Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ม.3ใบความรู้การประเมินความถูกต้องของการอ่าน

ม.3ใบความรู้การประเมินความถูกต้องของการอ่าน

Published by chotica44231980, 2021-08-04 11:22:38

Description: ม.3ใบความรู้การประเมินความถูกต้องของการอ่าน

Search

Read the Text Version

ความรู้เพ่ิมเตมิ เรือ่ ง การประเมนิ ความถูกตอ้ ง ของข้อมลู ท่ใี ชส้ นบั สนุนในเรือ่ งท่อี ่าน วชิ า ภาษาไทย ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ โรงเรียนประสารวิทยา อาเภอสีคิว้ จังหวดั นครราชสีมา

การประเมนิ ความถกู ต้องของขอ้ มูล ทใี่ ชส้ นบั สนุนในเรือ่ งทีอ่ ่าน การประเมนิ ความถกู ตอ้ งของข้อมลู ที่ใช้สนับสนนุ ในเร่ืองท่ีอา่ น เป็นการวิเคราะหส์ ารประเภท บทความ บทวจิ ารณ์ ข่าว เพลง บท รอ้ ยกรอง เรื่องส้ัน นวนยิ าย นิทาน ฯลฯ การพจิ ารณาสารจงึ ตอ้ ง พิจารณาตามแนวทางการเขียนสารน้ัน ๆ เช่น บทความ มีลักษณะการ เขียนเป็น คานา เนอื้ เร่ือง สรุป ส่วนขา่ วมีลกั ษณะการเขยี นเป็น พาดหัวข่าวหลัก หวั ขา่ วรอง สรุปข่าว และรายละเอยี ดของขา่ ว และที่ สาคญั ท่ีสุดคือ ตอ้ งพจิ ารณาภาษาหรือถอ้ ยคาทใ่ี ช้ด้วยเพราะงานเขียน แต่ละประเภทจะใช้ภาษาท่แี ตกต่างกนั ไป การวิเคราะห์ วิจารณ์ และ ประเมินค่าสาร จงึ ควรยึดหลัก ดังน้ี ๑. อา่ นสารนั้นอย่างครา่ ว ๆ ครง้ั หน่งึ กอ่ น ในครง้ั ต่อไปควรอา่ นสาร อย่างละเอียด ๒. วเิ คราะห์ให้ได้วา่ สารท่อี ่านเป็นสารประเภทใด เชน่ ขา่ ว บทวจิ ารณ์ คานา เพลง หรอื บทความ เปน็ ต้น ๓. วจิ ารณ์แนวความคดิ และการนาเสนอของผเู้ ขียนสารนัน้ ตาม ลักษณะการเขียน ทง้ั รูปแบบ เน้ือหา และ การใช้ภาษา ๔. ตคี วามและประเมนิ ค่าสารอยา่ งมีเหตผุ ล ตามลกั ษณะของสารแต่ ละประเภทว่าดี มีคณุ ค่า มปี ระโยชน์ หรือไม่ เพียงใด

การวจิ ารณ์ความสมเหตุสมผล การลาดบั ความและความเปน็ ไปไดข้ องเรอื่ ง งานเขยี นที่เปน็ ร้อยแก้ว บันเทงิ คดี จะต้องพจิ ารณาองคป์ ระกอบของเรื่องว่า สอดคลอ้ งเหมาะสมกนั หรือขัดแย้งกันหรอื ไม่ในกรณีท่ีเป็นรอ้ ยแกว้ หรอื บันเทิงคดีกต็ ้องดูโครง เรอื่ ง ตวั ละคร ฉาก การดาเนินเร่ือง ปมขดั แยง้ ของเร่ือง การคล่ีคลาย ปมขดั แย้งไปจนจบเรือ่ ง วิเคราะหถ์ งึ ความสมเหตุสมผล พจิ ารณาเนอ้ื เร่อื งอย่างละเอียดถึงคณุ คา่ พฤตกิ รรมตัวละคร วา่ มีความสอดคลอ้ ง นา่ เช่ือถอื หรือไม่ การใช้ภาษาในเรือ่ งเหมาะสมกับบคุ คลหรอื ไม่ งานเขียนท่ีเป็นร้อยกรอง จะต้องพจิ ารณาถึงรูปแบบคาประพันธ์ว่าเหมาะสมกบั เนื้อหา หรอื ไม่ เนื้อหามคี ณุ ค่าในการสร้างความเพลดิ เพลนิ ประเทืองปญั ญา สร้างความสะเทอื นอารมณ์ สะทอ้ นสังคม ให้ความรู้ความคดิ มีคติ เตอื นใจหรอื ไม่ และในดา้ นวรรณศลิ ปต์ อ้ งพิจารณาว่า การใชถ้ อ้ ยคา ในการแตง่ ใช้สานวนโวหารไพเราะคมคายหรือไม่ มกี ลวิธกี ารสรา้ ง ภาพพจน์และการใช้คาดีเพยี งใด

การวเิ คราะหเ์ พอื่ แสดงความเหน็ โต้แยง้ กับเร่ืองทอ่ี ่าน โดยปกติแลว้ เร่อื งของความชอบหรือรสนิยมเปน็ สิ่งทแี่ ตล่ ะคนเห็น ไมต่ รงกันอยูแ่ ล้ว แมแ้ ตก่ ารใช้เหตผุ ลเพ่ือสบื สาวหาความถูกตอ้ ง ก็ยงั ไม่อาจทาให้ได้ข้อสรุปทเ่ี ห็นพ้องตอ้ งกันได้อย่างแท้จริง เรอ่ื งบางเรือ่ ง สามารถใช้เหตุผลคนละชุด เพ่อื สนับสนุนความคิดทต่ี รงกันขา้ มได้ อยา่ งมีนา้ หนกั ดังน้นั การมีความเห็นทีแ่ ตกตา่ งกันจงึ เปน็ เรอ่ื งธรรมดา เมือ่ เราไม่เห็นด้วยกับเหตุผลของเรอื่ งทีอ่ า่ นกส็ ามารถแสดงความเหน็ โต้แยง้ ได้เสมอ การเขียนโต้แย้ง เป็นการเขยี นแสดงความคิดเห็นลักษณะหนึง่ โดยมงุ่ ที่จะโต้แยง้ ข้อมูล ข้อคิดเหน็ หรอื เหตผุ ลของเรอ่ื งทไ่ี ดอ้ า่ นด้วยความคิดเห็น ในทางสรา้ งสรรค์ ด้วย ข้อมลู สถิติและการเรียบเรยี งเหตุผลของเรา เอง การเขียนโตแ้ ย้งมีหลักการ ดังน้ี ๑. กาหนดหวั ข้อและขอบเขตของการโต้แย้ง เพ่อื จะไดไ้ ม่หลงประเด็น ๒. แบ่งเนื้อหาออกเปน็ ประเดน็ เพ่อื ไมใ่ ห้เกิดความสบั สน ๓. การโต้แยง้ จะตอ้ งมีพนื้ ความรู้ดพี อเกี่ยวกับหัวขอ้ ที่จะโตแ้ ยง้ ๔. เรียบเรียงและนาเสนอขอ้ โตแ้ ย้งได้อย่างละเอียดชดั เจน

ข้อควรระวังในการเขียนโตแ้ ยง้ ไม่ควรเขยี นโตแ้ ย้งด้วยความเหน็ ท่ีรุนแรงจนก่อใหเ้ กดิ ความ แตกแยก ต้องระมัดระวังในการใชภ้ าษา ไม่ควรใช้ภาษาทไ่ี ม่สภุ าพ ไม่ ใชค้ าท่ีเสยี ดสี เยาะเย้ย ดถู ูกหรือดหู มนิ่ ผูเ้ ขียนบทความ ไม่เขยี นดว้ ย อารมณ์ ไมพ่ าดพงิ ใหเ้ กิดความกระทบกระเทอื นแก่ผอู้ ืน่ อันอาจเป็น บุคคลหรือเป็นสิง่ ท่บี คุ คลจานวนมากเคารพนับถอื ซึง่ อาจกลายเป็น ชนวนใหเ้ กดิ ความแตกแยก หรือความเข้าใจผิดลกุ ลามตอ่ ไปได้เราควร พิจารณาโต้แย้งทเี่ หตุผลเปน็ สาคญั เท่านั้นและควรเขยี นเชงิ สรา้ งสรรค์ หลกั การวเิ คราะห์การอา่ น ๑. พิจารณารูปแบบการประพันธ์ ว่าเป็นวรรณกรรม ประเภทใด เชน่ บนั เทงิ คดปี ระเภท สารคดี นวนิยาย นทิ าน เรื่องส้นั ตาราในสาขาวิชา ตา่ ง ๆ เป็นต้น ๒. ศกึ ษาประวัตผิ ู้แต่ง จุดมุ่งหมายในการแตง่ และทมี่ า ของเรอ่ื ง การ รู้จักผูแ้ ตง่ จะทาใหผ้ อู้ า่ นเขา้ ใจเรอ่ื งทแ่ี ตง่ ชดั เจนย่ิงข้นึ การอ่านคานา จะทาให้เข้าใจจุดประสงค์ ในการแต่งและทมี่ าของเร่ือง ๓. พจิ ารณาองคป์ ระกอบของเรื่อง ว่าสอดคล้อง เหมาะสมกันหรอื ขัดแย้งกัน เชน่ การวิเคราะหร์ ้อยแก้ว ประเภทบันเทงิ คดี ตอ้ ง วิเคราะห์โครงเร่ือง ตัวละคร ฉาก การดาเนนิ เรือ่ งปมขดั แยง้ ตลอดจน วเิ คราะห์ ถึงการแสดงความคดิ เห็น ความสอดคลอ้ งสมเหตสุ มผล

หลกั การวิเคราะหก์ ารอ่าน ๔. พจิ ารณาเนื้อหา การนาเสนอและพฤติกรรม ของตัวละคร ว่ามี ความสอดคล้องกนั หรือไม่ สะทอ้ นภาพชีวติ สะท้อนสภาพสงั คม แตกต่างกนั อย่างไร ๕. พิจารณาแก่นเร่ือง ว่าผ้แู ตง่ ตัง้ ใจท่ีจะสื่อเร่ืองราว เกี่ยวกับอะไร ผู้ แต่งแสดงความคดิ เห็น รสนยิ ม และค่านยิ มอยา่ งไร ๖. การวจิ ารณ์สรุปด้วยความคิดเห็นของผู้วจิ ารณ์เอง โดยยกข้อดใี ห้ เห็นก่อนวา่ ดอี ยา่ งไร แล้วจงึ ยกขอ้ บกพรอ่ ง วา่ บกพรอ่ งอยา่ งไร จะ แก้ไขอยา่ งไร การวิจารณค์ วร เปน็ ไปอยา่ งสรา้ งสรรค์ เป็นธรรม มใี จ เป็นกลาง ไม่มอี คติ ตวั อย่าง เชน่ “ครีมออร่าหน้าใส ใช้แลว้ หน้าขาวขึน้ ใน ๗ วัน” “ผลติ ภณั ฑเ์ สริมอาหาร ทานวันละ ๑ เม็ด หุน่ เพรียวจนคุณต้องแปลกใจ”

ต้งั ใจเรียน นะคะ ครูโชตกิ า จนั ทรจ์ นั ทกึ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook