Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือการ์ตูนธิดาซาตาน ตอน สมดุลเคมี

หนังสือการ์ตูนธิดาซาตาน ตอน สมดุลเคมี

Published by จุไรวรรณ ปรางหมู่, 2020-02-23 07:45:19

Description: หนังสือการ์ตูนธิดาซาตาน ตอน สมดุลเคมี

Search

Read the Text Version

ธิดา ซาตาน สมดุลเคมี (Chemical equilibrium) ...เมอื่ เหตุทั้งส่ไี ดก้ าเนดิ ข้นึ จะบงั เกิดพลังร้ายแห่งซาตาน ทภ่ี าวะสมดลุ ไม่อาจตา้ นได้ ...

แนะนาตัวละคร ลซิ า่ หวั หนา้ แกง๊ ธดิ าซาตาน สาวนอ้ ยขเ้ี ลน่ และเจา้ เสนห่ ์ ผ้คู มุ พลงั แหง่ ความเข้มข้น โอนานา จกุ๊ กรู๊ว ปีศาจรา้ ย จอมเจ้าเลห่ ์ สาวน้อยจอมแก่น ชอบใช้กาลัง ผู้เฝา้ ประตแู ห่งปญั ญา และเปน็ ตัวแมผ่ มู้ ีพลังควบคมุ อุณหภมู ิ พใี่ หญ่ประจาแกง๊ ชอบความ น้องเลก็ ขนี้ ้อยใจ ท้าทาย ผูม้ ีพลงั วิเศษ จะแปลงร่างโดยการเพิม่ เปลย่ี นแปลงความดนั ปริมาตร เมอื่ มใี ครมาทา ปมุ้ ปุย้ ให้เธอโกรธ แนนโนะ

1 กริง๊ งงงงงงงงงง !! หมดเวลาแลว้ เลิกเรยี นได้คะ่ เย้ ! ธิดาซาตาน ขอบคุณค่ะ วันนอ้ี ากาศดีมว๊าก! พวกเราจะไปไหนกันดี ลิซา่ อยากไปแก้บนท่ี ศาลเจ้าหลงั โรงเรียน พาไปหน่อยนะ!

2 ณ ศาลเจ้าพ่อไหหลา พวกเธอดูน่ันส่ิ!! ภตู ผิ ตี ้องมา กนิ น้าแดงท่ถี วายแน่เลย มันไมใ่ ชอ่ ย่างนัน้ หรอกจุก๊ กรู๊ว! สิ่งทเ่ี กิดขน้ึ สามารถอธิบายด้วย หลกั วิทยาศาสตรไ์ ด้นะ เม่ือเวลาผ่านไประดับน้าในภาชนะที่เปิดฝามี ปรมิ าตรลดลงอย่างชัดเจน เนื่องจาก น้ามีการ ระเหยกลายเป็นไอน้าตลอดเวลา จึงทาให้ ระดับน้าลดลง ส่วนระดับน้าในภาชนะท่ีปิดฝา จะไมส่ งั เกตเห็นการเปลย่ี นแปลงไงละ่

แลว้ ในภาชนะทีม่ ฝี าปิดจะเกดิ 3 การเปลี่ยนแปลงมยั้ นะ? สงสัยเหมอื นกนั เลย เดี๋ยวแนนโนะจะอธบิ ายเอง!! นา้ แดงในขวดภาชนะปดิ เริ่มตน้ กเ็ กดิ การเปลี่ยนแปลง แต่เปน็ การเปลีย่ นแปลง ที่ผันกลับไดย้ ังไงละ่ ท่สี มดลุ จะเห็นได้ว่า การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ คือ การเปลี่ยน สถานะ โดยมีการเปลี่ยนแปลงไปข้างหน้า คือ น้าระเหยกลายเป็นไอ น้า และมีการเปล่ียนแปลงย้อนกลับ คือ ไอน้าควบแน่นกลายเป็น น้า น้าที่อยู่ในภาชนะเปิดมีอัตราการระเหยของน้าสูงกว่าอัตราการ ควบแนน่ ของไอนา้ อยูต่ ลอดเวลา เน่ืองจากไอน้าสามารถฟุง้ กระจาย ออกนอกภาชนะได้ ระดับน้าจึงลดลงและไม่สามารถเข้าสู่สมดุลได้ ในขณะท่นี า้ ในภาชนะปิด เมือ่ ระเหยกลายเป็นไอนา้ ไม่สามารถออก นอกภาชนะได้ จึงมีปริมาณของไอน้าเพิ่มข้ึน ซ่ึงทาให้อัตราการ ควบแน่นเพ่ิมขึ้นด้วย จนกระท่ังอัตราการควบแน่นของไอน้าเท่ากับ อัตราการระเหยของน้า ระบบจะเข้าสู่สมดุล ทาให้ระดับน้าใน ภาชนะปดิ คงที่ไงล่ะจะ้

เสรมิ ความรู้ 4 ปฏิกิริยาเคมีเปน็ การศึกษาการเปลย่ี นไปของ เหมอื นกับเธอมเี งนิ สารตง้ั ต้นไปเป็นสารผลติ ภณั ฑ์ แลว้ จา่ ยอย่างเดยี ว โดยไม่ทางานหา 1.ปฏิกิรยิ าท่ีเกดิ ข้ึนอย่างสมบรู ณ์ เงนิ ชวี ติ เธอกไ็ ม่ สมดุลไงละ่ เปน็ ปฏกิ ิรยิ าทผี่ นั กลบั ไมไ่ ด้ (irreversible reaction) เน่ืองจากเมื่อสารตงั้ ต้นเกดิ ปฏิกริ ิยากันแล้วจะเปล่ียนเป็น สารผลิตภณั ฑ์ท้งั หมดระบบจงึ ไม่สมดุล ปฏกิ ริ ยิ าการเผาไหมถ้ า่ นกบั O2 ในอากาศ จานวนมาก เกินพอเกดิ CO2 C(s) + O2(g) → CO2(g) 2.ปฏิกิรยิ าทเ่ี กดิ ข้ึนอย่างไมส่ มบูรณ์ เปน็ ปฏกิ ริ ิยาทไี่ ปขา้ งหน้าแลว้ ย้อนกลับไดเ้ อง หรอื เรียกวา่ ปฏิกริ ิยาผันกลับได้ (reversible reaction) ซงึ่ ประกอบดว้ ย ปฏกิ ิริยาไปขา้ งหน้า (forward reaction) และปฏกิ ิริยา ยอ้ นกลับ(backward reaction)ไงล่ะ การเปลยี่ นสถานะของไอนา้ กลายเป็นน้าในระบบปิด H2O(g) ⇌ H2O(l)

5 ซึง่ ปรากฎการณ์ทีน่ า้ ในขวดภาชนะปดิ ไม่ลด ปรมิ าตร เรียกวา่ ภาวะสมดลุ (equilibrium state) ใช่แลว้ จา้ ! เราจะรไู้ ดว้ า่ เปน็ ปฏิกริ ยิ าเคมีทผี่ ันกลบั ได้ เมื่อ อตั รา การเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าไปขา้ งหน้าเท่ากับอัตราการเกิดปฏกิ ริ ิยาย้อนกลบั ทาใหป้ ฏกิ ริ ิยามอี ตั ราการเปลีย่ นแปลงสทุ ธิเท่ากับศูนย์ เราจงึ เรยี ก ระบบ ณ จดุ นว้ี ่า “ภาวะสมดลุ ไดนามกิ หรอื สมดลุ พลวัต (dynamic equilibrium)” หรือนยิ มเรียกย่อๆว่า ภาวะสมดลุ ปฏิกริ ิยา ไงละ่ อ๋อๆ ทค่ี ณุ ครดู นี ่าสอนใช่มัย้ A+B⇌C + D จะไดว้ า่ A + B → C + D ปฏกิ ิรยิ าไปข้างหน้า A + B ← C + D ปฏิกิริยายอ้ นกลบั ปฏกิ ริ ยิ าทม่ี ที ั้งปฏกิ ิริยาไปข้างหนา้ และยอ้ นกลบั เขียนแทน ดว้ ยลกู ศรไป-กลบั (⇌) ใช่มัย้ ท่ลี ิซา่ จาได้ อะ่ ถกู ต้องแลว้ คา้ บ เกง่ มากจรงิ ๆ ตัวอย่าง การระเหดิ ของไอโอดีนในระบบปิด โดยการเปล่ยี นสถานะ จากของแขง็ เปน็ แก๊ส I2(s) ⇌ I2(g) “เป็นการเปลยี่ นแปลงภาวะสมดุลระหว่างสถานะ”

6 ปฏกิ ริ ยิ าการสลายตัวของ N2O4ในระบบปดิ ปฏิกริ ยิ า N2O4(g) ⇌ 2NO2(g) ท่ีสมดุลปฏิกิริยาพบว่า อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้ามีค่า เทา่ กับอัตราการเกิดปฏกิ ริ ยิ าไปข้างหลงั ซึ่งที่ภาวะนี้ความเข้มข้น ของสารจะมคี า่ คงทไ่ี ม่วา่ ปฏิกริ ยิ าจะเร่ิมตน้ ดว้ ยสารตวั ใด 2NO2(g) → N2O4(g) N2O4(g) → 2NO2(g) N2O4 N2O4 NO2 NO2 หาข้อมูลแปบ้ ! ตวั อย่าง ภาวะสมดุล

เสรมิ ความรู้ 7 คา่ คงที่สมดลุ (equilibrium constant; K) เป็นคา่ แสดง ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของสารต่างๆท่ภี าวะสมดลุ จากปฏกิ ริ ยิ า aA + bB ⇌ cC + dD จะเขียนคา่ คงทสี่ มดลุ ได้ว่า ������ = ������ ������ ������ ������ ������ ������ ������ ������ เมอ่ื [ ] แทนคา่ ความเขม้ ข้นโมลของสารตา่ งๆที่ภาวะสมดลุ แลว้ คา่ คงท่ีสมดุล มปี ระโยชน์ยงั ไงเหรอจ้ะ มีประโยชน์สามารถบอกให้ทราบว่าเมื่อระบบเข้าสู่สมดลุ จะมี ปริมาณสารตา่ งๆในปฏกิ ริ ยิ าตา่ งกนั อย่างไร ดังน้ี K > 1 สมดุลเลื่อนไปทางซา้ ย (สารตง้ั ตน้ > ผลติ ภณั ฑ์) K < 1 สมดุลเลอื่ นไปทางซ้าย (ผลิตภณั ฑ์ > สารตัง้ ต้น) K = 1 ปฏกิ ริ ยิ าอยูใ่ นภาวะสมดุล ในกรณีท่ีปฏกิ ริ ยิ าทมี่ สี ถานะเป็นแก๊สทง้ั หมดจะนยิ มใช้ความดนั ย่อยของแก๊สและใชส้ ญั ลกั ษณ์ Kp (p-pressure) แทน KC (c-concentration)

8 แสงจา้ มาก วงิ๊ งงงงงงงค์ ว้าววววว พวกแก! เห็นแสงนัน้ ม้ยั เหมือนมใี ครกาลังพงุ่ มาทางนี้ โฮะๆๆๆ สวสั ดสี าวๆธิดาซาตาน ขา้ เปน็ ใครพวกเจ้าไม่ต้องรู้ แตข่ า้ จะพา เจา้ ไปเลน่ เกมสนกุ ๆ พวกเจ้าพร้อมมย้ั ? พวกเราจะโดนหลอกมยั้ เนย่ี ! อย่าไปหลงเช่อื คนแปลกหน้านะ! พวกเจา้ หมดเวลาคิดแลว้ เอาเปน็ ว่าพวกเจ้าตกลงท่ีจะสนกุ ไป กับข้า! โฮะ๊ ๆๆๆๆๆๆ

9 เราอยทู่ ีไ่ หนกนั เน่ยี เปน็ ไงล่ะ ไม่น่าหลงกล คนแปลกหน้าเลย แนนโนะวา่ เราตอ้ งรีบหา ทางออกจากท่นี ี่เถอะ !

10 เย้! น่นั ประตู ทางออกน่ิ ครดื้ ดดดดๆๆ เสยี งอะไรนะ่ ยินดตี อ้ นรบั สาวๆธิดาซาตาน ส่หู ้องสมุดแหง่ ปญั ญา เจา้ เป็นใคร?? ขา้ คอื โอนานา ผู้ดูแลประตแู หง่ ปญั ญา หากพวกเจ้าจะออก จากทแี่ หง่ น้ี ตอ้ งแลกดว้ ยความรแู้ ละสติปัญญาของเจ้า

11 ถ้าอย่างน้นั อย่าหวังวา่ จะได้ ออกไปจากท่ีแหง่ นี้ ! แล้วจะให้พวกเรา ทายงั ไง ? ข้ามียาวิเศษอยู่ 3 ขวดที่ปรุงขึ้นมาจากน้าลายมังกรซ่ึงมี ประโยชน์มากมาย ผสมด้วยแก๊สแห่งความริษยา จะกลายเป็น พิษร้ายแรง ซึ่งจะเปลี่ยนกลับไปกลับมาอย่างสมดุล ข้ึนอยู่กับ ดวงของเจา้ โดยเจ้าจะตอ้ งกินยานี้ ไม่ให้เจ้าตาย ทายังไงดพี วกเรา พวกเธอจาท่คี ณุ ครสู อนเรื่อง หลักเลอชา เตอลิเอ (Le Chatelier's principle) ไดม้ ้ัย ซึง่ ใช้ทานายทศิ ทางของการเกดิ ปฏิกิริยา ยังไงเหรอ ? “ เมื่อระบบทีอ่ ยู่ในสภาวะสมดุลถกู รบกวนจากปัจจัยภายนอก ซ่ึง จะส่งผลให้สมดุลของระบบเสียไป ระบบจะพยายามปรับตัวไปใน ทิศทางท่จี ะทาให้ปัจจัยท่ีรบกวนนั้นลดลงเหลือน้อยที่สุดแล้วระบบ จะกลบั เข้าสสู่ ภาวะสมดุลอกี ครง้ั ”

เสริมความรู้ 12 อองรี-ลยุ เลอชาเตอลิเอ (Henri Louis Le Chatelier) ศกึ ษาขอ้ มูลปัจจัยท่มี ผี ลกระทบตอ่ สภาวะสมดุลของปฏิกิรยิ าเคมี “ เมอื่ ระบบที่อยู่ในสภาวะสมดุลถูก รบกวนจากปัจจัยภายนอก ซึ่งจะ ส่ ง ผ ล ใ ห้ ส ม ดุ ล ข อ ง ร ะ บ บ เ สี ย ไ ป ระ บ บจ ะ พย าย าม ป รับ ตั วไ ป ใ น ทิศทางท่ีจะทาให้ปัจจัยท่ีรบกวนนั้น ลดลงเหลือน้อยที่สุดแล้วระบบจะ กลับเขา้ ส่สู ภาวะสมดลุ อีกครง้ั ” ระบบหรอื ปฏกิ ริ ิยาเคมีที่สนใจจะเกิดการเปลีย่ นแปลงเพื่อปรับตัวเข้า สู่สมดุลอีกครั้งโดยเปล่ียนจากซ้ายไปขวาเพื่อเพ่ิมผลิตภัณฑ์หรือ เปลี่ยนจากขวาไปซ้ายเพอ่ื ลดผลติ ภณั ฑ์ การเปลี่ยนแปลงความเข้มขน้ การเปล่ียนแปลงความดันและปริมาตร การเปลย่ี นแปลงอุณหภมู ิ

13 ถ้าอย่างนั้นเราต้องรบกวนสภาวะสมดุลของ ระบบสิ่นะ ไมใ่ ห้น้าลายมังกรกลายเปน็ ยาพิษได้ อ๋อๆ เราต้องเปลีย่ นแปลงความเข้มข้น เมื่อปฏิกิริยาเข้าสู่สมดุลที่อุณหภูมิคงที่ หากมีการ ร บ ก ว น ร ะ บ บ จ า ก ก า ร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง ค ว า ม เ ข้ ม ข้ น ปฏกิ ริ ิยาจะปรับภาวะเข้าสสู่ มดุล - เพ่มิ ความเข้มของสาร : ระบบจะทาปฏิกิริยาเพื่อลด ความเขม้ ขน้ ของสารทีถ่ ูกเติม - ลดความเข้มของสาร : ระบบจะทาปฏิกิริยาเพ่ือเพ่ิม ความเข้มขน้ ของสารทถี่ ูกเปล่ยี นไป ใชๆ่ เลศิ มาก จดั การเลย! ดั ง นั้ น เ ร า ต้ อ ง ใ ส่ ย า พิ ษ ล ง ไ ป ใ น ขวดยาสิ่นะ เพ่ือเพิ่มความเข้มข้น ของสาร ปฏิกิริยาจะลดความ เข้มข้นของยาพิษ ภาวะสมดุลจะ เล่ือนไปทางซ้าย โดยจะทาให้ นา้ ลายมังกรเพิ่มมากขึ้น

เสริมความรู้ 14 เมอ่ื ปฏิกิริยาเข้าสสู่ มดลุ ทอ่ี ุณหภมู ิคงที่ หากมีการรบกวนระบบจาก การเปลี่ยนแปลงความเข้มข้น ปฏกิ ริ ิยาจะปรบั ภาวะเข้าสสู่ มดุล ดงั นี้ เพ่ิมความเขม้ ของสาร : ระบบจะทาปฏกิ ิรยิ าเพ่อื ลดความ เข้มขน้ ของสารท่ถี กู เติม ลดความเขม้ ของสาร : ระบบจะทาปฏิกิรยิ าเพ่อื เพมิ่ ความเขม้ ข้น ของสารท่ถี กู เปลีย่ นไป ปฏิกริ ิยาการเกิดไอออนสารประกอบเชงิ ซอ้ นเหล็ก(III)ไธโอไซยาเนต (iron (III) thiocyanate complex ion; FeSCN2+) Fe3+(aq) + SCN-(aq) ⇌ FeSCN2+(aq) สีแดง สเี หลอื ง ไมม่ ีสี จากปฏิกิริยาระหว่างสารละลายเฟอร์ริกคลอไรด์ (FeCl3) กับสารละลาย โพแทสเซียมไธโอไซยาเนต (KSCN) จะได้สารละลายสีแดงของ FeSCN2+ พบว่า สภาวะสมดุลของปฏิกิริยาสามารถถูกรบกวนได้หากมีการเปลี่ยนแปลงความ เขม้ ขน้ ของสารตา่ ง ๆ ดงั น้ี เพิ่ม Fe3+ โดยเติม Fe(NO3)3 ลงในปฏิกิริยา ดังน้ันปฏิกิริยาจะลด Fe3+ ท่ี เกนิ โดยให้ทาปฏกิ ิรยิ ากับ SCN- เพม่ิ ข้นึ ภาวะสมดลุ จึงเล่อื นไปทางขวาปฏกิ ริ ยิ าจะ มีสีแดงเขม้ ขึน้ เพมิ่ SCN- โดยเติม NH4SCN ลงในปฏิกิริยา ดังนั้นปฏิกิริยาจะต้องลด SCN- ทีเ่ กนิ โดยทาปฏิกริ ยิ ากบั Fe3+ เพิม่ ขนึ้ ทาให้ภาวะสมดุลเลอ่ื นไปทางขวาปฏกิ ิริยามี สแี ดงเขม้ ข้นึ ลด Fe3+ โดยการเติม NaOH ลงในปฏิกิริยา เน่ืองจาก Fe เกิดตะกอน Fe(OH)3 ดังนั้นปฏิกิริยาจะต้องชดเชย Fe3+ ที่ลดลง โดยการทาให้เกิดปฏิกิริยา ย้อนกลับเพิ่มมากขึ้นสีของสารละลายจะจางลงโดยทิศทางของปฏิกิริยาจะเลื่อน จากขวาไปซา้ ย

15 ยังมีอกี นะ การเปลย่ี นแปลงความดนั และปริมาตรไงล่ะ การเปลี่ยนแปลงความดันและปริมาตรจะ มี ผ ล ต่ อ เ ฉ พ า ะ ปฏิ กิ ริ ย า เ ค มี ท่ี มี แ ก๊ ส เ ป็ น องค์ประกอบเท่านั้น โดยผลการรบกวนจาก ความดนั จะมีตอ่ จานวนโมลของแกส๊ ในระบบ แต่ยาวิเศษนีไ้ มม่ แี ก๊ส เปน็ องค์ประกอบนะ มีสิ่ กแ็ ก๊สแห่งความรษิ ยายังไงล่ะ เราต้องทาใหน้ า้ ลายมังกรมีโมลมาก เพราะถ้าลดความดันหรือเพิ่ม ถ้าอย่างน้ันอย่ารอช้า ปริมาตร จะพบว่าระบบพยายาม จดั การเลย! เพิ่มความดันด้านที่มีจานวนโมล มากการเกิดปฏิกิริยาไปในทิศทาง ที่มีจานวนโมลมาก ดังนั้นเราทา ให้ทิศทางของปฏิกิริยาเลื่อนไป ทางซ้ายไงล่ะ

เสริมความรู้ 16 ปฏกิ ริ ิยาเคมีที่มแี กส๊ เป็นองคป์ ระกอบเทา่ นนั้ ผลการรบกวนจากความดันจะมีต่อจานวนโมลของแก๊สในระบบซ่ึงจะ แยกพจิ ารณาได้ 2 กรณี ดงั นี้ กรณีที่ 1 ผลรวมจานวนโมลของสารต้ังต้นท่ีเป็นแก๊ส ไม่เท่ากับ ผลรวมจานวนโมลของสารผลิตภัณฑ์ท่เี ปน็ แกส๊ 2Al(s) + 3Br2(g) ⇌ 2AIBr(s) (แกส๊ รวม 0 + 3 = 3โมล) (แกส๊ รวม 0 โมล) ถ้าเพ่ิมความดันหรือลดปริมาตร ถ้าลดความดันหรือเพิ่มปริมาตร พบว่าระบบพยายามลดความดัน จ ะ พ บ ว่ า ร ะ บ บ พ ย า ย า ม เ พิ่ ม ด้านที่มีจานวนโมลมากโดยใหร้ ะบบ ค ว า ม ดั น ด้ า น ท่ี มี จ า น ว น โ ม ล เ กิ ด ป ฏิ กิ ริ ย า ไ ป ท า ง ด้ า น โ ม ล น้ อ ย ม า ก ก า ร เ กิ ด ป ฏิ กิ ริ ย า ไ ป ใ น น่ันคือทิศทางปฏิกิริยาจะเลื่อนไป ทิศทางทีม่ ีจานวนโมลมาก ทาให้ ทางขวา ทิ ศ ท า ง ข อ ง ป ฏิ กิ ริ ย า เ ลื่ อ น ไ ป ทางซา้ ย กรณีที่ 2 ผลรวมจานวนโมลของสารตั้งต้นท่ีเป็นแก๊ส เท่ากับ ผลรวมจานวนโมลของสารผลิตภัณฑ์ทเี่ ปน็ แกส๊ (∆������ = ������) H2(g) + I2(g) ⇌ 2HI (g) (แกส๊ รวม 1 + 1 = 2โมล) (แกส๊ 2 โมล) ถ้าสภาวะสมดลุ ของระบบถกู รบกวนโดยเพมิ่ หรือลดความดันจะไม่ มีการเปล่ียนแปลงใดๆ เนอื่ งจากการเพิ่มหรือลดจะมีผลต่อท้ังสาร ตง้ั ตน้ และสารผลิตภัณฑเ์ ทา่ กัน

17 เหลืออกี 1 ขวด จะทายังไงดี ? ก็เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิไงล่ะ เมื่อสภาวะสมดุลถูก รบกวนโดยการเปล่ียนแปลงอุณหภูมิ อัตราเร็วในการ เคลื่อนทขี่ องสารในปฏิกิริยาจะเปล่ียนทาให้ภาวะสมดุล จะเปลย่ี นไปและค่าคงทสี่ มดุล (K) เปล่ยี นไปดว้ ย หมดเวลาคิดแล้ว ได้เวลาท่ีพวก เจ้าต้องกินยาวิเศษเพ่ือเสี่ยงดวง แล้วหละ พวกเราตอ้ งรอดไป จากท่ีนใ่ี หไ้ ด้ ! อึกๆๆๆ วิ้งค!์

เสรมิ ความรู้ 18 เ ม่ื อ ส ภ า ว ะ ส ม ดุ ล ถู ก ร บ ก ว น โ ด ย ก า ร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง อุ ณ ห ภู มิ อัตราเร็วในการเคลื่อนที่ของสารในปฏิกิริยาจะเปล่ียนทาให้ภาวะ สมดุลจะเปลี่ยนไปและค่าคงที่สมดุล (K) เปล่ียนไปด้วย โดยอธิบาย การปรบั ตวั ของระบบ ปฏิกิรยิ าดดู ความรอ้ น : A + B + heat → C + D ปฏิกริ ยิ าคายความรอ้ น : A + B → C + D + heat

19 เย้ ! พวกเรายงั ไม่ตาย ถือวา่ พวกเจ้าโชคดที ีม่ ีความรู้ติดตวั มา ข้าจะทา ตามสญั ญาโดยจะปล่อยพวกเจ้าไปนะบัดน้ี ฟริง้ งงงงงงงงงงงงงค์ นีม่ ันศาลเจา้ นิ่ พวกเรารอดแล้ว เย้! นี่พวกเราอยทู่ ่ีไหนเนยี่ ไว้เจอกนั พรุง่ นี้นะ ทุกคน ธิดาซาตานเกง่ มากจรงิ ๆ พวก เรารีบกลับบา้ นเถอะ พ่อแม่คง เปน็ ห่วงแล้ว บา๊ ยบาย!

20 แหลง่ อ้างองิ วฒั น สุทธศิ ิริมงคล. (2558). ULTRA CHEMISTRY สรุปเคมี มัธยม ปลาย. กรงุ เทพฯ :กรีนไลฟ์ พร้นิ ท์ติง้ เฮาสจ์ ากดั . ศริ พิ ร จนั ทรคีร.ี (2561). หลักเคมเี ลม่ 2. มหาวิทยาลัยทกั ษณิ . Thank you Copyright of 4Angies สีส่ าวแสนซน Copyright of Smurfs

21 ข้อมลู ผูจ้ ดั ทา รว่ มกับ นสิ ติ กศ.บ.เคมี ชนั้ ปี ที่ 4 นางสาวจไุ รวรรณ ปรางหมู่ รหัสนสิ ิต 591031273 พีจ่ ุ๊ นายชิษณพงศ์ บุญจิตร์ รหสั นสิ ติ 591031276 พีเ่ กมส์ นายปรเมศวร์ มณี รหัสนสิ ติ 591031280 พีเ่ มษ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook