาความผดิ เกี่ยวกบั คอมพวิ เตอร์(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 41

วิทยาลัยสารพดั ชา่ งนราธิวาส นายอาลฟี ยโู ซะ รหสั นักศึกษา 63302040016 สาขาคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีดจิ ิตอล ศนู ย์ฝึกอบรมวิชาชพี อาเภอสคุ ิริน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook