Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Tax

Published by aaa2518, 2018-03-21 00:44:57

Description: Tax

Search

Read the Text Version

วชิ าการภาษอี ากรการเกบ็ คะแนน 60 : 40 โดยพจิ ารณา ดงั นี้ = 10 คะแนน1. คะแนนเวลา = 20 คะแนน2. งานมอบหมาย + กจิ กรรม + จติ พสิ ัย = 30 คะแนน3. ทดสอบในบทเรียน = 40 คะแนน4. ทดสอบปลายภาคเรียน = 100 คะแนน5. รวมคะแนนทนี่ าไปพจิ ารณาผลการเรียน

ความหมายของภาษอี ากร• สรุป ความหมายของภาษีอากร คอื เงินท่ีรัฐบาล บงั คบั เรียกเกบ็ จากประชาชน เพอ่ื นาไปใช้จ่ายใน กจิ การของรัฐบาลโดยส่วนรวม ซึ่งไม่มผี ลตอบแทน แก่ผู้เสียอากรโดยตรง

ที่มาของรายรับของรัฐบาล1) การเก็บภาษีอากร ซ่ึงเก็บจากบุคคลทั่วไปตามเงื่อนไขและหลักเกณฑ์ทกี่ าหนดไว้ในกฎหมาย2) การหาประโยชน์จากทรัพย์สินและการขายสินค้าบริการ เช่น รายได้จากกจิ การไฟฟ้ า กจิ การโทรศัพท์ กจิ การนา้ ประปา กจิ การโรงงานยาสูบ เป็ นต้น3) การกู้ยืมเงิน ในยามจาเป็ นรัฐบาลอาจจะต้องกู้ยืมเงินมาใช้ในการพัฒนาประเทศ ซ่ึงอาจจะกู้จากในประเทศหรืออาจจะกู้จากต่างประเทศ เช่น กู้ยืมจากธนาคารโลก ฯลฯ4) การพมิ พ์ธนบัตร โดขต้องมที ุนสารองเงนิ ตรา ซ่ึงได้แก่ ทองคาเงินตราต่างประเทศ หลกั ทรัพย์ต่างประเทศ เป็ นต้น5) เงินช่วยเหลอื จากต่างประเทศหรือจากองค์การระหว่างประเทศประเทศต่าง ๆ หรือองค์การระหว่างประเทศอาจให้เงินช่วยเหลอื แก่ประเทศไทยเป็ นคร้ังคราว

วตั ถุประสงค์ในการจดั เกบ็ ภาษอี ากร1) เพอื่ หารายได้ของรัฐบาล2) เพอ่ื ควบคุมเศรษฐกจิ ในแง่ต่าง ๆ ดงั ต่อไปนี้ 2.1) เพอ่ื ควบคุมหรือส่งเสริมพฤตกิ รรมทางเศรษฐกจิ 2.2) เพ่ือการจัดสรรรายได้ ทรัพย์สิน และการบริโภคของประชาชน 2.3) เพอื่ พฒั นาเศรษฐกจิ

ลกั ษณะภาษอี ากรที่ดี1) หลกั ความเป็ นธรรม2) หลกั ความแน่นอนและชัดเจน3) หลกั ความเป็ นกลางทางเศรษฐกจิ4) หลกั ความยดื หยุ่น5) หลกั อานวยรายได้6) หลกั ประสิทธิภาพในการบริหารจดั เกบ็

โครงสร้างของภาษีอากร1) ผู้มีหน้าท่ีเสียภาษีอากร ตามประมวลรัษฎากรจะมีการกาหนดให้บุคคลมีหน้าที่ในการเสียภาษีอากร การกาหนดว่าบุคคลใดมีหน้าท่ีเสียภาษีน้ันย่อมเป็ นไปตามวัตถุประสงค์ของกฎหมายภาษีอากรในแต่ละประเภท โดยอาจกาหนดตามฐานะของผู้มีหน้าท่ีเสียภาษีอากร ได้แก่ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาภาษีเงินได้นิติบุคคล หรือตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ซึ่งเป็ นบุคคลตามกฎหมายคอื บุคคลธรรมดาและนิติบุคคลน่ันเอง

2) ฐานภาษีอากร - ความหมายของฐานภาษีอากร แบ่งเป็ น 2 ประเภท ดังนี้ (1) ความหมายอย่างแคบ หมายถึง ส่ิงท่ีรองรับอัตราภาษีอากร คือ ฐานภาษีอากรท่ีจะนาไปคานวณกับอัตราภาษีอากรจะต้องปรับปรุงไว้ เช่น ฐานภาษีเงินได้บุคคลธรรม จะนาเงินได้พงึ ประเมินที่ผู้เสียภาษีเงินได้ไปคานวณภาษีโดยทันทีไม่ได้ จะต้องหักค่าใช้จ่ายและหักค่าลดหย่อนต่าง ๆ ออกเสียก่อน ดังน้ัน ฐานภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาจงึ หมายถงึ เงินได้สุทธิ

(2) ความหมายอย่างกว้าง หมายถึง ส่ิงทีเ่ ป็ นมูลเหตุให้บุคคลต้องเสียภาษีซ่ึงแยกตามประเภทได้ ดังต่อไปนี้- ฐานรายได้- ฐานทรัพย์สิน- ฐานการบริโภค- ฐานสิทธิพเิ ศษในการประกอบการ

สูตรการคานวณภาษเี งนิ ได้บุคคลธรรมดาเงนิ ได้พงึ ประเมนิ - ค่าใช้จ่าย - ค่าลดหย่อน = เงนิ ได้สุทธิ × อตั ราภาษี= จานวนภาษีทต่ี ้องชาระ - (ภาษีหัก ณ ท่จี ่าย + ภาษคี ร่ึงปี + เครดติ ภาษ)ี= เสียภาษเี พมิ่ หรือ รับภาษคี นื

อตั ราภาษีอากร- อตั ราภาษีอากร โดยทวั่ ไปมี 3 รูปแบบ ดังต่อไปนี้1) อตั ราแบบก้าวหน้า ใช้กบั ภาษเี งินได้บุคคลธรรมดา ตารางอตั ราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาปี ปัจจุบนัช่วงเงินได้สุทธิ อตั ราภาษี หมายเหตุ0 - 100,000 5% (ยกเว้นภาษี)100,001 - 150,000 10 % (ยกเว้นภาษี)150,001 - 500,000 10 %500,001 - 1,000,000 20 %1,000,001 - 4,000,000 30 %4,000,001 บาทขนึ้ ไป 37 %

2) อัตราแบบคงที่ ใช้ กับภาษีเงินได้นิติบุคคล ในอัตราร้อยละ 30 ของกาไรสุทธิ (ภาษมี ูลค่าเพมิ่ 7 %) 3) อัตราภาษีแบบถอยหลัง (ถดถอย อัตราภาษีอากรท่ีเรียกเกบ็ จะลดลง )

ตวั อย่างที่ 199เงนิ ได้สุทธิ 170,000 บาทเสียภาษีจานวนเท่าใดวธิ ีการคานวณช่วงเงนิ ได้สุทธิ 0 - 100,000 เสียภาษี 5% = ยกเว้นช่วงเงนิ ได้สุทธิ 100,001-150,000 เสียภาษี 10% = ยกเว้นช่วงเงนิ ได้สุทธิ 150,001-170,000 เสียภาษี 10% = 2,000 บาท จานวนภาษีท่ตี ้องชาระ = 2,000 บาท

ตัวอย่างท่ี 299เงนิ ได้สุทธิ 650,000 บาทเสียภาษีจานวนเท่าใดวธิ ีการคานวณช่วงเงนิ ได้สุทธิ 0 - 100,000 เสียภาษี 5% = ยกเว้นช่วงเงนิ ได้สุทธิ 100,001-150,000 เสียภาษี 10% = ยกเว้นช่วงเงนิ ได้สุทธิ 150,001-500,000 เสียภาษี 10% = 35,000 บาทช่วงเงนิ ได้สุทธิ 500,001-650,000 เสียภาษี 20% = 30,000 บาท จานวนภาษีท่ตี ้องชาระ = 65,000 บาท

วธิ ีการชาระภาษอี ากร 1) การชาระภาษีอากรโดยวธิ ีประเมินตนเอง 2) การชาระภาษีโดยวธิ ีประเมินโดยเจ้าพนักงาน 3) การชาระภาษีโดยวธิ ีหัก ภาษี ณ ที่จ่ายโทษของภาษอี ากร 1) โทษทางแพ่ง 2) โทษทางอาญา

ประเภทของภาษอี ากร 1) ภาษีทางตรง หมายถึง ภาษีท่ีกฎหมายประสงค์ให้ผู้เสียภาษีต้องแบกรับภาระภาษีไว้เอง โดยผู้เสียภาษีไม่สามารถผลักภาระภาษีให้แก่ผู้อ่ืนได้ เช่น ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีทรัพย์สิน เป็ นต้น 2) ภาษที างอ้อม หมายถงึ ภาษีทผ่ี ู้เสียภาษีสามารถผลกั ภาระภาษไี ปให้ผู้อนื่ ได้ง่าย การผลกั ภาระดงั กล่าวทาโดยการบวกภาษีเข้ากบัต้นทุนการผลติ เช่น ภาษีมูลค่าเพมิ่ ฯลฯ

ผู้มีหน้าทเี่ สียภาษเี งนิ ได้บุคคลธรรมดา 1) บุคคลธรรมดา 2) ห้างหุ้นส่วนสามญั หรือ คณะบุคคลทย่ี งั ไม่เป็ นนิตบิ ุคคล 3) ผู้ถงึ แก่ความตายระหว่างปี ภาษี 4) กองมรดกทย่ี งั ไม่ได้แบ่ง

ลกั ษณะของเงนิ ได้พงึ ประเมนิ 1) เงินตราหรือตราสารท่ีมคี ่าเป็ นเงินสด 2) ทรัพย์สินทไี่ ด้รับ ซ่ึงอาจคดิ เป็ นจานวนเงนิ ได้ 3) ประโยชน์อน่ื ใดทไ่ี ด้รับ ซ่ึงอาจคดิ เป็ นจานวนเงนิ ได้ 4) เงนิ ค่าภาษอี ากรทผี่ ู้จ่ายเงินหรือผู้อน่ื ออกแทนให้ 5) เครดิตภาษเี งนิ ปันผล

เงินปันผลมาจาก กาไรสุทธิของนิติบุคคล ซ่ึงเสียภาษีมาแล้วเม่ือแบ่งกาไรให้แก่ผู้เป็ นหุ้นส่ วน ซ่ึงเป็ นบุคคลธรรมดาตามกฎหมาย เรียกว่า“เงินปันผล” จะต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเป็ นคร้ังที่สองเป็ นการเกบ็ ภาษีซ้าซ้อน รัฐบาลจึงคนื เครดิตภาษีให้ตามสูตรดังนี้เครดติ ภาษเี งนิ ปันผล = อตั ราภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล × เงนิ ปันผลทไ่ี ด้รับ 100 - อตั ราภาษีเงนิ ได้นิตบิ ุคคล

ตวั อย่าง นายเอกเป็ นคนโสด ได้รับเงนิ ปันผลจาก บริษทั การบินไทย จากัด จานวน 70,000 บาท ต้องเสียภาษีเป็ นเงินจานวนเท่าใด

วธิ ีคานวณ เงนิ ปันผลทไ่ี ด้รับ = 70,000 - = 30,000 -บวก เครดติ ภาษเี งนิ ปันผล (30 × 70,000) = 100,000 - 100 - 30 = 0- = 100,000 -รวมเงินได้พงึ ประเมนิ = 30,000 -หัก ค่าใช้จ่าย (กฎหมายห้ามหักค่าใช้จ่าย) = 70,000 - = (ยกเว้นภาษี) คงเหลอื = 0-หัก ค่าลดหย่อน = 30,000 -- ส่วนตัวผู้มีเงนิ ได้ = 30,000 = 30,000 -- คู่สมรส (ถ้ามี = 30,000) = 0เงนิ ได้สุทธิช่วงเงนิ ได้สุทธิ 0 - 70,000 เสียภาษี 5%จานวนภาษีทีต่ ้องชาระหัก - ภาษีหัก ณ ที่จ่าย =0- เครดติ ภาษี = 30,000- ภาษีคร่ึงปี =0รับภาษคี นื

Tโจทย์พเิ ศษ• นาย นายสุชาตมิ ีภริยาท่ชี อบด้วยกฎหมายช่ือ นางสุภา นายสุชาตไิ ด้รับเงนิ ปัลผลจากบริษัท เมืองไทย จากัด จานวน 210,000 บาท ดงั นี้ เสีย ภาษีเป็ นจานวนเท่าใด

แหล่งเงินได้พงึ ประเมนิ ทตี่ ้องเสียภาษี 1) แหล่งเงนิ ได้เกดิ ในประเทศไทย - หน้าท่กี ารงานทที่ าในประเทศไทย - กจิ การท่ีทาในประเทศไทย - กจิ การของนายจ้างในประเทศไทย - ทรัพย์สินทอ่ี ย่ใู นประเทศไทย 2) แหล่งเงินได้ที่เกิดขึ้นในต่างประเทศ จะเสียภาษีต้องเข้าเงื่อนไขดงั ต่อไปนี้ - ผ้มู เี งนิ ได้จะต้องเป็ นผ้อู ย่ใู นประเทศไทย และ - ผู้มีเงินได้ พึงประเมินน้ัน จะต้ องนาเงินได้ เข้ ามาในประเทศไทย

การเสียภาษเี งนิ ได้บุคคลธรรมดาและการใช้แบบ ภ.ง.ด. 1) ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาคร่ึงปี ใช้แบบ ภ.ง.ด. 94 ย่ืนแบบต้ังแต่วนั ท่ี 1 กรกฎาคม - 30 กนั ยายน ของปี ทม่ี ีเงนิ ได้(เงนิ ได้ทต่ี ้องเสียภาษี มาตรา 40 (5) (6) (7) (8) จานวน 6 เดอื น) 2) ภาษีเงินได้บุคลคลธรรมดาสิ้นปี ใช้แบบ ภ.ง.ด. 90 , 91 ยื่นแบบต้งั แต่วนั ที่ 1 มกราคม - 31 มีนาคม ของปี ภาษีถัดไปทม่ี เี งนิ ได้(เงนิ ได้ทตี่ ้องเสียภาษี มาตรา 40 (1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) (8) จานวน 12 เดอื น) คาว่า “ปี ภาษี” ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 39 เริ่มต้งั แต่วนั ท่ี 1 มกราคม ถึง วนั ที่ 31 ธันวาคม ของทุกปี



การยกเว้นภาษเี งนิ ได้บุคคลธรรมดาทไี่ ม่ต้องคานวณภาษี 1) ยกเวน้ ตวั บุคคลธรรมดา ไดแ้ ก่ เจา้ หนา้ ที่หรือผเู้ ชี่ยวชาญขององคก์ ารสหประชาชาติ บุคคลในคณะฑูต บุคคลในคณะกงสุลฯลฯ 2) เงินไดพ้ ึงประเมินไดร้ ับการยกเวน้ ตามประมวลรัษฎากรมาตรา 42 ไดแ้ ก่ - คา่ เบ้ียเล้ียง คา่ พาหนะ ตามมาตรา 42 (1) - ดอกเบ้ียเงินฝาก ไดแ้ ก่ ดอกเบ้ียสลากออมสิน ดอกเบ้ียเงินฝากสหกรณ์ ดอกเบ้ียเงินฝากธนาคารพาณิชยท์ ุกชนิด (ยกเวน้ ดอกเบ้ียเงินฝากประจา) ตามมาตรา 42 (8) หมายเหตุ กฎหมายยกเวน้ ดอกเบ้ียให้เฉพาะดอกเบ้ียเงินฝากไม่เกิน 20,000 บาท เท่าน้นั

การยกเว้นภาษเี งนิ ได้บุคคลธรรมดาทไี่ ม่ต้องคานวณภาษี (ต่อ) - เงินไดจ้ ากการจ่ายคา่ อุปการะเล้ียงดูโดยหนา้ ท่ีธรรมจรรยาตามมาตรา 42 (10) - เงินไดจ้ ากการถูกรางวลั สลากกินแบ่งรัฐบาล รางวลั สลากกาชาดถกู รางวลั สลากออมสิน ตามมาตรา 42 (11) - เงินได้จากค่าสินไหมทดแทนเพื่อการละเมิด เงินได้จากการประกนั ภยั เงินไดจ้ ากฌาปนกิจสงเคราะห์ ตามมาตรา 42 (13) - ฯลฯ 3) เงินไดพ้ ึงประเมินท่ีไดร้ ับการยกเวน้ ตามกฎกระทรวง 4) เงินไดพ้ ึงประเมินท่ีไดร้ ับการยกเวน้ ตามพระราชกฤษฎีกา 5) เงินไดพ้ ึงประเมินที่ไดร้ ับการยกเวน้ ตามกฎหมายอื่น

ประเภทของเงนิ ได้พงึ ประเมินแบ่งออกเป็ น 8 ประเภท 1) เงินได้พึงประเมินประเภทท่ี 1 ตามประมวลรัษฎากรมาตรา 40 (1) ได้แก่ เงินได้เนื่องจากสัญญาจ้างแรงงาน - เงนิ เดือน ค่าจ้าง ค่าเบยี้ เลยี้ ง โบนัส เบยี้ หวดั บาเหน็จบานาญ - เงนิ ค่าเช่าบ้านท่นี ายจ้างออกให้ - เงินท่ีคานวณได้จากมูลค่าของการได้อยู่บ้านนายจ้างให้โดยไม่ต้องเสียค่าเช่า - ฯลฯ 2) เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 2 ตามประมวลรัษฎากรตามมาตรา 40 (2) ได้แก่ เงนิ ได้เนื่องจากสัญญาจ้างทาของ - ค่าธรรมเนียม ค่านายหน้า ค่าส่วนลด - ฯลฯ

การหักค่าใช้จ่ายเงนิ ได้ตามมาตรา 40 (1) (2) 1) กรณีผู้มีเงินได้เป็ นคนโสด หรือ มีคู่สมรสแต่มีเงินได้พึงประเมินแต่เพยี งผู้เดียว กฎหมายให้ผู้มีเงินได้พงึ ประเมินนาเงินได้พงึประเมินตามมาตรา 40 (1) (2) มารวมกนั แล้วหักค่าใช้จ่ายได้เป็ นการเหมาร้อยละ 40 แต่ไม่เกนิ 60,000 บาท 2) กรณีผู้มีเงินได้มีคู่สมรส และคู่สมรสต่างฝ่ ายต่างมีเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (1) (2) กฎหมายให้ผู้มีเงินได้พึงประเมินของตนเองมารวมกันแล้วหักค่าใช้ จ่ายเป็ นการเหมาร้ อยละ 40แต่ไม่เกนิ 60,000 บาท

ตัวอย่าง1. นายสมชายเป็ นคนโสด ทางานอยู่ในบริษัทแห่ งหนึ่งได้รับเงินเดอื นๆ ละ 10,000 บาท จงหาเงนิ ได้พงึ ประเมินหลงั หักค่าใช้จ่ายวธิ ีคานวณ = 120,000 - เงินเดือน (10,000 × 12) = 48,000 - หัก ค่าใช้จ่ายร้อยละ 40 ไม่เกนิ 60,000 = 72,000 - คงเหลอื

ตัวอย่าง2. นางสาวสมหญิง ทางานบริษัทแห่งหน่ึงได้รับเงินค่าจ้างตลอดปี200,000 บาท จงหาเงนิ ได้พงึ ประเมินหลงั หักค่าใช้จ่ายวธิ ีคานวณ = 200,000 - เงินค่าจ้าง = 60,000 - หัก ค่าใช้จ่ายร้อยละ 40 ไม่เกนิ 60,000 = 140,000 - คงเหลอื

ตวั อย่าง3. นายเอก (สามี) มีเงินได้พงึ ประเมนิ ดังนี้ 1) เงนิ เดือน ๆ ละ 20,000 บาท 2) โบนัส 40,000 บาท 3) ค่านายหน้าขายทด่ี ิน 100,000 บาท นางวภิ า (ภรรยา) มีเงนิ ได้พงึ ประเมินดงั นี้ 1) ค่าจ้างตลอดปี 400,000 บาท 2) ค่านายหน้าขายบ้านจดั สรร 200,000 บาทคาส่ัง จงหาเงินได้พงึ ประเมินหลงั หักค่าใช้จ่าย

วธิ ีคานวณ (กรณรี วมยน่ื ) = 240,000 - เงนิ เดือน ๆ ละ (20,000×12) = 40,000 - โบนัส = 100,000 - ค่านายหน้าขายทดี่ นิ = 380,000 - รวมเงินได้พงึ ประเมินหัก ค่าใช้จ่ายร้อยละ 40 ไม่เกนิ 60,000 = 60,000 -คงเหลอื = 320,000 - (1)ค่าจ้างตลอดปี (ภ) = 400,000 -ค่านายหน้าขายบ้านจัดสรร (ภ) = 200,000 -รวมเงินได้พงึ ประเมิน = 600,000 -หัก ค่าใช้จ่ายร้อยละ 40 ไม่เกนิ 60,000 = 60,000 -คงเหลอื = 540,000 - (2)รวมเงินได้พงึ ประเมนิ หลงั หักค่าใช้จ่าย (1) + (2) = 860,000 -

วธิ ีคานวณ(กรณแี ยกยนื่ ) สามีเงนิ เดอื น ๆ ละ (20,000×12) = 240,000 -โบนัส = 40,000 -ค่านายหน้าขายทดี่ นิ = 100,000 -รวมเงนิ ได้พงึ ประเมิน = 380,000 -หัก ค่าใช้จ่ายร้อยละ 40 ไม่เกนิ 60,000 = 60,000 -คงเหลอื = 320,000 - (1)ค่านายหน้าขายบ้านจดั สรร (ภ) = 200,000 -หัก ค่าใช้จ่าย (60,000 × 200,000) = 20,000 - 600,000คงเหลอื = 180,000 - (2)รวมเงินได้พงึ ประเมนิ หลงั หักค่าใช้จ่าย (1) + (2) = 500,000 -

วธิ ีคานวณหาค่าใช้จ่าย = 400,000 - นาเงนิ ได้มาตรา 40 (1) ภ. = 200,000 - นาเงินได้มาตรา 40 (2) ภ. = 600,000 - รวมเงนิ ได้พงึ ประเมนิ = 60,000 -หัก ค่าใช้จ่ายร้อยละ 40 ไม่เกนิ 60,000 บาท(60,000 × 400,000) = 40,000 - 600,000 = 20,000 -(60,000 × 200,000) 600,000

วธิ ีแยกยนื่ (ภรรยา) = 400,000 - ค่าจ้างตลอดปี (ภ) = 40,000 -หัก ค่าใช้จ่าย (60,000 × 400,000) = 360,000 - 600,000 คงเหลอื

โจทย์พเิ ศษ นายเอกชัย (สาม)ี มีเงนิ ได้พงึ ประเมินดังนี้ 1) เงนิ เดือน ๆ ละ 15,000 บาท 2) โบนัส 50,000 บาท 3) ค่านายหน้าขายทด่ี นิ 100,000 บาท 4) ค่าเช่าบ้านนายจ้างออกให้ เดือนละ 5,000 บาท นางวภิ า (ภรรยา) มเี งินได้พงึ ประเมินดงั นี้ 1) เงินเดือนตลอดปี 180,000 บาท 2) ค่านายหน้าขายบ้านจดั สรร 120,000 บาทคาสั่ง จงหาเงินได้พงึ ประเมนิ หลงั หักค่าใช้จ่าย

3) เงินได้พึงประเมินประเภทท่ี 3 ตามประมวลรัษฎากรมาตรา 40 (3) ได้แก่ ค่าแห่งก๊ดู วลิ ด์ ค่าแห่งลขิ สิทธ์ิ เฉพาะค่าแห่งลขิ สิทธ์ิ กฎหมายให้หักค่าใช้จ่ายได้เป็ นการเหมา ร้อยละ 40 แต่ไม่เกนิ 60,000 บาท แต่ค่าแห่งก๊ดู วลิ ด์หักค่าใช้จ่ายไม่ได้ 4) เงินได้พึงประเมินประเภทท่ี 4 ตามประมวลรัษฎากรมาตรา 40 (4) ได้แก่ (ก) รายได้จากดอกเบยี้ ต่าง ๆ (ข) เงินได้จากเงินปันผลและเครดติ เงนิ ปันผล เงินได้พงึ ประเมินประเภทที่ 4 กฎหมายห้ามหักค่าใช้จ่ายใดๆ ท้งั สิ้น

5) เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 5 ตามประมวลรัษฎากรมาตรา 40 (5) ได้แก่ 5.1) เงนิ ได้จากการให้เช่าทรัพย์สิน - ให้เช่าโรงเรือน ส่ิงปลกู สร้างอนื่ ๆ ยานพาหนะ หักค่าใช้จ่ายได้ร้อยละ 30 - ให้เช่าที่ดนิ ทใี่ ช้ในการเกษตรกรรม หักค่าใช้จ่ายร้อยละ 20 - ให้เช่าทด่ี นิ ทไ่ี ม่ใช้ในการเกษตรกรรม หักค่าใช้จ่ายร้อยละ 15 - ให้เช่าทรัพย์สินอนื่ ๆ นอกเหนือทกี่ ล่าวมา หักค่าใช้จ่ายร้อยละ 10 5.2) เงนิ ได้จากการผดิ สัญญาเช่าซื้อและสัญญาซื้อขาย เงนิ ผ่อน หักค่าใช้จ่ายร้อยละ 20

6) เงนิ ได้พงึ ประเมนิ ประเภทที่ 6 ตามประมวลรัษฎากรมาตรา 40 (6) ได้แก่ เงินได้จากการประกอบอาชีพอสิ ระ - เงินได้จากการประกอบโรคศิลปะ (เปิ ดคลนิ ิกต้องเกย่ี วกบั การรักษามนุษย์) หักค่าใช้จ่ายได้เป็ นการเหมาร้อยละ 60 - เงินได้จากการประกอบอาชีพอสิ ระอนื่ ๆ ได้แก่ เปิ ดสานักงานบัญชี เปิ ดสานักงานทนายความ วศิ วะกร ฯลฯ เป็ นต้น หักค่าใช้จ่ายเป็ นการเหมาร้อยละ 30

7) เงนิ ได้พงึ ประเมินประเภทท่ี 7 ตามประมวลรัษฎากรมาตรา 40 (7) ได้แก่ เงินได้จากการรับเหมาโดยผู้รับเหมาได้จัดหาสัมภาระมาเอง หักค่าใช้จ่ายเป็ นการเหมาร้อยละ 70 8) เงินได้พงึ ประเมินประเภทท่ี 8 ตามประมวลรัษฎากรมาตรา 40 (8) ได้แก่ เงินได้จากการประกอบธุรกจิ ต่าง ๆ - ธุรกจิ การพาณชิ ย์ - ธุรกจิ การเกษตร - ธุรกจิ การอตุ สาหกรรม ฯลฯ หักค่าใช้จ่ายได้เป็ นการเหมาตามทก่ี ฎหมายกาหนดไว้

ตัวอย่าง การคานวณค่าใช้จ่ายและเงินได้หลงั หักค่าใช้จ่าย นายเอกชัย (สาม)ี มีเงนิ ได้พงึ ประเมิน ดงั นี้ - เงินเดอื นตลอดปี จานวน 300,000 บาท - ค่าแห่งก๊ดู วลิ ล์ จานวน 100,000 บาท - เงินได้จากรับเหมาสร้างบ้าน จานวน 500,000 บาท นางกานดา (ภริยา) มเี งนิ ได้พงึ ประเมิน ดังนี้ - ค่านายหน้าขายบ้านจัดสรร จานวน 200,000 บาท - ค่าแห่งลขิ สิทธ์ิ จานวน 400,000 บาท - เงินปันผลจากบริษทั การบนิ ไทยจากดั จานวน 140,000 บาท - ค่าเช่าตึกแถว เดอื นละ 30,000 บาทคาสั่ง จงหาเงนิ ได้พงึ ประเมนิ หลงั หักค่าใช้จ่าย

วธิ ีคานวณเงินเดือนตลอดปี = 300,000 -หัก ค่าใช้จ่ายร้อยละ 40 ไม่เกนิ 60,000 = 60,000 - คงเหลอื = 240,000 - (1)ค่าแห่งก๊ดู วลิ ล์ = 100,000 - (2)เงนิ ได้จากการรับเหมาสร้างบ้าน = 500,000 -หัก ค่าใช้จ่ายร้อยละ 70 = 350,000 - = 150,000 - (3) คงเหลอืค่านายหน้าขายบ้านจดั สรร (ภ) = 200,000 -หัก ค่าใช้จ่ายร้อยละ 40 ไม่เกนิ 60,000 = 60,000 - คงเหลอื = 140,000 - (4)

(ต่อ)ค่าแห่งลขิ สิทธ์ิ (ภ) = 400,000 -หัก ค่าใช้จ่ายร้อยละ 40 ไม่เกนิ 60,000 = 60,000 -คงเหลอื = 340,000 - (5)เงินปันผลจากบริษทั การบินไทยจากดั (ภ) = 140,000 - (6)บวก เครดิตภาษีเงินปันผล (30×140,000) = 60,000 - (7) 100-30ค่าเช่าตกึ แถว (ภ) (30,000×12) = 360,000 -หัก ค่าใช้จ่ายร้อยละ 30 = 108,000 -คงเหลอื = 252,000 - (8)รวมเงนิ ได้พงึ ประเมนิ (1) + (2) + (3) + (4)+ (5) + (6) + (7) + (8) = 1,422,000 -

โจทย์พเิ ศษ นายโชคชัย (สามี) มเี งนิ ได้พงึ ประเมนิ ดงั นี้ - เงนิ เดอื น ๆ ละ 25,000 บาท - โบนัส 50,000 บาท - ค่านายหน้าขายทด่ี นิ 100,000 บาท - เงนิ ปันผลจาก บริษัท เมอื งไทย จากดั 56,000 บาท - ค่าเช่าแผงขายสินค้า เดอื นละ 30,000 บาท นางวภิ า (ภริยา) มเี งนิ ได้พงึ ประเมนิ ดงั นี้ - ค่าจ้างเดอื นละ 15,000 บาท - ค่านายหน้าขายบ้านจดั สรร จานวน 120,000 บาท - ค่าแห่งลขิ สิทธ์ิ จานวน 200,000 บาท - เงนิ ได้จากการเปิ ดสานักงานทนายความ เดอื นละ 30,000 บาท - เงนิ ได้จากการซักรีดตลอดปี 500,000 บาทคาส่ัง จงหาเงนิ ได้พงึ ประเมินหลงั หักค่าใช้จ่าย โดยวธิ ีรวมยนื่ / แยกยน่ื

การคานวณภาษีโดยวธิ ีรวมยนื่• วิธีคานวณ• เงนิ เดอื น 25000x12 = 300,000โบนัส = 50,000ค่านายหน้าขายท่ดี นิ = 100,000รวมเงนิ ได้พงึ ประเมนิ = 450,000หกั ค่าใช้จ่าย40%ไม่เกิน60,000 = 60,000คงเหลือ (1) = 390,000เงนิ ปันผลบริษัทการบนิ ไทย (2) = 56,000บวกเครดติ ภาษีเงนิ ปันผล=30x56000/100-30 (3) = 24,000

การคานวณภาษโี ดยวธิ ีรวมยนื่ (ต่อ)• ค่าเช่าแผงขายสินค้า 30000x12 =360,000 =108,000• หกั ค่าใช้จ่ายร้อยละ30(360,000x30/100) =252,000 =180,000• คงเหลือ (4) =120,000 =300,000• ค่าจ้าง(ภ) (15000x12) = 60,000 =240,000• ค่านายหน้าขายบ้านจัดสรร (ภ)• รวมเงนิ ได้พงึ ประเมิน• หกั ค่าจ่ายร้อยละ40ไม่เกิน60000• คงเหลือ (5)

การคานวณภาษโี ดยวธิ ีรวมยน่ื (ต่อ)• ค่าแห่งลขิ สิธ์(ภ) =200,000 = 60,000• หกั 40ไม่เกนิ 60000 =140,000 =360,000• คงเหลอื (6) =108,000 =252,000• เงนิ ได้จากการเปิ ดสนง.ทนายความ(ภ) 30000x12 =500,000 =400,000• หกั ค่าใช้จ่ายร้อยละ30 =100,000• คงเหลือ (7) =1,454,000• เงนิ ได้จากการเปิ ดร้านซักรีดตลอดปี• หกั ค่าใช้จ่ายร้อยละ80• คงเหลือ (8)• รวมเงนิ ได้หลังหกั ค่าใช้จ่าย =(1)+(2)+(3)+(4) +(5)+(6)+(7)+(8)

การคานวณภาษโี ดยวธิ ีแยกยน่ื (สาม)ี• วิธีคานวณ• เงนิ เดือน 25000x12 = 300,000โบนัส = 50,000ค่านายหน้าขายท่ดี นิ = 100,000รวมเงนิ ได้พงึ ประเมิน = 450,000หกั ค่าใช้จ่าย40%ไม่เกิน60,000 = 60,000คงเหลือ (1) = 390,000เงนิ ปันผลบริษัทการบนิ ไทย (2) = 56,000บวกเครดติ ภาษีเงนิ ปันผล=30x56000/100-30 (3) = 24,000

การคานวณภาษโี ดยวธิ ีแยกยนื่ (สาม)ี ต่อ• ค่าเช่าแผงขายสนิ ค้า 30000x12 =360,000• หกั ค่าใช้จ่ายร้อยละ30(36000x30/100) =108,000• คงเหลอื (4) =252,000• ค่านายหน้าขายบ้านจัดสรร (ภ) =120,000• หกั ค่าใช้จ่าย 60000x120000/300000 = 24,000• คงเหลือ (5) = 96,000

การคานวณภาษโี ดยวธิ ีแยกยนื่ (สาม)ี ต่อ• ค่าแห่งลิขสิทธ์(ภ) =200,000• หกั 40ไม่เกนิ 60000 = 60,000• คงเหลอื (6) =140,000• เงนิ ได้จากการเปิ ดสนง.ทนายความ(ภ) 30000x12 =360,000• หกั ค่าใช้จ่ายร้อยละ30 =108,000• คงเหลอื (7) =252,000• เงนิ ได้จากการเปิ ดร้านซักรีดตลอดปี =500,000• หกั ค่าใช้จ่ายร้อยละ80 =400,000• คงเหลอื (8) =100,000• รวมเงนิ ได้หลังหกั ค่าใช้จ่าย =(1)+(2)+(3)+(4) +(5)+(6)+(7)+(8) =1,310,000


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook