BEST PRACTICE เร่อื งตดิ ตามนักศึกษาเขา้ ทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติ(N-NET) โดยใช้กระบวนการดำเนินงาน ท่ีมคี ุณภาพ(PDCA) ผจู้ ัดทำ นางสาวรัตนาภรณ์ ถ่นิ ภูวงษ์ กศน.ตำบลโพนสว่าง ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอเมอื งหนองคาย สำนกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั หนองคาย สำนักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั สำนกั ปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ
ก คำนำ วธิ ปี ฏบิ ัติทด่ี ี เร่ือง การตดิ ตามนักศึกษาเข้าทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ(N-NET)โดยใช้กระบวนการ ดำเนินงานทมี่ ีคุณภาพ (Deming Cycle : PDCA) เป็น รายงานท่แี สดงวิธีปฏบิ ตั ทิ ีด่ เี พ่ือเพิ่มจำนวนนักศกึ ษาเขา้ ทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ ดา้ นการศึกษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) โดยนำกระบวนการดำเนนิ งานท่ีมี คณุ ภาพตามวงจรของเดมมง่ิ (PDCA) มาใช้ใน การดำเนนิ งาน เริม่ ตัง้ แตข่ น้ั ตอนการวางแผน (Plan) ปฏิบตั ิตาม แผน (Do) ตรวจสอบการปฏบิ ัตติ ามแผน (Check) และการปรบั ปรงุ แกไ้ ขพัฒนาอยา่ งต่อเน่ือง (Action) ซึ่งผลการ ใช้กระบวนการดำเนนิ งานที่มีคณุ ภาพ (Deming Cycle : PDCA) ทำให้นักศึกษาเขา้ รับการทดสอบฯ ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ภาคเรียนที่ 2 การศึกษา 2564 1 การศกึ ษา 2565 และ 2 การศกึ ษา 2565 มจี ำนวน นกั ศึกษาเขา้ รบั การทดสอบทางการศึกษาระดบั ด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) จากภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 คดิ เปน็ ร้อยละ 85.7 และ อีก 3 ภาคเรยี นมนี ักศึกษาเขา้ สอบครบทุกคน คิดเป็นรอ้ ยละ 100 ตดิ ต่อกนั 3 ภาคเรียน หวังเปน็ อย่างยง่ิ วา่ วธิ ีปฏบิ ตั ทิ ่ีดี เร่ือง การตดิ ตามนักศึกษาเข้าทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติ ดา้ นการศึกษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) โดยใชก้ ระบวนการดำเนนิ งานที่มีคุณภาพ (Deming Cycle : PDCA) จะเปน็ ประโยชนส์ ำหรบั สถานศกึ ษา หรือผู้ทสี่ นใจในการนำไปประยุกต์ใชเ้ พ่ือเพิ่มจำนวน นกั ศึกษาเขา้ ทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ ด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ต่อไป นางสาวรัตนาภรณ์ ถ่ินภูวงษ์ ครู กศน.ตำบล BEST PRACTICE เรือ่ งตดิ ตามนักศึกษาเข้าทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาต(ิ N-NET) โดยใชก้ ระบวนการดำเนินงานทมี่ คี ุณภาพ(PDCA) (นางสาวรตั นาภรณ์ ถิ่นภวู งษ์ ครู กศน.ตำบล)
ข สารบญั หนา้ คำนำ วธิ ปี ฏบิ ตั ิที่ด.ี .............................................................................................................................................................1 สอดคลอ้ งกบั นโยบายและจดุ เนน้ การดำเนนิ งาน กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566.....................................1-4 ความเปน็ มาและความสำคญั ....................................................................................................................................5 วตั ถปุ ระสงคแ์ ละเป้าหมาย ......................................................................................................................................6 วิธกี ารดำเนินงาน...................................................................................................................................................6-9 ตัวชว้ี ัดความสำเรจ็ ....................................................................................................................................................9 การประเมินผล............................................................................................................... ........................................10 ผลการดำเนินงาน........................................................................................................... .......................................10 ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการพัฒนา...........................................................................................................................10 การเผยแพร/่ การไดร้ บั การยอมรบั ..........................................................................................................................11 การรบั รองจากผบู้ งั คับบัญชา..................................................................................................................................11 เอกสารอ้างองิ .........................................................................................................................................................12 ภาคผนวก............................................................................................................................. ............................13-34 ผูจ้ ดั ทำ....................................................................................................................................................................35 BEST PRACTICE เรือ่ งตดิ ตามนักศึกษาเข้าทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ(N-NET) โดยใช้กระบวนการดำเนินงานท่มี คี ุณภาพ(PDCA) (นางสาวรตั นาภรณ์ ถน่ิ ภวู งษ์ ครู กศน.ตำบล)
1 วิธีปฏิบตั ทิ ่ีดี(Best Practice) ชือ่ ผลงาน การตดิ ตามนักศึกษาเข้าทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตดิ ้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) โดยใช้กระบวนการดำเนินงานทมี่ คี ณุ ภาพ (Deming Cycle : PDCA) ผู้เสนอผลงาน นางสาวรตั นาภรณ์ ถ่ินภวู งษ์ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล สถานศึกษา ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอหนองคาย สังกัด สำนกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวัดหนองคาย นโยบายและจดุ เน้นการดําเนินงาน สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. หลกั การ กศน. เพ่ือประชาชน “กศน. ก้าวใหม่ : กา้ วแห่งคุณภาพ” 2. ภารกิจสำคญั ตามนโยบายของรัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร 2.1 โครงการสง่ เสริมโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทยี มทางการศึกษา “พาน้องกลบั มาเรยี นตดิ ตามและ รายงานข้อมลู ประชากรวยั เรียนที่หลุดจากระบบการศึกษา พรอ้ มทง้ั ดำเนนิ การชว่ ยเหลือ และสนบั สนนุ ให้กลบั เขา้ สู่ สถานศกึ ษาทีเ่ หมาะสมตามบรบิ ทต่อไป 2.2 โครงการ “กศน. ปกั หมุด” สาํ รวจ ตดิ ตาม ค้นหา และรวบรวมข้อมูลกลุม่ เป้าหมาย คนพกิ ารพร้อมนำกลบั เข้าสู่ระบบการศึกษา โดยวางแผนการจดั การศึกษาใหส้ อดคล้องกับบริบทและความต้องการ ของคนพกิ ารอย่างแทจ้ ริง เพอื่ ให้คนพิการสามารถเขา้ ถึงการศึกษาในรูปแบบที่เหมาะสม อย่างมีคณุ ภาพ 2.3 โครงการสถานศึกษาปลอดภัย นําระบบมาตรฐานความปลอดภยั MOE Safety Center ผ่านศูนยค์ วาม ปลอดภยั สำนกั งาน กศน. มาใชแ้ ก้ปญั หาความไม่ปลอดภยั ของนักศึกษา ครู และบคุ ลากร กศน. 2.4 การแกไ้ ขปัญหาหน้สี ินครแู ละบุคลากรทางการศึกษา 3. จดุ เน้นการดําเนนิ งาน สำนกั งาน กศน. ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 3.1 ด้านการจดั การเรยี นรู้คณุ ภาพ 1) น้อมนาํ พระบรมราโชบายสูก่ ารปฏิบัติ รวมทง้ั ส่งเสริมและสนับสนุนการดาํ เนินงานโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดําริทุกโครงการ หรือโครงการอันเกีย่ วเนอ่ื งจากราชวงศ์ 2) ขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ที่สนองตอบยทุ ธศาสตรช์ าติ และนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร และรฐั มนตรีช่วยวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 3) สง่ เสริมการจัดการศึกษาเพ่อื เสริมสร้างความม่ันคง การสร้างความเขา้ ใจทถี่ ูกต้อง ในการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตย การเรยี นร้ทู ่ีปลูกฝงั คุณธรรมจริยธรรม สรา้ งวนิ ัย จิตสาธารณะ และอุดมการณ์ ความยดึ มั่นในสถาบนั หลกั BEST PRACTICE เร่ืองตดิ ตามนกั ศึกษาเข้าทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาต(ิ N-NET) โดยใชก้ ระบวนการดำเนนิ งานที่มีคณุ ภาพ(PDCA) (นางสาวรตั นาภรณ์ ถนิ่ ภูวงษ์ ครู กศน.ตำบล)
2 ของชาติ การสง่ เสรมิ การรู้เทา่ ทนั สอื่ และข้อมลู ขา่ วสาร และทกั ษะการใช้เทคโนโลยีดจิ ิทลั (Social Media) รวมถึงการใช้ กระบวนการจติ อาสา กศน. ผา่ นกจิ กรรมต่าง ๆ 4) ปรับปรงุ หลกั สูตรทุกระดับทุกประเภท ให้สอดรบั กบั การพฒั นาคน ทิศทางการพัฒนา ประเทศ สอดคล้องกับ บริบททเ่ี ปลย่ี นแปลง ความต้องการและความหลากหลายของผูเ้ รียน/ผรู้ บั บรกิ าร รวมถงึ ปรับลดความหลากหลายและ ความซำ้ ซ้อนของหลักสูตร เช่น หลักสตู รการศกึ ษาสำหรับกลมุ่ เป้าหมายบนพื้นทส่ี งู พืน้ ท่พี ิเศษและพน้ื ทชี่ ายแดน รวมทั้ง กลุ่มชาตพิ นั ธ์ุ 5) ปรบั ระบบทดสอบ วัดผล และประเมินผล โดยเนน้ การใชเ้ ทคโนโลยเี ป็นเคร่ืองมือ ให้ผเู้ รียนสามารถเข้าถึงการ ประเมินผลการเรียนรู้ได้ตามความต้องการ เพ่ือการสรา้ งโอกาสในการเรยี นรู้ ให้ความสำคญั กับการเทยี บระดบั การศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ พฒั นาระบบการประเมนิ สมรรถนะผเู้ รียนให้ตอบโจทย์การประเมินใน ระดับประเทศและระดบั สากล เช่น การประเมนิ สมรรถภาพผู้ใหญ่ ตลอดจนกระจายอำนาจไปยงั พนื้ ท่ใี นการวัดและ ประเมนิ ผลการเรียนรู้ 6) ส่งเสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยใี นการจดั หลักสูตรการเรยี นรู้ในระบบออนไลนด์ ว้ ยตนเองครบวงจร ตั้งแตก่ าร ลงทะเบียนจนการประเมินผลเม่อื จบหลักสูตร ทัง้ การศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ข้ันพน้ื ฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และ การศกึ ษาตามอัธยาศยั เพ่ือเป็นการสร้างและขยายโอกาสในการเรียนรู้ใหก้ ับ กลมุ่ เป้าหมายทีส่ ามารถเรยี นร้ไู ดส้ ะดวก และตอบโจทย์ความต้องการของผเู้ รยี น 7) พัฒนา Digital Learning Platform แพลตฟอร์มการเรียนร้ขู องสำนักงาน กศน. ตลอดจนพัฒนาส่ือการเรยี นรู้ ทงั้ ในรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ และใหม้ ีคลงั ส่ือการเรยี นร้ทู ี่เปน็ สื่อท่ีถูกต้อง ตามกฎหมาย ง่ายตอ่ การสืบค้นและ นําไปใช้ในการจดั การเรยี นรู้ 3.2 ดา้ นการสรา้ งสมรรถนะและทักษะคุณภาพ 1) สง่ เสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวติ ทีเ่ นน้ การพฒั นาทกั ษะทีจ่ ำเปน็ สำหรบั แต่ละชว่ งวัย และการจดั การศึกษา และการเรียนรู้ทเ่ี หมาะสมกบั แตล่ ะกลุ่มเปา้ หมายและบริบทพื้นท่ี 2) พฒั นาหลกั สูตรอาชีพระยะส้นั ท่ีเน้น New skill Upskill และ Reskill ทสี่ อดคล้องกับบริบทพนื้ ที่ ความ ตอ้ งการของกลมุ่ เป้าหมาย ความตอ้ งการของตลาดแรงงาน และกลมุ่ อาชีพใหม่ท่รี องรับ Disruptive Technology 3) ยกระดบั ผลิตภัณฑ์ สนิ คา้ บรกิ ารจากโครงการศนู ย์ฝึกอาชพี ชุมชน ที่เนน้ “สง่ เสริม ความรู้ สรา้ งอาชีพ เพ่ิม รายได้ และมีคณุ ภาพชีวติ ท่ีดี” ให้มีคณุ ภาพมาตรฐาน เปน็ ท่ยี อมรับของตลาด ต่อยอด ภมู ิปญั ญาท้องถิ่นเพ่ือสร้าง มลู ค่าเพิ่ม พฒั นาสู่วสิ าหกิจชุมชน ตลอดจนเพิ่มช่องทางประชาสมั พนั ธแ์ ละชอ่ งทาง การจาํ หน่าย 4) ส่งเสริมการจดั การศึกษาของผสู้ ูงอายุ เพ่ือให้เปน็ Active Ageing Workforce และมี Life skill ในการ ดำรงชีวิตท่เี หมาะกบั ช่วงวยั BEST PRACTICE เร่อื งตดิ ตามนักศึกษาเขา้ ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ(N-NET) โดยใชก้ ระบวนการดำเนนิ งานที่มีคุณภาพ(PDCA) (นางสาวรัตนาภรณ์ ถิ่นภวู งษ์ ครู กศน.ตำบล)
3 5) ส่งเสริมการจัดการศึกษาที่พฒั นาทกั ษะท่จี ำเปน็ สำหรับกลมุ่ เป้าหมายพิเศษ เช่น ผู้พิการ ออทิสติก เด็กเร่รอ่ น และผดู้ อ้ ยโอกาสอน่ื ๆ 6) สง่ เสริมการพัฒนาทักษะดิจทิ ัลและทักษะด้านภาษา ให้กับบคุ ลากร กศน.และผเู้ รียน เพ่ือรองรับการพฒั นา ประเทศ 7) สง่ เสริมการสรา้ งนวตั กรรมของผเู้ รียน กศน. 8) ส่งเสริมการสร้างและพัฒนานวตั กรรมของบคุ ลากร กศน. รวมท้งั รวบรวมและเผยแพร่เพื่อให้หน่วยงาน / สถานศึกษา นำไปใชใ้ นการพัฒนากระบวนการเรียนรูร้ ว่ มกัน 3.3 ดา้ นองค์กร สถานศึกษา และแหลง่ เรียนรคู้ ุณภาพ 1) ทบทวนบทบาทหน้าที่ของหนว่ ยงาน สถานศึกษา เช่น สถาบนั กศน.ภาค สถาบันการศกึ ษาและพัฒนาต่อเน่อื ง สริ ินธร สถานศกึ ษาขึ้นตรงสงั กัดส่วนกลาง กล่มุ สำนักงาน กศน.จงั หวัด ศูนยฝ์ ึกและพฒั นาอาชีพราษฎรไทยบรเิ วณ ชายแดน เพอ่ื เพิม่ ประสิทธิภาพในการขับเคล่ือนการจดั การศกึ ษาตลอดชวี ิตในพืน้ ที่ 2) ยกระดบั มาตรฐาน กศน.ตำบล และศนู ยก์ ารเรียนรชู้ ุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” (ศศช.) ให้เป็นพนื้ ทก่ี าร เรียนรูต้ ลอดชวี ิตทีส่ ำคญั ของชุมชน 3) ปรับรูปแบบกจิ กรรมในห้องสมดุ ประชาชน ทเ่ี นน้ Library Delivery เพื่อเพม่ิ อัตราการอ่านและการรู้หนงั สอื ของประชาชน 4) ให้บรกิ ารวิทยาศาสตรเ์ ชงิ รุก Science@home โดยใช้เทคโนโลยเี ปน็ เครื่องมือนำวทิ ยาศาสตร์สู่ชวี ติ ประจำวนั ในทุกครอบครัว 5) สง่ เสริมและสนบั สนนุ การสร้างพืน้ ที่การเรียนรู้ ในรูปแบบ Public Learning Space Co-Learning Space เพ่ือการสร้างนิเวศการเรยี นรู้ใหเ้ กิดขึ้นในสงั คม 6) ยกระดบั และพัฒนาศนู ย์ฝึกอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน ใหเ้ ป็นสถาบันพฒั นาอาชพี ระดับภาค7) ส่งเสริม และสนับสนนุ การดำเนินงานของกลุม่ กศน. จงั หวัดใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ 3.4 ดา้ นการบรหิ ารจัดการคุณภาพ 1) ขบั เคลื่อนกฎหมายว่าดว้ ยการสง่ เสริมการเรยี นร้ตู ลอดชีวิต ตลอดจนทบทวนภารกจิ บทบาทโครงสร้างของ หนว่ ยงานเพ่ือรองรับการเปล่ียนแปลงตามกฎหมาย 2) ปรับปรุงกฎหมาย ระเบยี บ คำสั่ง และข้อบังคับต่าง ๆ ใหม้ คี วามทันสมัย เออื้ ตอ่ การบรหิ ารจัดการ และการ จดั การเรยี นรู้ เชน่ การปรับหลกั เกณฑค์ ่าใชจ้ ่ายในการจัดหลักสตู รการศึกษาต่อเน่ือง 3) ปรบั ปรุงแผนอัตรากำลงั รวมทง้ั กำหนดแนวทางท่ชี ัดเจนในการนำคนเขา้ สตู่ ำแหนง่ การย้าย โอน และการ เลื่อนระดบั BEST PRACTICE เรื่องติดตามนักศึกษาเข้าทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาต(ิ N-NET) โดยใชก้ ระบวนการดำเนินงานท่ีมคี ณุ ภาพ(PDCA) (นางสาวรตั นาภรณ์ ถ่ินภูวงษ์ ครู กศน.ตำบล)
4 4) ส่งเสรมิ การพฒั นาบคุ ลากรทกุ ระดบั ใหม้ คี วามรู้และทักษะตามมาตรฐานตำแหน่งให้ตรงกบั สายงาน และ ทกั ษะทีจ่ ำเปน็ ในการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ 5) ปรับปรุงระบบการจัดสรรทรพั ยากรเพื่อการศกึ ษา ใหม้ ีความครอบคลุม เหมาะสม เช่น การปรับคา่ ใช้จา่ ยใน การจดั การศกึ ษาของผู้พิการ เด็กปฐมวัย 6) ปรบั ปรงุ ระบบฐานขอ้ มลู สารสนเทศด้านการศกึ ษา เพ่ือการบรหิ ารจดั การอยา่ งเปน็ ระบบ เชน่ ขอ้ มูลการ รายงานผลการดำเนินงาน ข้อมลู เด็กตกหล่นจากการศกึ ษาในระบบ เด็กเรร่ ่อน ผ้พู ิการ 7) สง่ เสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการอย่างเตม็ รปู แบบ 8) สง่ เสริมพฒั นาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐสูร่ ะบบราชการ 4.0 และการประเมนิ คณุ ภาพและความ โปร่งใสการดำเนนิ งานของภาครฐั (ITA) 9) เสรมิ สรา้ งขวัญและกำลงั ใจ ให้กบั ขา้ ราชการและบคุ ลากรทุกประเภทในรปู แบบต่าง ๆ เชน่ การประกาศเกียรติ คณุ การมอบโล่ / วุฒิบตั ร 10) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครอื ข่ายทุกภาคส่วน เพือ่ สรา้ งความพร้อมในการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย และการส่งเสริมการเรียนรตู้ ลอดชีวิตสำหรบั ประชาชน BEST PRACTICE เรอ่ื งติดตามนกั ศึกษาเขา้ ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ(N-NET) โดยใช้กระบวนการดำเนนิ งานท่มี ีคุณภาพ(PDCA) (นางสาวรตั นาภรณ์ ถน่ิ ภูวงษ์ ครู กศน.ตำบล)
5 1. ความเปน็ มาและความสำคญั สำนักงาน กศน. ไดม้ ีเปา้ ประสงค์ในการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2566 ทเ่ี หมอื นกนั เกย่ี วกับประชาชนผู้ดอย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษารวมท้งั ประชาชนทั่วไปได้รบั โอกาส ทางการศกึ ษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบ ระดับการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน การศึกษาตอเน่ือง และการศกึ ษา ตามอธั ยาศยั ทมี่ ีคณุ ภาพอยางเทาเทียมและทวั่ ถึง เป็นไปตาม บริบทสภาพปัญหาและความตองการของแต่ ละกลุ่มเปา้ หมาย และบุคลากรกศน. ทกุ ประเภททกุ ระดับได้รบั การพัฒนา เพื่อเพม่ิ ทกั ษะและสมรรถนะในการ ปฏิบัตงิ าน และการให้บริการทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั รวมถงึ การปฏิบัติงานตาม สายงานอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ การดำเนนิ การจดั กิจกรรมการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน ดว้ ยวธิ กี ารพบกลุม่ โดยครูกศน.ตำบล ได้จดั กระบวนการ เรียนรู้ดว้ ยวิธกี ารเรียนแบบพบกลุ่มอย่างต่อเน่ือง ณ กศน.ตำบล สัปดาห์ละ 2 วัน ได้แก่ วันศกุ ร์และวันอาทิตย์ สงั กัดศนู ย์ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอเมืองหนองคาย จงั หวดั หนองคายโดยภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 พบวา่ มจี ำนวนนักศึกษาทีเ่ ข้ารบั การทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติ ดา้ นการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) จำนวนท้งั หมด 13 คน เข้าสอบ 11 คน คิดเปน็ ร้อยละ 84.61 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 มจี ำนวนนกั ศกึ ษาท่ีเขา้ รับการทดสอบทาง การศกึ ษาระดับชาติ ด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) จำนวนทงั้ หมด 8 คน เขา้ สอบ 8 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565 มจี ำนวนนกั ศกึ ษาที่เขา้ รับการทดสอบทาง การศกึ ษา ระดบั ชาติ ด้านการศึกษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) จำนวนทั้งหมด 6 คน เข้าสอบ 6 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 100 และ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 มีจำนวนนักศึกษาทเี่ ข้ารับการทดสอบทาง การศกึ ษาระดับชาติ ดา้ นการศกึ ษานอก ระบบโรงเรยี น (N-NET) จำนวนทัง้ หมด 13 คน เขา้ สอบ 13 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100 จากการนำผลการทดสอบไปใช้ ในการสมคั รเพื่อศกึ ษาต่อในระดบั ทสี่ ูงขนึ้ และการทดสอบนีย้ งั ใช้เป็นเกณฑใ์ นการสำเร็จการศึกษาหลกั สตู ร ท้งั ในระดับ ประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษาตอนตน้ และมธั ยมศึกษาตอนปลาย ซึง่ หากนักศึกษาไมเ่ ขา้ รับการทดสอบฯในปีการศึกษาท่ีมี รายช่อื เปน็ ผมู้ ี สิทธ์สิ อบนน้ั จะทำให้การจบการศึกษาลา่ ช้าออกไปอีก เน่ืองจากต้องรอสมคั รเข้าทดสอบฯรอบ E-exam ซง่ึ เปน็ วิธีการทดสอบดว้ ยระบบอิเล็กทรอนิกส์ และผลของการสอบดว้ ยระบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์นี้ จะนำไปใชส้ มคั ร เพ่อื สอบเข้า ศกึ ษาต่อไปไมไ่ ด้ท้ังยงั ส่งผลกระทบต่อการจะนำวฒุ กิ ารศึกษาไปใช้ในการสมคั รเขา้ ทำงาน อกี ด้วย ผจู้ ดั ทำ จึงได้นำกระบวนการดำเนนิ งานที่มีคณุ ภาพตามวงจร (Deming Cycle : PDCA) มาใชใ้ นการ ตดิ ตามนกั ศึกษาเขา้ ทดสอบทางการศึกษาระดับชาตดิ า้ นการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) เริ่มตง้ั แต่ ขั้นตอนการ วางแผน (Plan) ปฏบิ ัติตามแผน (Do) ตรวจสอบการปฏิบัตติ ามแผน (Check) และการปรบั ปรงุ แก้ไขพัฒนาอย่างต่อเนื่อง BEST PRACTICE เรอ่ื งติดตามนกั ศึกษาเขา้ ทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ(N-NET) โดยใช้กระบวนการดำเนินงานท่มี คี ณุ ภาพ(PDCA) (นางสาวรัตนาภรณ์ ถ่นิ ภวู งษ์ ครู กศน.ตำบล)
6 (Action) PDCA) เพื่อเพิ่มจำนวนนักศึกษาเข้าทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติดา้ น การศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) ในภาคเรยี นต่อไป 2. วัตถุประสงค์และเปา้ หมาย 2.1 เพอ่ื ให้นักศึกษาเข้ารับการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ ดา้ นการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ให้เขา้ สอบร้อยละ 100 2.2 เพอ่ื ให้นักศึกษาได้นำวฒุ ิการศึกษาไปใชป้ ระโยชนใ์ นการสมคั รเข้าศกึ ษาตอ่ ในระดับทีส่ งู ขึ้น หรอื สมัครเขา้ ทำงานในหน่วยงานต่างๆ 3. วิธกี ารดำเนินงาน ใชว้ งจรการควบคมุ คุณภาพ (PDCA Cycle) หรือ วงจรเดม็ มงิ่ (Deming Cycle) ซง่ึ เป็นแนวคดิ การพัฒนาการ ทำงานเพื่อควบคมุ คุณภาพงานให้มกี ารพฒั นาอย่างตอ่ เน่ือง พฒั นามาจากแนวคิดของ วอล์ทเตอร์ ซิวฮาร์ท (Walter Shewhart) ดังน้ี 1.ศกึ ษาสภาพปัญหาและความจำเป็น 2.วเิ คราะห์สภาพปัญหาและความจำเป็น 3.วิเคราะหค์ วามสอดคล้องท่ีเกยี่ วข้อง 4.นำขอ้ มูลการวิเคราะห์มาใช้แก้ปัญหา 5.ดำเนนิ การแก้ปัญหาการไมเ่ ข้ารับการทดสอบฯ ของนักศึกษา 6.ตรวจสอบผลลพั ธท์ ่ีไดจ้ ากการนำวงจรคุณภาพมาใชใ้ นการดำเนินการแก้ปญั หา 7.นำผลลพั ธท์ ีไ่ ด้มาปรับปรงุ แกไ้ ข หากดีแลว้ กด็ ำเนนิ การต่อเนอื่ งไป 3.1 ขั้นวางแผนการดำเนินงาน (P : Plan) 3.1.1 ขนั้ ศึกษาสภาพปญั หาและความจำเปน็ สถานศกึ ษามีการวางแผนตัง้ แตเ่ ร่ิมเปิดภาคเรียน โดยการปฐมนิเทศ นักศึกษาทจ่ี ะจบหลักสตู ร การประชุมครู ผ้เู กี่ยวข้องใหป้ ระชาสมั พนั ธ์และตดิ ตามผเู้ รียนใหม้ าเขา้ สอบตามกำหนดการ สอบโดยต้ังเป้าหมาย ของ กศน.ตำบลตอ้ งตดิ ตามผเู้ รียนเขา้ สอบเป็นร้อยเปอรเ์ ซ็นต์ มีการเตรียมแผนงานจัดโครงการ การตวิ เข้มความรูร้ ายวชิ า ท่ีจะสอบ N-NET ใหแ้ ก้ผูเ้ รียนที่จะสอบก่อนสอบ ครู กศน.ตำบล ลงพ้ืนทร่ี ว่ มกบั ผู้นำชมุ ชน เพ่อื ศึกษาสภาพปญั หาการเข้าสอบของนกั ศกึ ษา กศน. ทงั้ การสอบวัดผลสัมฤทธิ์ปลายภาคเรียน และทดสอบทาง การศกึ ษาระดับชาตดิ ้านการศึกษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) ทำให้ไดท้ ราบปญั หาของนกั ศึกษา กศน.ตำบล โดย รอ้ ยละ 80 ของนักศึกษาทงั้ หมด ทำงานเพ่ือหารายไดเ้ ลีย้ งชพี ทต่ี า่ งจงั หวัด บางคนเดนิ ทางมาสอบได้ แตบ่ างคนไม่ BEST PRACTICE เรือ่ งตดิ ตามนกั ศึกษาเข้าทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ(N-NET) โดยใชก้ ระบวนการดำเนินงานที่มคี ุณภาพ(PDCA) (นางสาวรตั นาภรณ์ ถิ่นภูวงษ์ ครู กศน.ตำบล)
7 สามารถเดินทางมาสอบได้ เน่ืองจากลางานไม่ได้ และตดิ ปัญหาเรื่องค่าใชจ้ า่ ย เนอ่ื งจากคา่ แรงที่ได้รับ ไม่เพียงพอกับ รายจ่าย ประกอบกับค่าครองชีพที่สงู ข้ึน 3.1.2 ขัน้ วิเคราะห์สภาพปัญหาและความจำเป็น จากการศึกษาสภาพปญั หาการเขา้ สอบของนักศึกษา กศน.ตำบล ร่วมกบั ผู้นำชุมชน สามารถวเิ คราะห์สภาพปญั หาได้ วา่ นกั ศึกษาร้อยละ 80 ของนักศกึ ษาท้งั หมด ทำงานทตี่ ่างจังหวัด เนื่องจากมีความจำเป็น แต่นกั ศึกษาก็ยงั ให้ ความสำคัญกับทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ ดา้ นการศึกษานอกระบบโรงเรยี น(N-NET) เนื่องจากเป็นเกณฑใ์ นการ สำเรจ็ การศึกษา เมื่อนกั ศึกษาชีแ้ จงความจ าเป็นของการไมส่ ามารถเดนิ ทางมาสอบได้ ครจู ึงชแ้ี จงความสำคัญของการ เขา้ ทดสอบฯ เช่นเดียวกัน เพื่อให้นกั ศึกษาตระหนักและเหน็ ความสำคญั ของการเดินทางมาสอบ 3.1.3 ขั้นการวเิ คราะหค์ วามสอดคล้องท่เี กย่ี วข้อง วิเคราะห์กล่มุ เป้าหมายของการเข้ารบั การทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตดิ า้ นการศึกษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) ในแตล่ ะภาคเรียนว่ามนี ักศึกษาจำนวนเทา่ ไรท่ตี ้องเข้ารับการทดสอบฯ และนกั ศกึ ษาอยู่หมบู่ า้ นใดบา้ ง ครูจะได้เตรียม ข้อมลู ในการตดิ ต่อประชาสัมพันธ์ วัน เวลา สถานท่ใี นการด าเนินการทดสอบฯไปยังผู้นำหม่บู ้าน/ชมุ ชนทุกหมูบ่ ้าน หรือประสานไปยังนักศกึ ษาโดยตรงเนือ่ งจากนกั ศกึ ษาบางคนทำงานที่ตา่ งจงั หวดั จะไดเ้ ตรยี มตวั ในการลางานเพื่อ เดินทางมาเขา้ รบั การทดสอบฯ ไดท้ นั เวลา เพราะเปน็ กลุ่มนักศกึ ษาท่ีคาดว่าจะสำเร็จการศึกษา ในระดบั มัธยมศึกษา ตอนต้น และมธั ยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนน้ัน 3.2 ข้ันปฏิบัติตามแผน (D : Do) 3.2.1. นำข้อมูลการวเิ คราะห์มาใชใ้ นการแก้ปัญหาสถานศึกษามอบหมายใหค้ รูผ้สู อนของแตล่ ะตำบลไดต้ ดิ ตาม ผูเ้ รยี นที่จะสอบ N-NETใหท้ ราบถึงกำหนดการสอบและกำชับให้ผู้เรียนใหค้ วามสำคญั กับการเขา้ สอบดงั กล่าวอยา่ ง สม่ำเสมอสถานศกึ ษาแจ้ง ครู กศน.ตำบล ช้ีแจงนกั ศึกษาทุกคนตั้งแต่สปั ดาห์แรกของการจดั การเรยี นการสอนแบบพบ กลมุ่ ถึงความสำคญั ของการเขา้ รบั การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติดา้ นการศึกษานอกระบบโรงเรียน (NNET) และ ให้ขอ้ มูลเกย่ี วกับเกณฑก์ ารสำเร็จการศึกษา หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน หากนักศึกษาไม่ เขา้ รบั การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติฯ นักศึกษาจะได้รับผลกระทบอยา่ งไรบา้ งซึง่ ผลท่ีเกิดขึ้นก็ทำให้นักศึกษา ต้องตระหนกั และเห็นความสำคัญของการเข้ารับการทดสอบมากขน้ึ โดยครรู ว่ มกบั หน่วยงานภาคเี ครือขา่ ย หมบู่ า้ น ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ รว่ มกันประชาสมั พันธก์ าหนดการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติฯ (N-NET) BEST PRACTICE เรอ่ื งติดตามนกั ศึกษาเขา้ ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ(N-NET) โดยใชก้ ระบวนการดำเนินงานทีม่ คี ณุ ภาพ(PDCA) (นางสาวรตั นาภรณ์ ถิน่ ภูวงษ์ ครู กศน.ตำบล)
8 3.2.2 ดำเนินการแก้ปญั หาการไม่เข้ารับการทดสอบฯของนักศึกษา 1. ประชาสัมพันธ์การสอบ N-NET ในการจดั กจิ กรรมของสถานศกึ ษาอย่างต่อเนือ่ ง เช่น การเข้าร่วมประชุม หวั หน้าสว่ นราชการประจำอำเภอ กิจกรรมพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น กจิ กรรมอนื่ ๆ ในพ้นื ที่ตำบลดำเนนิ การสอบ N-NET ตามกำหนดโดยมีการมอบหมายหน้าทใี่ หบ้ คุ ลากรของสถานศึกษา และผเู้ กี่ยวข้องในการดำเนนิ สอบจดั สอบไปตาม มาตรฐาน และระเบียบของสถาบันทดสอบทางการศึกษาแหง่ ชาติ (องค์การมหาชน) หน่วยงานภาคเี ครือขา่ ย หมบู่ า้ น ชมุ ชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ ร่วมกนั ประชาสมั พันธ์กำหนดการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติฯ (N-NET) 2. ติดตามเยี่ยมบา้ นนักศึกษา พบกลมุ่ ย่อยทีบ่ า้ นในกรณีที่นักศึกษาไม่มาพบกลุ่มโดยความร่วมมอื กบั ผู้ปกครอง เครอื ข่ายและชมุ ชน เริม่ จากการวิเคราะห์ศักยภาพของกลุม่ เป้าหมาย และสำรวจความต้องการของนกั ศึกษา เพ่ือจัดทำ แผนการเรยี นร้รู ายบคุ คลใหก้ ับนกั ศกึ ษา ท่ีจะสามารถนำมาเป็นแนวทางในการปรบั ปรงุ และแก้ไขปัญหาได้ 3. ลงพื้นทโ่ี ดยใช้สถานท่ีทำการผู้ใหญ่บา้ นโดยจัดทำหนงั สือประชาสัมพันธ์การสอบ N-NET ใหก้ ำนนั ผ้ใู หญ่บา้ น ในตำบลประชาสมั พนั ธห์ อกระจายข่าว เสียงตามสาย วิทยุชมุ ชนตำบล หนังสือแจง้ รายบุคคล - กศน.ใช้Socail Network ในการประชาสมั พนั ธก์ ารการสอบ N-NETเพ่ือใหน้ ักศึกษามีความตระหนกั ในหน้าที่ของตนเอง ครูจะแจ้งนักศึกษาทราบ ทางโทรศัพท์ ทางกลมุ่ Line/Chat Massage หวั ใจสำคญั คอื Fanpage facebooke กศน.ตำบล และ Fanpage facebooke กล่มุ นักศึกษา กศน.ตำบล ชว่ ยให้นักศึกษาทราบขา่ วล่วงหนา้ ทนั ท่วงที และมีเวลาเตรยี มตวั 4. ในกรณที ่ีออกไปทำงานต่างถ่นิ และแจ้งผปู้ กครองให้ทราบเพ่อื ชว่ ยเตือนให้นกั ศกึ ษาเข้าสอบ N-NET รายงาน กิจกรรมการพบกลุม่ และการรว่ มกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ผ่าน Line ผ่านFanpage facebooke กศน. เปน็ การเผยแพร่ ข่าวสารการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ทต่ี ่อเนอื่ งอย่างสม่ำเสมอหลงั จากท่ีสำนักงาน กศน. แจง้ กำหนดการสอบ N-NET ครจู ะแจ้งกำหนดการสอบ วัน เวลาสถานทส่ี อบ ให้นกั ศกึ ษาไดท้ ราบล่วงหนา้ อยา่ งน้อย 1 เดอื น เพื่อให้นักศึกษาเตรียมตวั มาสอบ 5. กรณนี กั ศึกษาทีค่ าดวา่ จะจบในภาคเรียนนี้ ท่ีต้องเข้ารับการทดสอบทางการศึกษานอกระบบระดับชาติ (N – NET) ครจู ะต้องแจ้งนักศกึ ษาใหท้ ราบลว่ งหนา้ ต้ังแต่ลงทะเบยี นเรยี นเพอื่ ใหน้ ักศึกษาเตรยี มตัวในการเข้าสอบ และทำ กิจกรรม กพช.ใหค้ รบ 200 ชั่วโมง ในภาคเรียนท่นี ักศึกษาจะจบ หลงั จากการสอบ N- NET เรยี บร้อยแล้ว 6. สง่ ตารางสอบ (N – NET) ให้นกั ศึกษารายบุคคล เพ่ือให้นกั ศกึ ษาเขา้ สอบตามกำหนดวนั เวลาสถานท่ี และ รายละเอยี ดของระเบียบการเขา้ สอบ - กจิ กรรมการตวิ เข้มเตมิ เต็มความรู้ก่อนสอบ โดยนำนกั ศึกษาเข้ารว่ มกจิ กรรมทุก ระดบั เพื่อเพิ่มความรู้ และนำความรทู้ ีไ่ ด้รบั ไปพัฒนาผลสัมฤทธิท์ างการเรียนให้สงู ขึ้นมี การนำแผนการดำเนินงานไปสู่ การปฏิบตั ิ 7. การดำเนินการจัดการศึกษาขั้นพน้ื ฐานวิธีพบกลุ่มทุกกระดับชน้ั ตามวัน เวลาสม่ำเสมออยา่ งต่อเน่ือง ยดึ หลักการจัดกระบวนการจัดการเรียนรโู้ ดยคณะครู เป็นผู้ขับเคลือ่ น เน้นการมีส่วนร่วมของผู้เรยี นเปน็ สำคัญ โดยนำ BEST PRACTICE เร่อื งตดิ ตามนักศึกษาเข้าทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาต(ิ N-NET) โดยใชก้ ระบวนการดำเนนิ งานท่มี ีคุณภาพ(PDCA) (นางสาวรัตนาภรณ์ ถิ่นภูวงษ์ ครู กศน.ตำบล)
9 นักศกึ ษาร่วมกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียนด้านตา่ งๆที่ กศน.อำเภอเมอื งและกศน.ตำบล ไดจ้ ัดขึ้นเพื่อสร้างแรงจงู ให้กบั นกั ศึกษา ใหม้ ีความใฝ่รู้ใฝ่เรยี น ตระหนักในหนา้ ท่ีของตน และเตรียมพรอ้ มท่จี ะเข้าสอบ(N-NET) เนน้ การมสี ่วนรว่ มของภาคี เครอื ข่าย หมบู่ า้ น ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นฐานในการขับเคล่อื นกจิ กรรมการดำเนนิ งานของ กศน. 3.3 ขนั้ ตรวจสอบการปฏบิ ัติตามแผน ( C : Check) 1. ประเมินจากสภาพจริง โดยครู กศน.ตำบลได้ตดิ ตามและกำกับดแู ลอยา่ งสม่ำเสมอหรือไม่ มกี าร ดำเนินงาน เป็นไปตามแผนที่ไดว้ างไวก้ ่อนการดำเนนิ การหรือไม่ ซ่ึงครู กศน.ตำบลได้ติดตามนักศกึ ษานกั ศกึ ษาโดยลงพืน้ ที่ เยย่ี มบ้าน ประสานงานกบั ผ้นู ำชมุ ชนเป็นไปตามกระบวนการ ข้นั ตอนท่ไี ดว้ างไว้ ผลที่ได้ คอื นักศึกษาทราบขา่ ววัน เวลา ท่ตี ้องเข้า รับการทดสอบฯ และสามารถมาสอบไดท้ ันตามกำหนด 2. ปญั หาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นระหว่างใชแ้ ผนการดำเนินงานมีอะไรบ้าง และมวี ธิ ีการแกไ้ ขปญั หาอยา่ งไร ปญั หา หรืออุปสรรคท่ีทำให้นักศึกษาไม่สามารถเดนิ ทางมาสอบได้ คือ บางหน่วยงาน หรอื บริษัทหา้ งรา้ น ไม่ใหน้ ักศึกษาลางาน ในช่วงวันท่ตี ้องเข้ารับการทดสอบฯ ทำให้นักศึกษาไมส่ ามารถเดินทางมาสอบได้ 3. สรุปผลการดำเนนิ งาน รับฟงั ความกา้ วหนา้ ปัญหา ข้อเสนอแนะจากหนว่ ยงานภาคเี ครอื ข่ายหม่บู ้าน ชมุ ชน และองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ และหาทางแก้ไขพัฒนา 3.4 ขั้นการปรบั ปรงุ และพัฒนาผลการปฏิบตั งิ าน (A: Act) 3.4.1 นำผลลพั ธท์ ไ่ี ด้มาปรับปรุงแก้ไข หากดีแล้วก็ดำเนินการตอ่ เนอื่ งไป กศน.ตำบล สรปุ รายงาน จำนวนผ้เู ข้า สอบ ปญั หา อปุ สรรค และผลการสอบให้ทกุ คนทเี่ ก่ยี วข้องทราบ และนำผลงานจากคร้ังนีไ้ ปพฒั นาปรับปรุง และกำหนด กลยทุ ธ์การดำเนินงานในครัง้ ต่อไป เพอื่ ให้นักศึกษาเข้ารับการทดสอบฯใหไ้ ดร้ ้อยละ 100 ทุกภาคเรยี น 4.ตัวช้ีวัดความสำเรจ็ 4.1 หนว่ ยงานภาคีเครือข่าย ผ้นู ำหมูบ่ า้ นและชมุ ชน มีความเขม้ แขง็ และเขา้ มามีสว่ นรว่ มอยา่ งเต็มท่ีพรอ้ มทีจ่ ะ สนับสนุนกิจกรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทัง้ การขับเคลือ่ นกิจกรรมการเรยี นรขู้ องชุมชน 4.2 ประชาสมั พนั ธ์การสอบ N-NET ในการจัดกจิ กรรมของสถานศกึ ษาอย่างต่อเนอ่ื ง เชน่ การเขา้ ร่วม ประชุมหวั หนา้ ส่วนราชการประจำอำเภอ กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น กจิ กรรมอ่ืนๆ ในพนื้ ท่ีตำบลดำเนินการสอบ N-NET ตามกำหนด 4.3 การศกึ ษาและวเิ คราะห์สภาพปัญหา รวมทัง้ วธิ กี ารน ากระบวนการดำเนินงานที่มคี ุณภาพ (Deming Cycle : PDCA) มาใช้ในการตดิ ตามนักศกึ ษาเขา้ ทดสอบทางศกึ ษาระดับชาตดิ ้านการศึกษานอก ระบบโรงเรียน (N-NET) ทำให้มีจำนวนนกั ศึกษาเข้ารบั การทดสอบฯ คดิ เป็น ร้อยละ 100 ของจำนวน นกั ศึกษาทัง้ หมดที่คาดว่าจะจบในภาคเรียนนนั้ BEST PRACTICE เรือ่ งติดตามนักศึกษาเขา้ ทดสอบทางการศึกษาระดับชาต(ิ N-NET) โดยใช้กระบวนการดำเนนิ งานท่ีมคี ณุ ภาพ(PDCA) (นางสาวรัตนาภรณ์ ถ่ินภวู งษ์ ครู กศน.ตำบล)
10 5. การประเมินผล ประเมนิ ผลจากสภาพจรงิ โดยเปรยี บเทียบจำนวนนักศึกษาเขา้ รับการทดสอบทางการศึกษา ระดบั ชาติ ด้านการศึกษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) จำนวน 4 ภาคเรียน ได้แก่ ภาคเรียนที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2564 ภาคเรยี นที่ 2 ประจำปีการศึกษา 2564 ภาคเรยี นท่ี 1 ประจำปีการศึกษา 2565 ภาคเรียนท่ี 2 ประจำปีการศกึ ษา 2565 ผลการเปรยี บเทียบจำนวนนักศึกษาเข้าทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ ด้านการศึกษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) 4 ภาคเรยี น 6. ผลการดำเนนิ งาน ตารางสรุปผลการดำเนินงาน ภาคเรีนท่ี จำนวนผมู้ ีสทิ ธส์ิ อบทั้งหมด(คน) จำนวนผเู้ ข้าสอบ(คน) จำนวนผ้ขู าดสอบ(คน) คดิ เปน็ รอ้ ยละ 84.61 1/2564 13 11 2 100 100 2/2564 8 8- 100 1/2565 6 6- 2/2565 13 13 - 6.1 ผลการการตดิ ตามนกั ศึกษาเข้าทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติดา้ นการศกึ ษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) โดยใชก้ ระบวนการดำเนินงานท่ีมีคุณภาพ (Deming Cycle : PDCA) ทำใหน้ ักศกึ ษาเข้าสอบครบคดิ เป็น ร้อยละ 100 ของจำนวนนกั ศึกษาทัง้ หมดท่ีคาดว่าจะจบในภาคเรยี นน้ัน 6.2 การติดตามนักศึกษาเข้าทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) โดยใช้กระบวนการดำเนินงานทีม่ ีคุณภาพ (Deming Cycle : PDCA) ทำใหม้ ีผู้เข้าสอบมากขึน้ 7. ข้อเสนอแนะ/แนวทางในการพัฒนา 1. ควรศึกษากระบวนการดำเนินงานที่มคี ุณภาพรปู แบบต่างๆ เพ่อื ใหส้ ามารถเพม่ิ จำนวนผู้เขา้ สอบให้ นกั ศึกษาเขา้ รับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ดา้ นการศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) ในภาคเรยี น ตอ่ ไปใหม้ ากขน้ึ 2. ควรใหค้ วามสำคัญกับหนว่ ยงานภาคเี ครือข่าย ผู้นำหมูบ่ ้าน และชุมชน องค์ปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ และเข้าไปมสี ว่ นร่วมในกิจกรรมตามความเหมาะสม เพราะเปน็ หนว่ ยงานภาคเครือข่ายที่มีความเข้มแข็ง พรอ้ มท่จี ะสนบั สนุนกจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย BEST PRACTICE เรือ่ งตดิ ตามนกั ศึกษาเข้าทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ(N-NET) โดยใช้กระบวนการดำเนินงานทม่ี ีคณุ ภาพ(PDCA) (นางสาวรัตนาภรณ์ ถนิ่ ภูวงษ์ ครู กศน.ตำบล)
11 3. การศึกษาสภาพปญั หาและความต้องการ ชว่ ยใหเ้ รามองเหน็ ปญั หาได้อยา่ งถ่องแท้ และสามารถ แกป้ ัญหาได้ตรงตามความต้องการ 8. การเผยแพร/่ การไดร้ บั การยอมรับ กศน.ตำบล ได้เผยแพรว่ ธิ ปี ฏิบัตทิ ่ีดี (Best Practice) ชื่อผลงาน “การติดตามนกั ศึกษาเข้าทดสอบ ทางการศกึ ษาระดบั ชาติด้านการศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) โดยใชก้ ระบวนการดำเนนิ งานทีม่ ีคณุ ภาพ (Deming Cycle : PDCA) ผ่านทาง Facebook Fanpage กศน.ตำบลกวนวัน 9. การรบั รองขอ้ มูลจากผู้บังคบั บัญชา (ลงช่ือ)...................................................ผ้รู ายงาน (นางสาวรตั นาภรณ์ ถ่ินภวู งษ)์ ครู กศน.ตำบล (ลงช่อื )......................................................ผรู้ บั รองข้อมูล (นางสาวฐปนา อนิ ทร์มา) ผูอ้ ำนวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั อำเภอเมืองหนองคาย BEST PRACTICE เรื่องติดตามนกั ศึกษาเขา้ ทดสอบทางการศึกษาระดับชาต(ิ N-NET) โดยใช้กระบวนการดำเนนิ งานทีม่ คี ณุ ภาพ(PDCA) (นางสาวรัตนาภรณ์ ถิ่นภูวงษ์ ครู กศน.ตำบล)
12 เอกสารอ้างอิง สำนกั งานสง่ เสริการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 สำนักงาน กศน. สำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร แนวคดิ การพฒั นาการทำงานเพือ่ ควบคุมคุณภาพงานใหม้ ีการพัฒนาอยา่ งต่อเน่อื ง พัฒนามาจากแนวคิดของ วอล์ทเตอร์ ซิวฮาร์ท (Walter Shewhart) https://th.hrnote.asia/orgdevelopment/what-is-pdca-210610/(การใช้กระบวนการดำเนินงานทม่ี ี คณุ ภาพDeming Cycle : PDCA) BEST PRACTICE เรือ่ งตดิ ตามนักศึกษาเข้าทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ(N-NET) โดยใช้กระบวนการดำเนินงานท่มี ีคณุ ภาพ(PDCA) (นางสาวรัตนาภรณ์ ถน่ิ ภวู งษ์ ครู กศน.ตำบล)
13 ภาคผนวก BEST PRACTICE เร่ืองตดิ ตามนกั ศึกษาเขา้ ทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาต(ิ N-NET) โดยใช้กระบวนการดำเนินงานท่ีมีคณุ ภาพ(PDCA) (นางสาวรตั นาภรณ์ ถน่ิ ภูวงษ์ ครู กศน.ตำบล)
14 รายชือ่ การเข้ารับการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ ดา้ นการศกึ ษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ก่อนการใช้ กระบวนการดำเนนิ งานที่มีคุณภาพ (Deming Cycle : PDCA) ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 พบว่า มีนักศึกษาที่มี สิทธ์เิ ขา้ รับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติดา้ นการศึกษานอก ระบบโรงเรียน (N-NET) จำนวน 13 คน เขา้ สอบจำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 84.61 รายช่ือนกั ศึกษาภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 BEST PRACTICE เรื่องติดตามนักศึกษาเข้าทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาต(ิ N-NET) โดยใช้กระบวนการดำเนนิ งานทมี่ คี ณุ ภาพ(PDCA) (นางสาวรตั นาภรณ์ ถน่ิ ภวู งษ์ ครู กศน.ตำบล)
15 ผลการเขา้ รบั การทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ ด้านการศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) กอ่ นการใช้ กระบวนการดำเนนิ งานที่มคี ุณภาพ (Deming Cycle : PDCA) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 พบว่า มีนักศึกษาทมี่ ี สทิ ธเ์ิ ขา้ รบั การทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตดิ ้านการศึกษานอก ระบบโรงเรียน (N-NET) จำนวน 8 คน เขา้ สอบ จำนวน 8คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 รายชือ่ นักศึกษาภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 BEST PRACTICE เร่อื งตดิ ตามนกั ศึกษาเข้าทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาต(ิ N-NET) โดยใชก้ ระบวนการดำเนนิ งานท่มี ีคุณภาพ(PDCA) (นางสาวรัตนาภรณ์ ถน่ิ ภูวงษ์ ครู กศน.ตำบล)
16 รายชอื่ การเขา้ รับการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ ด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) กอ่ นการใช้ กระบวนการดำเนินงานท่ีมคี ุณภาพ (Deming Cycle : PDCA) ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2565 พบว่า มนี ักศึกษาทีม่ ี สทิ ธิ์เข้ารบั การทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติดา้ นการศึกษานอก ระบบโรงเรยี น (N-NET) จำนวน 6 คน เข้าสอบ จำนวน 6 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 รายช่อื นกั ศึกษาภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2565 BEST PRACTICE เร่อื งตดิ ตามนักศึกษาเขา้ ทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาต(ิ N-NET) โดยใช้กระบวนการดำเนนิ งานที่มีคุณภาพ(PDCA) (นางสาวรัตนาภรณ์ ถ่ินภูวงษ์ ครู กศน.ตำบล)
17 รายชือ่ นกั ศกึ ษาภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2565 BEST PRACTICE เรื่องติดตามนกั ศึกษาเขา้ ทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาต(ิ N-NET) โดยใช้กระบวนการดำเนินงานทม่ี คี ุณภาพ(PDCA) (นางสาวรตั นาภรณ์ ถิ่นภวู งษ์ ครู กศน.ตำบล)
18 รายชอื่ การเข้ารับการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ ดา้ นการศึกษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) ก่อนการใช้ กระบวนการดำเนนิ งานที่มคี ุณภาพ (Deming Cycle : PDCA) ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2565 พบว่า มนี ักศึกษาทม่ี ี สทิ ธิ์เขา้ รับการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติดา้ นการศึกษานอก ระบบโรงเรียน (N-NET) จำนวน 13 คน เข้าสอบ จำนวน 13 คน คดิ เป็นร้อยละ 100 รายช่ือนักศึกษาภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2565 BEST PRACTICE เร่ืองติดตามนกั ศึกษาเข้าทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ(N-NET) โดยใช้กระบวนการดำเนนิ งานทม่ี คี ุณภาพ(PDCA) (นางสาวรตั นาภรณ์ ถนิ่ ภูวงษ์ ครู กศน.ตำบล)
19 รายชื่อนกั ศกึ ษาภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 BEST PRACTICE เรอ่ื งติดตามนักศึกษาเข้าทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาต(ิ N-NET) โดยใช้กระบวนการดำเนนิ งานท่มี คี ุณภาพ(PDCA) (นางสาวรตั นาภรณ์ ถ่ินภูวงษ์ ครู กศน.ตำบล)
20 รายชือ่ นักศกึ ษาภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2565 BEST PRACTICE เรอ่ื งติดตามนักศึกษาเข้าทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาต(ิ N-NET) โดยใช้กระบวนการดำเนนิ งานทีม่ ีคุณภาพ(PDCA) (นางสาวรัตนาภรณ์ ถนิ่ ภวู งษ์ ครู กศน.ตำบล)
21 รายชือ่ นักศึกษาภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2565 BEST PRACTICE เรื่องติดตามนักศึกษาเข้าทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาต(ิ N-NET) โดยใช้กระบวนการดำเนินงานทม่ี ีคุณภาพ(PDCA) (นางสาวรตั นาภรณ์ ถิน่ ภูวงษ์ ครู กศน.ตำบล)
22 การประชุมวางแผนการดำเนินงาน (P : Plan) - การประชมุ วางแผนการดำเนนิ งาน BEST PRACTICE เรอ่ื งตดิ ตามนกั ศึกษาเข้าทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาต(ิ N-NET) โดยใชก้ ระบวนการดำเนินงานท่ีมีคุณภาพ(PDCA) (นางสาวรัตนาภรณ์ ถ่ินภูวงษ์ ครู กศน.ตำบล)
23 รปู ภาพข้นั ปฏบิ ตั ติ ามแผน (D : Do) - เย่ียมบา้ น - ตวิ ก่อนสอบ N NET - ประชาสัมพันธก์ ารสอบ N-NET - ลงพื้น -ประชมุ รว่ มกบั เครือข่าย BEST PRACTICE เร่ืองติดตามนักศึกษาเขา้ ทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ(N-NET) โดยใช้กระบวนการดำเนนิ งานที่มคี ณุ ภาพ(PDCA) (นางสาวรัตนาภรณ์ ถิน่ ภูวงษ์ ครู กศน.ตำบล)
24 BEST PRACTICE เรอื่ งติดตามนกั ศึกษาเข้าทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาต(ิ N-NET) โดยใช้กระบวนการดำเนินงานทม่ี คี ุณภาพ(PDCA) (นางสาวรัตนาภรณ์ ถิ่นภวู งษ์ ครู กศน.ตำบล)
25 BEST PRACTICE เรอื่ งติดตามนกั ศึกษาเข้าทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาต(ิ N-NET) โดยใช้กระบวนการดำเนินงานทม่ี คี ุณภาพ(PDCA) (นางสาวรัตนาภรณ์ ถิ่นภวู งษ์ ครู กศน.ตำบล)
26 รปู ข้นั ตรวจสอบการปฏิบตั ิตามแผน ( C : Check) - เย่ยี มบ้าน - ลงพื้น - แจกตารางสอบ (N – NET) BEST PRACTICE เร่ืองตดิ ตามนกั ศึกษาเขา้ ทดสอบทางการศึกษาระดับชาต(ิ N-NET) โดยใชก้ ระบวนการดำเนินงานทมี่ คี ณุ ภาพ(PDCA) (นางสาวรัตนาภรณ์ ถิน่ ภูวงษ์ ครู กศน.ตำบล)
27 ข้ันการปรับปรุงและพัฒนาผลการปฏิบัติงาน (A: Act) เกยี รตบิ ัตร ภาคเรียนที่2/2565 BEST PRACTICE เร่อื งติดตามนกั ศึกษาเขา้ ทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาต(ิ N-NET) โดยใชก้ ระบวนการดำเนนิ งานท่มี คี ณุ ภาพ(PDCA) (นางสาวรตั นาภรณ์ ถนิ่ ภวู งษ์ ครู กศน.ตำบล)
28 เกยี รติบัตร ภาคเรียนท่ี2/2565 BEST PRACTICE เร่อื งติดตามนักศึกษาเข้าทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ(N-NET) โดยใชก้ ระบวนการดำเนนิ งานท่ีมีคุณภาพ(PDCA) (นางสาวรตั นาภรณ์ ถิน่ ภวู งษ์ ครู กศน.ตำบล)
29 เกียรตบิ ัตร ภาคเรยี นท2่ี /2565 BEST PRACTICE เรอื่ งติดตามนกั ศึกษาเข้าทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาต(ิ N-NET) โดยใช้กระบวนการดำเนนิ งานที่มคี ณุ ภาพ(PDCA) (นางสาวรตั นาภรณ์ ถ่นิ ภูวงษ์ ครู กศน.ตำบล)
30 เกยี รติบัตร ภาคเรียนที่ 2/2565 BEST PRACTICE เร่ืองติดตามนกั ศึกษาเข้าทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาต(ิ N-NET) โดยใชก้ ระบวนการดำเนนิ งานทม่ี คี ุณภาพ(PDCA) (นางสาวรัตนาภรณ์ ถน่ิ ภูวงษ์ ครู กศน.ตำบล)
31 เกยี รติบัตร ภาคเรียนที่ 1/2565 BEST PRACTICE เร่ืองติดตามนกั ศึกษาเข้าทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาต(ิ N-NET) โดยใชก้ ระบวนการดำเนนิ งานทม่ี คี ุณภาพ(PDCA) (นางสาวรัตนาภรณ์ ถน่ิ ภูวงษ์ ครู กศน.ตำบล)
32 เกยี รติบัตร ภาคเรียนที่ 2/2564 BEST PRACTICE เร่ืองติดตามนกั ศึกษาเข้าทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาต(ิ N-NET) โดยใชก้ ระบวนการดำเนนิ งานทม่ี คี ุณภาพ(PDCA) (นางสาวรัตนาภรณ์ ถน่ิ ภูวงษ์ ครู กศน.ตำบล)
33 เกยี รติบัตร ภาคเรียนที่ 2/2564 BEST PRACTICE เร่ืองติดตามนกั ศึกษาเข้าทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาต(ิ N-NET) โดยใชก้ ระบวนการดำเนนิ งานทม่ี คี ุณภาพ(PDCA) (นางสาวรัตนาภรณ์ ถน่ิ ภูวงษ์ ครู กศน.ตำบล)
34 รูปหนา้ แฟนเพจ กศน.ตำบลท่เี ผยแพร่ BEST PRACTICE เรื่องติดตามนักศึกษาเข้าทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ(N-NET) โดยใช้กระบวนการดำเนนิ งานทีม่ คี ุณภาพ(PDCA) (นางสาวรัตนาภรณ์ ถ่นิ ภูวงษ์ ครู กศน.ตำบล)
35 ทป่ี รกึ ษา คณะผจู้ ัดทำ นางสาวฐปนา อนิ ทร์มา ผอ.กศน.อำเภอเมืองหนองคาย นางปวริศา โยชนส์ วุ รรณ บรรณารกั ษช์ ำนาญการพิเศษ นางสมาน มงคลนำ ครชู ำนาญการ นางพฒั นรี พานแก้วชวู งศ์ ครผู ชู้ ว่ ย รวบรวมข้อมูล/จัดรูปเล่ม ครู กศน.ตำบลโพนสว่าง นางสาวรัตนาภรณ์ ถนิ่ ภูวงษ์ BEST PRACTICE เรือ่ งติดตามนกั ศึกษาเขา้ ทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาต(ิ N-NET) โดยใช้กระบวนการดำเนนิ งานทม่ี คี ณุ ภาพ(PDCA) (นางสาวรัตนาภรณ์ ถ่นิ ภวู งษ์ ครู กศน.ตำบล)
36 ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอเมอื งหนองคาย สำนกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จังหวดั หนองคาย สำนักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย สำนักปลดั กระทรวงศึกษาธิการ BEST PRACTICE เรื่องตดิ ตามนักศึกษาเขา้ ทดสอบกทราะงทกราวรงศศึกกึ ษษาารธะิกดาบั รชาติ(N-NET) โดยใช้กระบวนการดำเนินงานทม่ี ีคณุ ภาพ(PDCA) (นางสาวรตั นาภรณ์ ถนิ่ ภูวงษ์ ครู กศน.ตำบล)
Search
Read the Text Version
- 1 - 39
Pages: