Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กฎหมายแพ่ง (2)

กฎหมายแพ่ง (2)

Published by Kunyapark Treechanakit, 2021-07-15 14:25:43

Description: กฎหมายแพ่ง (2)

Search

Read the Text Version

กฎหมายแพง่ นติ กิ รรมและสญั ญา จัดทาํ โดย น.ส.เกศิณี น่ิมอนงค ม.6/4 เลขที่ 7 น.ส.กญั ญาภัค ตรชี นะกจิ ม.6/4 เลขท่ี 17

นิตบิ ุคคล คือ บุคคลทีก่ ฎหมายสมมติข้นึ ใหม ีสภาพเป็นบุคคล เชนเดยี วกบั บุคคลธรรมดา เพ่อื ใหนิตบิ ุคคลสามารถใชส ิทธิหน าท่ี ภายในขอบเขตวตั ถปุ ระสงคข องนิติบุคคลได จงึ ตอ งแสดงออกถึง สทิ ธิและ หน าที่ผาน ผแู ทนนิตบิ ุคคล ประเภทของนิตบิ ุคล แบงเป็น 2 ประเภท 1. นิตบิ ุคคลตามกฎหมายเอกชน 2. นิตบิ ุคคลตามกฎหมายมหาชน 1. นิตบิ คุ คลตามกฎหมายเอกชน ตามประมวลกฎหมายแพง และ พาณิชย มี 5 ประเภท ไดแ ก 1. บริษทั จาํ กัด (ผูกอการอยาง น อย 3 คน) 2. หา งหุนสวนจาํ กดั (ผกู อ การ อยา ง 3 คน) 3. หางหุน สวนสามัญจดทะเบียน 4. สมาคม 5. มูลนิธ 2. นิติบคุ คลตามกฎหมายมหาชน วดั จังหวัด กระทรวง/ทบวง กรม จังหวัด องคการบรหิ าร สว นทอ งถิ่น (อบต./อบจ./กทม/เทศบาล/พัทยา) องคการ ของรัฐบาล องคการมหาชน

โมฆกรรม กับโมฆยี กรรม 1. โมฆกรรม โมฆกรรม หมายความวา การทาํ นิตกิ รรมใด ๆ ท่ีมี ผลของนิตกิ รรมท่ีได ทําข้ึ นนัน้ เสียเปลา ไมมผี ลผกู พนั ที่จะใช บงั คบั ไดต ามกฎหมาย สาเหตุของนิตกิ รรมโมฆะ 4 ประการ คือ 1 นิตกิ รรมนัน้ มวี ตั ถปุ ระสงคไ มชอบดวยกฎหมาย 2 นิติกรรมนัน้ มวี ตั ถปุ ระสงคเป็ นการพน วิสัย 3 นิตกิ รรมนัน้ ทําผดิ แบบทกี่ ฎหมายกาํ หนดไว 4 มีกฎหมายบญั ญัตวิ าการกระทํานัน้ ๆ เป็ นโมฆะ 2. โมฆยี กรรม โมฆยี กรรม หมายความวา นิติกรรมซ่งึ อาจถกู บอก ลา งหรอื ให สตั ยาบนั ถา มไิ ดบ อกลา งภายในระยะเวลาท่ีกฎหมายกํา หนดกเ็ ป็น อันหมดสิทธทิ จี่ ะบอกลาง สาเหตุของโมฆียกรรมอาจสรปุ ไดว ามาจากกรณีตอไปนี้ 1ผูทํานิติกรรมฝายใดฝายหน่ึงเป็ นผถู กู จาํ กดั ความสามารถ เน่ืองจาก เป็นผเู ยาว 2 เจตนาในการทาํ นิตกิ รรมนัน้ บกพรองเน่ืองจากสําคัญผดิ ใน คุณสมบตั ขิ องบุคคลหรือทรัพยสิน 3 มีกฎหมายบัญญตั ิวา การนัน้ เป็ นโมฆียะ

นิตกิ รรมสญั ญา นิติกรรม คอื การกระทําของบคุ คลโดยชอบดวย กฎหมายและมงุ ตอ ผลใน กฎหมาย ทจ่ี ะเกดิ ข้นึ เพ่อื การกอสทิ ธิ เปล่ยี นแปลงสทิ ธิ โอนสิทธิ สงวน สทิ ธิ สงวนสทิ ธิ และระงับซ่ึงสิทธิ เชน สัญญาซ้ื อขาย สัญญากเู งิน สัญญา จางแรงงาน สัญญาใหและพนิ ัยกรรม ประเภทของนิตกิ รรม จําแนกได 2 ประเภท คือ นิตกิ รรมฝายเดียว ไดแ ก นิติกรรมซ่งึ เกดิ ข้นึ โดยการ แสดงเจตนา ของบุคคลฝายหน่ึงฝายเดยี วและมผี ลตาม กฎหมาย ซ่ึงบางกรณีก็ทาํ ใหผ ู ทาํ นิติกรรมเสียสิทธไิ ด เชน การกอตัง้ มูลนิธิ คาํ มัน่ โฆษณาจะใหรางวลั การรับ สภาพหนี้ การผอ นเวลาชาํ ระหนี้ ใหล กู หนี้ คาํ มนั่ จะซ้อื หรือจะขาย การทําพินัยกรรม การบอกกลา วบังคบั จาํ นอง การทาํ คาํ เสนอ การบอกเลิก สญั ญา นิตกิ รรมสองฝาย (นิตกิ รรมหลายฝาย) ไดแก นิตกิ รรม ซ่ึงเกดิ ข้ึน โดยการแสดงเจตนาของบคุ คลตัง้ แตสองฝายข้ึนไป และทุกฝายตา งตอ ง ตกลงยินยอมระหวา งกนั กลา วคอื ฝายหน่ึงแสดงเจตนาทําเป็นคําเสนอ แลว อกี ฝายหน่ึงแสดง เจตนาเป็ นคาํ สนอง เม่อื คําเสนอและคาํ สนองถกู ตอง ตรงกนั จึงเกดิ มีนิตกิ รรมสองฝายข้ึ น หรอื เรียกกนั วา สัญญา เชน สญั ญาซ้ือขาย สัญญากยู มื สญั ญา แลกเปลย่ี น สัญญาขายฝาก จํานอง จาํ นํา

ความสามารถของบคุ คลในการทาํ นิตกิ รรมสญั ญา นิโดยหลกั ทวั่ ไป บุคคลยอมมคี วามสามารถในการทํานิตกิ รรม สัญญา แตม ขี อยกเวน คอื บุคคล บางประเภทกฎหมายถอื วา หยอน ความสามารถในการทํานิตกิ รรมสัญญา เชน ผเู ยาว คนไรความ สามารถ คนเสมอื นไรค วามสามารถ และบคุ คลลม ละลาย สําหรับผู เยาวจะทาํ นิติกรรมไดตอ งรับ ความยนิ ยอมจาก ผแู ทนโดยชอบ ธรรม ผูม สี ิทธใิ นการทํานิติกรรมสญั ญา ปกติแลว บุคคลทกุ คนตางมสี ทิ ธใิ นการทาํ นิติกรรมสัญญา แตย งั มี บคุ คลบางประเภทท่เี ป็นผหู ยอ นความสามารถ กฎหมายจงึ ตอ งเขา ดูแลคมุ ครองบุคคลเหลานี้ ไมใ หไ ดรบั ความเสยี หายในการกําหนด เง่ือนไขในการเขาทาํ นิตกิ รรม ของผูนัน้ ผูหยอนความสามารถในการทาํ นิตกิ รรมสญั ญา : 1) ผเู ยาว (Minor) 2) บคุ คลวกิ ลจริต (Unsound Mind) 3) คนไรความสามารถ (Incompetent) 4) คนเสมือนไรค วามสามารถ (Quasi-Incompetent) 5) ลกู หนี้ทถ่ี ูกฟ องเป็นบุคคลลมละลาย 6) สามแี ละภริยาเป็นผูจัดการสนิ สมรสรวมกนั

สญั ญา สญั ญา คอื นิตกิ รรมชนิดหน่ึง แตเ ป็ นนิติ กรรมที่มีบุคคล 2 ฝาย หรอื มากกวา นัน้ มาตกลงกัน โดยแสดงเจตนา เสนอ และสนองตรงกนั กอใหเ กิดสัญญาข้นึ สัญญายอ มกอให เกิดหนี้ เกดิ ความผกู พัน ระหวางเจา หนี้ กบั ลกู หนี้ โดยเจา หนี้ มีสทิ ธิ เรียกรองใหลกู หนี้ ชาํ ระหนี้ ไดตามกฎหมาย สญั ญาซือขาย สญั ญาซ้ือขาย คอื สญั ญาทผี่ ูขายโอนกรรมสทิ ธิ์ ใน ทรัพย สนิ ใหแ กผซู ้อื และผซู ้อื ตกลงวา จะใชร าคา ทรพั ยส ินนัน้ ให แกผขู าย การโอนกรรมสทิ ธิห์ มายถึง การโอนความเป็น เจา ของใน ทรัพยสิน ท่ีซ้อื ขายนัน้ ไปใหแ กผ ูซ ้ือ ผูซ ้อื เม่อื ไดเ ป็น เจา ของกส็ ามารถทีจ่ ะใช ไดร บั ประโยชน หรอื จะ ขายตอ ไปอยางไรกไ็ ด ราคาทรพั ยสนิ จะชาํ ระเม่ือไรนัน้ เป็นเร่อื งที่ผซู ้ือผูขาย จะ ตองตกลงกนั ถา ตกลงกนั ใหชาํ ระราคาทันทีก็เป็น การซ้อื ขายเงนิ สด ถา ตกลงกันชาํ ระราคาในภายหลงั ในเวลาใด เวลาหน่ึงเพียงครัง้ เดียวตามท่ตี กลงกันก็เป็น การซ้อื ขายเงิน เช่ือ แตถา ตกลงผอ นชําระใหกันเป็น ครัง้ คราวกเ็ ป็นการซ้อื ขายเงินผอ น

สญั ญาขายฝาก สัญญาขายฝาก เป็นสัญญาซ้ือขายซ่งึ สิทธแิ หงความ เป็นเจาของใน ทรพั ยส ินตกไปยังผูซ้อื โดยผซู ้อื ตกลง ในขณะทาํ สญั ญาวา ผขู ายมี สิทธิไถทรัพยส นิ นัน้ คนื ได ภายในกาํ หนดเวลาเทาใด แตต อ งไมเกิน เวลาท่ี กฎหมายกําหนดไว เชน ขายท่ีดินโดยมีขอตกลงวา ถา ผูขาย ตอ งการซ้ือคืน ผูซ้ือจะยอมขายคืนเชนนี้ ถอื วา เป็น ขอตกลงใหไถ คืนได เชา่ ทรัพย์ การเชาทรพั ย คือสัญญาท่มี บี คุ คลอยสู องฝาย ฝาย แรกคือผูใหเชา ฝายท่ีสองคือผูเ ชา ทัง้ สองฝายตางกม็ ี หนี้ ท่จี ะตองชําระใหแกกัน และกัน โดยฝายผูใหเ ชา มีหนี้ ท่จี ะตอ งใหผ ูเชาไดใ ชหรอื ไดรับ ประโยชนในทรัพยท ีเ่ ชา สวนฝายผูเชา ก็มีหนี้ ที่จะตองชาํ ระคาเชา เป็นการตอบ แทน เชา่ ซือ สญั ญาเชาซ้อื คือ สญั ญาทเี่ จา ของทรัพยส ินเอา ทรัพยสนิ ของตนออก ใหผ อู ่ืนเชา เพ่อื ใชส อยหรอื เพ่อื ให ไดรับประโยชน และใหค ํามนั่ วาจะ ขายทรัพยน ัน้ หรอื จะ ใหทรัพยส นิ ทเ่ี ชาตกเป็นสทิ ธแิ กผูเชาซ้อื เม่อื ไดใชเงนิ จนครบตามท่ตี กลงไวโ ดยการชาํ ระเป็นงวดๆ จนครบ ตาม ขอ ตกลง

กู้ยืมเงิน การกยู ืมเงินเป็ นสญั ญาอยางหน่ึง ซ่ึงเกิดจาก บคุ คลใดบคุ คลหน่ึง ซ่ึงเรียกวา \"ผกู \"ู มีความ ตอ งการจะใชเ งนิ แตตนเองมีเงนิ ไมพอ หรอื ไม มี เงนิ ไปขอกยู มื จากบคุ คลอีกคนหน่ึง เรยี กวา \"ผูใหก ู\" และผกู ูต กลงจะใชคนื ภายใน กาํ หนดเวลาใดเวลาหน่ึง การกยู มื จะ มผี ล สมบูรณกต็ อ เม่ือ มีการสง มอบเงินท่ยี มื ใหแกผู ท่ใี หยืม ใน การกยู ืมนี้ ผใู หก จู ะคิดดอกเบยี้ หรอื ไมก ็ได บงั คับคนจน กฎหมายจงึ ไดกาํ หนดอัตราดอกเบี้ ยขัน้ สูงสุดท่ี ผใู ห กสู ามารถเรียกได วาตอง ไมเกนิ รอยละ 15 ตอ ปี คอื รอ ยละ 1.25 ตอ เดือน (เวนแตเป็ นการกยู ืม เงินจากบริษทั เงินทุนหรอื ธนาคาร ซ่ึง สามารถเรยี กดอกเบี้ ยเกนิ อตั รา ดังกลาว ไดต าม พ.ร.บ. ดอกเบี้ ย เงนิ ใหก ูย ืมของสถาบนั การเงนิ ) ถา เรียกดอกเบยี้ เกนิ อตั ราดังกลา วถอื วาขอ ตกลงเร่อื ง ดอกเบีย้ นัน้ เป็นอนั เสยี ไปทัง้ หมด (เป็นโมฆะ) คอื ไมตองมี การใชดอกเบยี้ กันเลยและผใู หกอู าจมคี วามผดิ ทางอาญาฐาน เรยี ก ดอกเบี ้ ยเกนิ อัตราดว ย คอื อาจตอ งระวางโทษจาํ คุกไม เกนิ 1 ปี หรอื ปรับ ไม เกิน 1,000 บาท หรือทังจาํ ทัง้ ปรับ ตาม พ.ร.บ. หา มเรียกดอกเบยี้ เกินอตั รา พ.ศ. 2475

คาประกัน ค้ําประกัน หมายถึง สญั ญาท่บี ุคคลหน่ึง เรียกวา \"ผูค ้ํา ประกัน\" สัญญาวา จะชําระหนี้ ใหแกเจาหนี้ ถา หากลูกหนี้ ไม ยอมชําระหนี้ สญั ญาค้ําประกนั ตองทําตามหลักเกณฑด งั กลาวตอไปนี้ คือ ตองทําหลกั ฐานเป็นหนังสืออยางใดอยา งหน่ึง และ ตอ งลง ลายมอื ช่ือของผคู ้ําประกัน ชนิดของสญั ญาค้ําประกัน ไดแ ก สญั ญาค้ําประกนั อยา งไม จํา กดั จาํ นวน และสญั ญาค้าํ ประกนั จํากัดความรับผดิ จํานํา จํานํา คอื สัญญาซ่งึ บคุ คลคนหน่ึงเรยี กวา ผจู ํานํา สง มอบ สังหารมิ ทรัพยใ หแ กบ คุ คลอีกคนหน่ึงเป็นผู ครอบครอง เรยี กวา ผูร ับจาํ นํา เพ่ือประกันการชาํ ระหนี้ ทรัพยส ินที่ จํานําไดคอื ทรัพยส นิ ที่สามารถเคล่อื นที่ ได เชน วทิ ยุ โทรทัศน ชาง มา โค กระบอื และเคร่ือง ทองรปู พรรณ สรอย แหวน เพชร

จํานอง จาํ นอง คือการท่ีใครคนหน่ึงเรยี กวา ผูจํานอง อสังหารมิ ทรัพย อนั ไดแก ท่ดี ิน บานเรอื น เป็นตน ไปตรา ไวแ กบ ุคคลอกี คนหน่ึง เรยี กวา ผรู ับจํานอง หรือนัยหน่ึง ผจู ํานองเอาทรัพยส นิ ไปทํา หนังสือจดทะเบียนตอ เจา พนักงาน เพ่ือเป็นประกนั การชาํ ระหนี้ ของลกู หนี้ โดยไม ตองสง มอบทรัพยท ี่จาํ นองใหเ จาหนี้ ผูจ ํานองอาจ เป็นตวั ลูกหนี้ เองหรือจะเป็นบคุ คลภายนอกก็ได




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook