Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อารยธรรมแม่น้ำไนล์2

อารยธรรมแม่น้ำไนล์2

Published by Kunyapark Treechanakit, 2021-08-27 05:57:09

Description: อารยธรรมแม่น้ำไนล์2

Search

Read the Text Version

สื อ ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น เ รื อ ง ย ธ ร ร ม ลุ่ ม แ ม่ นา อาร ไ น ล์

อารยธรรมล่มุ นาํ ไนส์ 1. ท่ตี งั้ ทางภูมศิ าสตร อารยธรรมลมุ แมน ้ําไนลหรืออารยธรรมอยี ิปตโบราณกอ กาํ เนิดบรเิ วณดินแดนสองฝั่ง แมน ้ําไนล ตงั้ แตปากแมน้ําไนลจนไปถึงตอนเหนือของประเทศซดู านในปัจจุบัน ทิศเหนือ ติดกับ ทะเลเมดิเตอรเรเนียนและคาบสมุทรไซนายอยี ิป ทิศตะวนั ตก ติดกับ ทะเลทรายลิเบยี และทะเลทรายซาฮารา ทิศตะวันออกและทศิ ใต ตดิ กบั ทะเลทรายนูเบียและทะเลแดง จากสภาพภูมิอากาศดังกลาวจะเหน็ วา บรเิ วณลุมแมน ้ําไนลเ ปรียบเสมือนโอเอซิสทามกลางทะเล ทราย จึงเป็นปราการธรรมชาตปิ  องกนั การรุกรานจากภายนอกได สภาพภมู ิประเทศของลมุ แมน ้ําไนลก อ นทจี่ ะรวมเป็นปึกแผน ไดแ บง ออกเป็นบรเิ วณลมุ น้ําออกเป็น 2 สว น ไดแก สวนที่เป็นบริเวณอยี ปิ ตลาง (Lower Egypt) อยูบ รเิ วณทีร่ าบลุม ปาก แมน ้ําไนล ซ่งึ เป็นบรเิ วณที่แมน ้ําไนลแยกเป็นแมน้ําสาขาท่มี ีลักษณะเป็นรปู พัด แลว ไหลลงทะเล เมดเิ ตอรเ รเนียน ชาวกรกี โบราณเรียก บริเวณนี้วา เดลตา และบรเิ วณอยี ิปตบ น (Upper Egypt) ไดแก บริเวณท่แี มน ้ําไนลไหลผาน หบุ เขา เป็นทีร่ าบแคบๆ ขนาบดวยหน าผาที่ลาดกวางใหญ ถัดจากหน าผา คือ ทะเลทราย ตอ มาเมเนส (Menes) ประมุขแหงอียิปตล า งจงึ ไดรวมดินแดนทงั้ สองเขา ดว ยกนั 2. ปั จจยั ท่ีสง ผลตอการเกิดอารยธรรมลมุ นํ้าไนล 2.1 ทต่ี งั้ 2.1.1 เน่ืองจากหิมะละลายในเขตทร่ี าบสูงเอธโิ อเปีย ทาํ ใหบ รเิ วณแมน ้ําไนลมี ดนิ ตะกอนมาทับถมจงึ เป็นพ้ืนทม่ี คี วามอุดมสมบูรณ 2.1.2 มคี วามไดเปรยี บทางธรรมชาติ เน่ืองจากประเทศอยี ิปตเป็นดินแดนท่ี ลอมรอบดว ยทะเลทรายทําใหม ีปราการธรรมชาตใิ นการป องกันศตั รภู ายนอก 2.2 ทรัพยากรธรรมชาติ แมอ ยี ปิ ตจะแหง แลง แตสองฝั่งแมน ้ําไนลกป็ ระกอบดวยหินแกรนิตและ หนิ ทราย ซ่งึ ใชก อสรางและพฒั นาความเจรญิ รุงเรืองดานสถาปัตยกรรม วัสดุเหลานี้มีความแข็ง แรงคงทนแขง็ แรงและชว ยรกั ษามรดกทางดา นอารยธรรมของอยี ิปตใ หป รากฏแกชาวโลกมาจน กระทัง่ ปัจจุบัน 2.3 ระบบการปกครอง ชาวอยี ิปตยอมรับอํานาจและเคารพนับถอื กษตั รยิ ฟาโรหดจุ เทพเจาองคหน่ึง จึง มอี าํ นาจในการปกครองและบริหารอยา งเตม็ ทีท่ ัง้ ดานการเมืองและศาสนา โดยมีขุนนางเป็นผู ชวยในการปกครอง และพระเป็นผูชว ยดานศาสนา ซ่ึงการที่พาโรหมอี าํ นาจเด็ดขาดทาํ ใหอ ียปิ ต สามารถพัฒนาอารยธรรมของตนไดอ ยา งเตม็ ท่ี 2.4 ภมู ปิ ัญญาของชาวอียปิ ต ชาวอยี ปิ ตสามารถคิดคน เทคโนโลยีและวทิ ยาการความเจรญิ ดานตา งๆเพ่ือตอบ สนองการดาํ เนินชีวติ ความเช่อื ทางศาสนาและการสรางความเจริญรุงเรอื งใหแ กอ ยี ปิ ต เชน ความรูท างคณิตศาสตร เรขาคณิต และฟิสิกส ไดส ง เสริมความเจรญิ ในดา นการกอ สรางและ สถาปัตยกรรม เป็นตน



3. สมัยอาณาจักรอยี ิปต 3.1 สมยั อาณาจักรเกา มคี วามเจรญิ ในชว งประมาณปี 2,700 – 2,200 กอ นครสิ ต ศกั ราช เป็นสมยั ท่ีอยี ปิ ตม คี วามเจรญิ กาวหน าในดานวทิ ยาศาสตรแ ละศิลปกรรม มกี ารกอสรา ง พรี ะมดิ ซ่ึงถือวา เป็นเอกลกั ษณโดดเดนของอารยธรรมอียิปต 3.2 สมัยอาณาจกั รกลาง ฟาโรหมีอาํ นาจปกครองอยูใ นชว งราวปี 2050 – 1652 กอ น คริสตศักราช ในสมัยนี้อยี ปิ ตมคี วามเจรญิ กา วหน าทางดา นทางวทิ ยาการและภมู ิปัญญามากโดย เฉพาะดา นการชลประทาน จงึ ไดร บั การยกยอ งวาเป็นยคุ ทองของอียปิ ต อยา งไรก็ตาม ในชว ง ปลายสมัยเกดิ ความวุนวายภายในประเทศ จนตางชาตเิ ขามารุกรานและปกครองอยี ปิ ต 3.3 สมัยอาณาจักรใหม ชาวอียิปตสามารถขับไลช าวตางชาติ และกลบั มาปกครองดนิ แดนของตนอีกครัง้ หน่ึง ในชวงประมาณปี 1567 – 1085 กอนครสิ ตศ ักราช สมยั นี้ฟาโรหมี อํานาจเด็ดขาดในการปกครองและขยายอาณาเขตเหนือดินแดนใกลเ คยี งจนเป็นจักรวรรดิ 3.4 สมัยเส่ือมอาํ นาจ จกั รวรรดิอียปิ ตเริ่มเส่ือมอํานาจตงั้ แตป ระมาณปี 1,100 กอน ครสิ ตศ ักราช ในสมยั นี้ชาวตา งชาติ เชน พวกอสั ซเี รียนและพวกเปอรเซยี จากเอเชีย รวมทงั้ ชนชาติในแอฟริกาไดเ ขามายึดครอง จนกระทัง่ เส่อื มสลายในท่ีสดุ 4. ดานการเมืองการปกครอง 4.1 สมยั อาณาจกั รเกา กษตั ริยห รอื ฟาโรห (Pharaoh) มอี าํ นาจสงู สดุ โดยมผี ูชวยใน การปกครองคอื ขุนนาง หัวหน าขนุ นางเรยี กวา “วิเซียร” และมีหนวยงานยอย ๆ ในการบรหิ าร ประเทศ แตล ะเมอื งแตล ะหมบู า นมีผปู กครองระดับตา ง ๆ ดแู ลเป็นลําดบั ขนั้ แตล ะชมุ ชนถกู เกณฑแ รงงานมาทาํ งานใหแ กท างการซ่งึ สวนใหญค ือ การสรา งพีระมิดแตละอาณาจกั รมีอํานาจ ปกครองเหนือมณฑลตา ง ๆหรือเรยี กวา โนเมส ซ่ึงแตล ะโนเมสมีสญั ลักษณแตกตางกัน ตอ มามี การรวมกนั เป็นอาณาจกั รใหญ 2 แหง คืออยี ิปตบนและอยี ปิ ตลา ง ตอ มาทัง้ 2 อาณาจักรไดถกู รวมเขา ดว ยกนั เกิดราชวงศอียปิ ตโดยประมขุ แหง อียปิ ต (เมเนสหรือนารเ มอร) ความเส่ือมของ อารยธรรมสมัยกอ นประวัติศาสตร การสรางพีระมดิ ขนาดใหญ เป็นการบนั่ ทอนเศรษฐกจิ และ แรงงานของอียิปต ซ่งึ นําความเส่ือมมาสรู าชวงศอียปิ ต 4.2 สมยั อาณาจกั รกลาง ฟาโรหเปลย่ี นภาพลักษณจากผูป กครองท่อี ยหู า งไกลประชาชน มาเป็นผปู กป องประชาชน ลดการสรา งพีระมดิ แตประชาชนตอ งตอบแทนดว ยการทาํ งาน สาธารณะตาง ๆ เชน การระบายน้ําในบริเวณสามเหลี่ยมปากแมน ้ําเพ่ือชว ยการเกษตร การขุด คลองเช่ือมแมน ้ําไนลกบั ทะเลแดงเพ่ือการสะดวกในการคา และขนสง 4.3 สมัยอาณาจกั รใหมฟ าโรหอ เมนโฮเตปท่ี 4 ทรงเปล่ียนแปลงความเช่อื ในเร่ืองการ นับถอื เทพเจาหลายองคม าเป็นการนับถือเทพเจาองคเดยี ว คือ เทพเจา แหง ดวงอาทติ ย ทาํ ให เกดิ ความไมพอใจในหมขู นุ นางและประชาชน รชั กาลนี้จึงตกต่าํ แตเม่อื ฟาโรหต ตุ นั คาเมนข้นึ ครองราชยจ ึงเปล่ียนกลับไปนับถอื เทพเจาหลายองคเ ชนเดมิ ตงั้ แตศ ตวรรษที่ 11 กอ นครสิ ต ศกั ราช อยี ิปตส ูญเสยี ความเขม แขง็ ชนเผาตาง ๆ สลับกนั มีอํานาจปกครองอียิปต เชน อัสซีเรยี ลิเบีย เปอรเ ซยี สุดทา ยอียปิ ตก ลายเป็นสว นหน่ึงของอาณาจักรโรมนั

5. ด้านเศรษฐกจิ อาชีพหลกั ของชาวอยี ิปต์ คอื เกษตรกรรม เพราะวา่ ดินอดุ มสมบูรณ์ ทําให้ผลิตอาหารเกนิ ความตอ้ งการ การผลิตทางการเกษตรทีเปนหลกั ของอยี ิปต์ คอื ข้าวสาลี บารเ์ ลย์ ขา้ วฟาง ถวั ฝกยาว ถัว ผกั และผลไม้ และตอ่ มาชวี ติ ทมี ังคัง และฟุมเฟอยของบางคนนําไปสู่การพัฒนางานหตั ถกรรมและอุตสาหกรรม บาง ส่วนทอผา้ บางส่วนผลิตเครืองตกแตง่ หม้อ ลินิน และอญั มณี เหลก็ และทองแดง มกี ารถลุง นาํ มาใช้ในการทําเครืองมอื แกว้ และเครอื งปนดนิ เผา มกี ารผลติ ทังแบบ เรยี บ ๆ และวาด ทังยังมีวศิ วกร จติ รกร ประตมิ ากร และสถาปนิกอีกด้วย 6. ดา้ นสงั คม เปนสังคมแบบลาํ ดบั ชัน ผู้ปกครองสูงสุด คอื ฟาโรห์ และชนชนั ปกครองอืน ๆ คือ ขนุ นางและนักบวช ชนชนั รองลงมาคอื พ่อคา้ และชา่ งฝมือ ชนชนั ล่าง คือ ชาวนา และ ทาส ซงึ เปนคนส่วนใหญ่ ทีดินทงั หมดเปนของฟาโรห์ สําหรบั ขุนนางและนักบวชกไ็ ด้ครอบ ครองทดี ินจาํ นวนมาก ชาวนาอาศยั อย่ใู นหมบู่ ้านหรือเมอื งเล็กๆ และเสียภาษเี ปนผลผลิตให้ ฟาโรห์ ขนุ นาง และพระ รวมทังต้องถูกเกณฑแ์ รงงานไปทํางานให้รฐั และเปนทหารสตรมี ี บทบาทสูงไมน่ อ้ ยกว่าผูช้ าย คอื ใหส้ ถานภาพแกส่ ตรสี ูง ยอมใหส้ ตรีขนึ ครองราชบลั ลงั ก์ ได้ มีสิทธิในการมที รพั ย์สินและมรดก ราชนิ ีทีมีชอื เสียงของอยี ปิ ต์ คือ แฮตเชพซตุ (Hatchepsut) ซึงปกครองในศตวรรษที 15 ก่อนครสิ ต์ศักราช และทาํ ความงดงามให้กับ เมอื งคาร์นัก ชาวอยี ิปตไ์ ม่ยอมให้ชายแตง่ งานกบั สตรเี ปนภรรยามากกว่า 1 คน แมว้ ่าการมเี มยี นอ้ ยเปนเรอื ง ปกตแิ ละยอมรับทัวไป ลักษณะทแี ปลกของระเบยี บสังคมนี คอื ชอบให้พี ชาย-นอ้ งสาวแต่งงานกัน หรือแตง่ งานภายในตระกูล ฟาโรห์แต่งงานกับตระกลู ของตน เพือรกั ษาความบรสิ ุทธิของสายเลือด ประเพณนี ไี ดม้ ีผู้อนื นาํ ไปใชต้ ่อมา

7. ดา นศาสนา ชาวอียปิ ตนับถอื เทพเจา หลายองคทีเ่ ก่ียวของกับอาํ นาจธรรมชาติโดยเทพเจาทีไ่ ดร ับ การเคารพสูงสุด คอื เร หรอื รา (Re or Ra) เทพเจา แหง ดวงอาทติ ย และเป็นหวั หน าแหง เทพเจาทงั้ ปวง ซ่ึงปรากฏในหลายช่อื และหลายรปู ลักษณ เชน ผูมรี า งกายเป็นมนษุ ย มหี ัว เป็นเหยย่ี ว และในรูปของมนุษยค อื ฟาโรห ผูไดรบั การยกยองวาเป็นบุตรของเร และมี เทพเจา สาํ คญั องคอ ่ืน ๆ อีก เชน เทพเจาแหงแมน้ําไนลหรอื โอซริ สิ และยงั เป็นผพู ทิ กั ษด วง วญิ ญาณหลังความตาย เทพเจาแหงพ้ืนดนิ หรอื ไอซิส เป็นผูส รา งและชุบชีวติ คนตาย เป็นตน การยกยองกษตั รยิ ใหเ ทียบเทา เทพเจา ทาํ ใหสถาบันกษตั รยิ ม ีความศักดิส์ ิทธปิ์ ระดจุ เป็น เทพเจา ความเช่ือนี้มผี ลตอ การสรา งอารยธรรมดงั เชน การสรางพรี ะมิด 8. ดา นภาษาและวรรณกรรม ชาวอยี ปิ ตไ ดพ ัฒนาระบบการเขยี นท่เี รียกวา เฮยี โรกริฟิค (Hieroglyphic) เป็นคาํ ภาษากรีก มี ความหมายวา การจารกึ อนั ศกั ดิส์ ิทธิ์ เรม่ิ ตนดว ยการเขียนอกั ษรภาพแสดง สัญลกั ษณตา งๆ แลว คอ ย ๆ พัฒนาข้นึ มาเป็นรปู แบบพยญั ชนะ ในระยะแรก ชาวอียปิ ตจารึก เร่อื งราวดวยการแกะสลกั อกั ษรไวต ามกาํ แพงและผนังของสิง่ กอสรา ง เชน วิหารและพีระมดิ ตอ มาจึงคนพบวธิ ีการทาํ กระดาษจากตน ปาปิรุส ทําใหม กี ารบันทกึ แพรหลายมากข้นึ 9. ดานศลิ ปวทิ ยาการ 9.1 ดานดาราศาสตร ความรทู างดานดาราศาสตรเ กดิ จากการสังเกตปรากฏการณจากการเกดิ น้ํา ทว มของแมน้ําไนล ซ่งึ ไดนําความรนู ี้มาคาํ นวณเป็นปฏิทนิ แบบสรุ ิยคติท่ีแบง วันออกเป็น 365 วนั ใน 1 ปี ซ่งึ มี 12 เดอื น และในรอบ 1 ปี ยังแบง ออกเป็น 3 ฤดูกาล ที่กาํ หนดตามวถิ ี การประกอบอาชพี คอื ฤดนู ้ําทว ม ฤดูไถหวาน และฤดเู กบ็ เกยี่ ว 9.2 ดา นคณิตศาสตร ความรูท างคณิตศาสตรและเรขาคณิตท่อี ียิปตใ หแ กช าวโลก เชน การบวก ลบ และหาร และการคํานวณพ้นื ที่วงกลม ส่เี หลยี่ ม และสามเหล่ียม ความรดู งั กลาวเป็นฐาน ของวชิ าฟิสิกสทใ่ี ชคํานวณในการกอสรา งพรี ะมิด วหิ าร และเสาหินขนาดใหญ 9.3 ดานการแพทย ชาวอยี ิปตโบราณมคี วามรทู างการแพทยส าขาทนั ตกรรม แพทยผูเช่ยี วชาญ หลายสาขา เชน กระเพาะอาหาร และศัลยกรรม ซ่ึงมหี ลักฐานการบันทกึ และตอ มาถูกนําไป ใชแ พรหลายในทวีปยโุ รป ตลอดจนวธิ ีเสรมิ ความงามตาง ๆ เชน การรักษาริว้ รอยเห่ียวยน การใชผมมนุษยท าํ วิกผม เป็นตน 9.4 ดา นสถาปัตยกรรม เอกลกั ษณของสถาปัตยกรรมอียิปต คือ พีระมิดท่บี รรจุศพของฟาโรห ซ่งึ สรางข้ึนดวยจดุ ประสงคท างศาสนาและอาํ นาจทางการปกครอง นอกจากพีระมดิ แลว ยังมี การสรางวหิ ารจาํ นวนมาก เพ่อื บชู าเทพเจา ในแตละองค และเป็นสสุ านของกษตั ริย เชน วิหารแหง เมอื งคารน ัก เป็นตน 9.5 ดา นประติมากรรม ชาวอยี ปิ ตส รางประตมิ ากรรมไวจ าํ นวนมากทัง้ ทเ่ี ป็นรปู ปั้นและภาพสลักที่ ปรากฏในพีระมดิ และวิหาร ภาพสลกั สว นใหญจ ะประดบั อยูใ นพีระมิดและวหิ าร ในพีระมิด มกั พบรปู ปั้นของฟาโรหและพระมเหสี รวมทัง้ เร่อื งราววิถีชีวติ ของอยี ปิ ต สว นภายในวิหาร มักจะเป็นรปู ปั้นสัญลกั ษณของเทพและสตั วศ กั ดิส์ ิทธิ์ เชน สนุ ัข แมว เหย่ียว เป็นตน และ ภาพสลกั ท่ีแสดงเร่อื งราวและเหตกุ ารณ 9.6 ดานจติ รกรรม ผลงานดานจิตรกรรมมีเป็นจาํ นวนมาก มักพบในพีระมิดและสสุ านตางๆ ภาพวาดของชาวอียปิ ตส ว นใหญมสี ีสันสดใส มีทงั้ ภาพสัญลกั ษณของเทพเจา ท่ีชาวอียปิ ต นับถือ พระราชกรณียกจิ ของฟาโรหและสมาชิกในราชวงศ ภาพบุคคลทวั่ ไปและภาพท่ี สะทอ นวิถชี วี ติ ของชาวอียิปต เชน ภาพการประกอบอาชพี เป็นตน



จดั ทําโดย นส. ลภัสรดา เพชร์กลา้ ชัน ม.6/4 เลขที 8 อ้างอิง https://sites.google.com/site/historyi nter123/xarythrrm-tawan-tk-smay- boran/xarythrrm-lum-na-nis


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook