Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore IS final

IS final

Published by npkmtm, 2020-10-21 14:11:58

Description: IS final

Search

Read the Text Version

เร่ือง ตกู้ ดน้ำจากลงั กระดาษ จดั ทำโดย เลขท่ี 3 นางสาวนภกมล ปนิ ตาพรหม เลขท่ี 4 นางสาวภตู ะวัน พรอ้ มทอง เลขท่ี 7 นางสาวสุทธดา สวุ รรณานุช เลขที่ 15 นางสาวศศิธร มสี ขุ เลขท่ี 34 นางสาวพิมพ์ชนก เพม่ิ ทองชชู ยั เลขท่ี 35 นางสาวศุจริ า ไตรรัตนทรงพล ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5/12 รายงานเี้ ป็นสว่ นหนึง่ ของวชิ าการสื่อสารและการนำเสนอ (I30202) ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2562 โรงเรยี นสตรวี ทิ ยา ๒ ในพระราชปู ถัมภส์ มเด็จพระศรีนครนิ ทราบรมราชชนนี

ก ช่อื เรอื่ ง ต้กู ดน้ำจากลังกระดาษ ผศู้ กึ ษา นางสาวนภกมล ปินตาพรหม นางสาวภูตะวัน พร้อมทอง นางสาวสทุ ธดา สวุ รรณานชุ นางสาวศศธิ ร มสี ขุ นางสาวพมิ พช์ นก เพิ่มทองชชู ัย นางสาวศจุ ริ า ไตรรัตนทรงพล อาจารยท์ ี่ปรึกษา อาจารย์ปราชญช์ นา จันทรเ์ ทศ และอาจารยเ์ ชิงชาย เหมพัฒน์ ระดับการศกึ ษา ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 รายวิชา การส่ือสารและการนำเสนอ (IS2) รหัสวิชา I30202 ปีการศกึ ษา 2562 บทคัดยอ่ ตกู้ ดน้ำจากลงั กระดาษ มวี ัตถุประสงค์เพ่ือจัดทำตู้กดน้ำจากลงั กระดาษ ซง่ึ เปน็ สิ่งประดิษฐท์ ่ีช่วยเพ่ิมความสะดวกสบายให้แกผ่ ูค้ นท่ัวไปในงานเลี้ยงต่าง ๆ ท้งั ยังชว่ ยประหยัดพื้นท่จี ากการวางขวดเคร่อื งดมื่ ในงานเล้ยี ง และยังเป็นการนำความรู้ในวิชาฟสิ ิกส์มาใชใ้ ห้เปน็ ประโยชน์ ประชากรเป็นนักเรยี น จำนวน 6 คนไดม้ าโดยการคดั เลือก เครอ่ื งมือที่ใช้ประกอบดว้ ย 1.มอเตอร์ปั๊ม 2.สายไฟ 3.สวิตช์ 4.ทอ่ น้ำ 5.ลังกระดาษ โดยใช้หลักการทางฟสิ ิกสใ์ นเร่ืองของการต่อวงจรไฟฟ้าในการจัดทำขึ้น วิเคราะห์ข้อมลู โดยใช้สถติ ิการบรรยาย ผลการศกึ ษาพบว่าตู้กดน้ำจากลงั กระดาษสามารถใช้งานได้ดี มแี รงดนั นำ้ มากพอท่จี ะส่งเครื่องด่มื ให้ไหลไปตามท่อได้

ข แตพ่ บว่าเกิดข้อผดิ พลาดขึน้ บางประการเมอื่ มกี ารใช้งานบ่อยครงั้ เนอื่ งจากวัสดทุ ่ใี ชเ้ ป็นลังกระดาษ เม่ือมีการรั่วซมึ เกดิ ข้ึนส่งผลให้ตู้กดน้ำเกิดความเสียหาย

ค กิตตกิ รรมประกาศ การศึกษาครัง้ น้สี ำเรจ็ ลุล่วงดว้ ยดี เพราะไดร้ บั ความกรณุ า แนะนำ ช่วยเหลือเป็นอยา่ งดีจากอาจารย์ปราชญ์ชนา จันทร์เทศ อาจารย์ประจำวชิ า ซงึ่ ผู้ศกึ ษาร้สู กึ ซาบซึ้งและเป็นพระคุณอยา่ งยงิ่ จงึ ขอกราบขอบพระคุณเปน็ อย่างสูงไว้ ณ โอกาสน้ี ผ้ศู กึ ษาขอขอบพระคุณ อาจารยเ์ ชิงชาย เหมพัฒน์ อาจารย์ทปี่ รึกษาโครงงาน ที่ไดก้ รุณาใหแ้ นวคดิ ขอ้ แนะนำหลายประการ ทำใหง้ านวจิ ยั ฉบบั นสี้ มบรู ณม์ ากย่งิ ข้ึน ขอขอบพระคณุ อาจารยร์ งุ่ นภา เจรญิ สุข และอาจารย์สธุ ิดา คณุ สนั เทียะ ทไ่ี ดก้ รุณาเป็นท่ีปรึกษาให้กบั การวจิ ยั ในคร้งั นี้ สดุ ทา้ ยขอขอบคณุ คณะผูศ้ กึ ษาทุกคนท่ใี ห้ขอ้ มลู อย่างเต็มทท่ี ำให้การศกึ ษาครั้งนส้ี ำเรจ็ ในเวลา อนั รวดเร็วและขอขอบคุณผู้ใหค้ วามช่วยเหลืออกี หลายท่าน ซ่ึงไม่สามารถกล่าวนามในท่ีนไ้ี ดห้ มด คณะผู้ศกึ ษา เดอื นธนั วาคม พ.ศ. 2562

สารบญั ง เรื่อง หน้า บทคัดย่อ กติ ติกรรมประกาศ ก สารบัญ ข บทที่ 1 บทนำ ค 1.1 ความเปน็ มาและความสำคัญของปัญหา 1 1.2 วัตถุประสงค์ของโครงงาน 2 1.3 ของเขตของโครงงาน 2 1.4 สมมตฐิ าน 2 1.5 แผนการปฏิบตั ิงาน 2 1.6 ประโยชนท์ คี่ าดว่าจะไดร้ บั 3 1.7 สถานที่ทำโครงงาน 3 บทที่ 2 เอกสารทีเ่ กี่ยวขอ้ ง 2.1 ทฤษฎที ี่เกีย่ วขอ้ งกับงานวจิ ยั 4 2.2 เอกสารความรู้ทว่ั ไปเก่ียวกับตูน้ ้ำดืม่ หยอดเหรยี ญ หรือตนู้ ้ำด่มื อตั โนมัติ 6 2.3 งานวจิ ัยทเี่ กีย่ วข้อง 9 บทที่ 3 วิธกี ารดำเนนิ งาน 3.1 วัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ ท่ีใชใ้ นการพฒั นา 13 3.2 ขั้นตอนการดำเนินงาน 13 บทท่ี 4 ผลการทดลอง 14 บทท่ี 5 สรุป อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ 15 บรรณานกุ รม 16 ภาคผนวก 17 ประวตั ิสมาชิก 20

1 บทที่ 1 บทนำ 1.1 ความเปน็ มาและความสำคญั ของปญั หา ในชีวิตประจำวนั ของมนุษย์เรานอกจากกจิ วัตรประจำวันท่ีทำกนั เปน็ ประจำ เชน่ การเรียนและการทำงาน แลว้ ยอ่ มตอ้ งมกี ารสังสรรค์เพอ่ื คลายเครยี ดในแตล่ ะวนั เป็นสสี นั ใหก้ ับชีวติ เป็นธรรมดา แตด่ ้วยเหตผุ ลหลากหลายประการหลากหลายปจั จัย ทำให้การสังสรรค์ตามรา้ นอาหารต่าง ๆ เป็นไปได้ยาก ตวั เลอื กท่ีง่ายท่สี ดุ ประหยดั เวลาและเงนิ ท่สี ุด จึงเป็นการสังสรรคท์ ีบ่ ้านอย่างหลกี เลีย่ งไม่ได้ แน่นอนว่าตามงานเล้ยี งต่าง ๆ ไมว่ า่ จะทงั้ งานมงคลหรอื งานอวมงคล งานเล็กหรืองานใหญ่ กม็ กั จะมีอาหารและเครื่องดื่มมากมายคอยรับรองให้กับผเู้ ข้ารว่ มงานเสมอ แน่นอนวา่ เคร่ืองด่มื ทั้งหลายก็คงไม่พ้นเหล่านำ้ อัดลมและนำ้ ผลไมต้ า่ ง ๆ เปน็ แน่ แตบ่ างคร้ังหากงานเลี้ยงที่เราจดั เปน็ เพยี งงานเลีย้ งเลก็ ๆ ในสถานทเี่ ล็ก ๆ อย่างเชน่ หอพกั อพารท์ เมน้ ท์ พืน้ ท่ีในการวางอาหารและเครอื่ งดืม่ ทจ่ี ะใชเ้ ล้ียงผเู้ ข้าร่วมงานกลบั มีน้อยเกินกว่าจำนวนของอาหารและเคร่ืองด่มื ท่ี มี ทำให้จำเป็นท่จี ะต้องหาทวี่ างเพิ่มเติมในพื้นทที่ ี่ไม่เหมาะสม ซง่ึ โดยส่วนใหญ่เหลา่ ขวดเครื่องดม่ื ทท่ี กุ คนมักจะซื้อมาสำรองไว้หลาย ๆ ขวดกค็ งจะถูกใหค้ ่าความสำคัญนอ้ ยกวา่ อาหาร และคงจะต้องถูกวางไวท้ ี่พนื้ แทน นนั่ ทำให้เกิดปญั หาตามมา เชน่ การเดนิ เตะ เปน็ ตน้ ทำให้เกิดปญั หาตามมาอีกว่าเครอ่ื งด่ืมที่อยู่ในขวดนนั้ อาจจะหกเลอะเทอะท่วั พน้ื ท่ี ในขณะทีจ่ ดั งานเล้ียงสงั สรรค์กบั เพื่อนอย่างสนกุ สนาน อาจทำให้ต้องมาทำความสะอาดเครือ่ งด่มื ที่หกเลอะเทอะในขณะสังสรรค์ ดังน้นั ทางคณะผู้จัดทำจึงต้องการทจี่ ะแกป้ ัญหาท่ีเกิดข้ึนบ่อย ๆ เหลา่ นี้ ดว้ ยการคดิ คน้ ตู้กดนำ้ จากลงั กระดาษ ทส่ี ามารถทำไดง้ ่าย ดว้ ยอปุ กรณภ์ ายในบ้านท่สี ามารถหาไดง้ ่าย หรือซ้ือเพม่ิ เติมด้วยงบประมาณไม่มาก เหมาะกบั ผู้คนทุกเพศทุกวัยที่ต้องการจะประหยดั พืน้ ทใ่ี นการวางขวดเครื่องดืม่ เหล่านน้ั และประหยดั ค่าใชจ้ ่าย ไมต่ ้องเสียเงินไปกบั การซอ้ื ตู้กดน้ำราคาแพง นอกจากนน้ั ยังเปน็ การนำเวลาวา่ งมาใชใ้ ห้เป็นประโยชน์ เปน็ การประหยัดพื้นท่ีในบ้านได้อยา่ งแทจ้ รงิ

2 1.2 วัตถปุ ระสงค์ของโครงงาน 1.2.1 เพอ่ื ประหยดั พนื้ ท่ีในการวางขวดเครอื่ งดมื่ ทุกประเภท 1.2.2 เพ่ือนำความรู้ทางดา้ นกลไกในวิชาฟิสกิ สม์ าใชใ้ หเ้ ป็นประโยชน์ 1.2.3 เพื่อนำส่ิงของทีไ่ ม่ใชแ้ ลว้ เชน่ ลงั กระดาษ มาประยุกตใ์ ช้ให้เปน็ ประโยชน์ 1.3 ขอบเขตของโครงงาน 1.3.1 เครอ่ื งมือคน้ หาข้อมูล 1.3.2 เคร่ืองมือการจัดเก็บข้อมลู 1.3.3 อุปกรณ์ทใี่ ชใ้ นการทำตู้กดน้ำอตั โนมตั จิ ากลงั กระดาษ 1.4 สมมตฐิ าน 1.4.1 ปมั๊ มอเตอรท์ ำงานไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ 1.4.2 นำ้ สามารถไหลออกมาได้อยา่ งถูกต้อง 1.4.3 ตู้กดน้ำทำงานสัมพนั ธ์กนั ได้ดี 1.5 แผนการปฏิบตั ิงาน ระยะเวลาการปฏิบัติงาน การดำเนินงาน 1 สงิ หาคม พ.ศ.2561 1 กันยายน พ.ศ.2561 1.หาขอ้ มูลท่นี ่าเชื่อถือ 11:00 2.วเิ คราะหข์ ้อมูล 3.จดั หาอปุ กรณ์ 15:30 4.ทำการออกแบบและลงมือทำ 5.จัดทำรายงาน 12:40 10:25 15:00

3 1.6 ประโยชน์ที่คาดวา่ จะไดร้ บั 1.6.1 ประหยดั พื้นทภี่ ายในบ้าน 1.6.2 ดม่ื เครือ่ งด่ืมไดส้ ะดวกสบายมากยิ่งข้นึ 1.7 นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ 1.7.1 ตู้กดนำ้ - สถานทท่ี ผ่ี ลิตน้ำบริโภคบรรจุขวดหรือใส่ภาชนะต่าง หรือผลติ ภัณฑส์ ำหรบั ตดิ ตั้งกับทอ่ จา่ ยน้ำเพื่อปรบั ปรงุ คุณภาพน้ำดม่ื ใหส้ ะอาด ไว้สำหรับบริการผู้บรโิ ภค 1.7.2 อัตโนมัติ - ระบบใดๆ หรอื กลไก ทส่ี ามารถเรมิ่ ทำงานไดด้ ้วยตวั เอง โดยทำงานตามโปรแกรมที่วางไว้ เชน่ ระบบรดนำ้ อตั โนมตั ิ ระบบตอบรบั โทรศัพท์อตั โนมัติ ระบบอตั โนมัติ อาจเปน็ การใช้ กลไก คอมพิวเตอร์ หรือ อุปกรณ์อเิ ลค็ ทรอนิกส์ ควบคมุ จะทำงานถกู ต้องต่อเม่ือมกี ารวางแผน หรอื โปรแกรมโดยมนุษย์ท้ังสิน้ 1.7.3 ลงั กระดาษ - กระดาษทปี่ ระกอบด้วยแผ่นปะหน้า 2 แผน่ และมีกระดาษลูกฟูกอยู่ตรงกลาง

4

5 บทที่ 2 เอกสารที่เกยี่ วขอ้ ง งานวิจัยนที้ ำขึน้ เพอื่ ศกึ ษาวงจรไฟฟา้ ในตู้กดนำ้ และทฤษฎีทางฟิสิกสต์ า่ ง ๆ เพอ่ื ประดษิ ฐ์ตู้กดนำ้ จากลังกระดาษรีไซเคลิ ซึ่งศกึ ษาเป็น 2 หวั ขอ้ ดงั น้ี 1. ทฤษฎีที่เกยี่ วขอ้ งกบั งานวจิ ยั 1.1 ส่วนประกอบของตู้กดน้ำจากลงั กระดาษ 1.2 การต่อวงจรมอเตอร์ 2. เอกสารเก่ยี วกับความรู้ท่ัวไปเกยี่ วกับต้นู ้ำด่ืมหยอดเหรยี ญ หรอื ตู้น้ำดืม่ อตั โนมตั ิ 2.1 ตนู้ ำ้ ด่มื หยอดเหรยี ญหรือตู้น้ำดื่มอัตโนมัติคืออะไร 2.2 ลักษณะการดําเนนิ ธรุ กจิ ของตู้น้ำดม่ื หยอดเหรยี ญหรอื ต้นู ำ้ ดมื่ อตั โนมัติ 2.3 การปรับปรงุ คุณภาพน้ำ 2.4 การปนเป้ือนของจุลินทรียใ์ นนำ้ ด่มื 2.5 ปัจจัยเสย่ี งจากนำ้ ดม่ื อตั โนมตั ิ 3. งานวิจยั ที่เก่ยี วข้อง 1. ทฤษฎที ีเ่ กี่ยวขอ้ งกับงานวจิ ยั 1.1 ส่วนประกอบของตู้กดน้ำจากลงั กระดาษ 1.1.1 มอเตอร์ไฟฟา้ (electric motor) เป็นอุปกรณไ์ ฟฟ้าทแ่ี ปลงพลงั งานไฟฟา้ เปน็ พลังงานกลการทำงานปกติของมอเตอร์ไฟฟา้ สว่ นใหญ่เกิดจา กการทำงานรว่ มกนั ระหวา่ งสนามแมเ่ หล็กของแมเ่ หล็กในตัวมอเตอร์ และสนามแม่เหล็กทีเ่ กดิ จากกระแสในขดลวดทำใหเ้ กดิ แรงดดู และแรงผลกั ของสนามแมเ่ หลก็ ทั้งสอง ในการใช้งานตวั อย่างเชน่ ในอุตสาหกรรมการขนสง่ ใชม้ อเตอรฉ์ ดุ ลาก เปน็ ตน้ นอกจากนั้นแล้ว มอเตอร์ไฟฟ้ายงั สามารถทำงานได้ถึงสองแบบ ได้แก่ การสรา้ งพลังงานกล และ การผลติ พลังงานไฟฟ้า มอเตอร์ไฟฟ้าถกู นำไปใช้งานที่หลากหลายเช่น พัดลมอุตสาหกรรม เครื่องเปา่ ปมั๊ เครอ่ื งมอื เครื่องใชใ้ นครวั เรอื น และดสิ กไ์ ดรฟ์ มอเตอรไ์ ฟฟา้ สามารถขับเคลื่อนโดยแหล่งจ่ายไฟกระแสตรง (DC)

6 เช่น จากแบตเตอร่ี, ยานยนต์หรอื วงจรเรยี งกระแส หรือจากแหลง่ จา่ ยไฟกระแสสลับ (AC) เชน่ จากไฟบา้ น อนิ เวอรเ์ ตอร์ หรอื เครื่องปนั่ ไฟ มอเตอรข์ นาดเล็กอาจจะพบในนาฬิกาไฟฟา้ มอเตอรท์ ว่ั ไปท่ีมีขนาดและคุณลกั ษณะมาตรฐานสูงจะให้พลังงานกลท่ีสะดวกสำหรับใช้ในอุตสาหกรรม มอเตอร์ไฟฟ้าท่ใี หญ่ทีส่ ุดใชส้ ำหรับการใช้งานลากจูงเรอื และ การบีบอัดท่อส่งน้ำมนั และปั้มป์สูบจัดเก็บน้ำมันซึ่งมกี ำลังถึง 100 เมกะวัตต์ มอเตอร์ไฟฟ้าอาจจำแนกตามประเภทของแหลง่ ที่มาของพลงั งานไฟฟ้าหรือตามโครงสรา้ งภายในหรือตามการใชง้ า นหรอื ตามการเคลื่อนไหวของเอาต์พตุ และอ่ืน ๆ 1.1.2 กลอ่ งกระดาษ บรรจภุ ณั ฑ์ชนดิ หนึ่ง ปกตจิ ะมีรูปทรงเปน็ ทรงสเี่ หลีย่ มมุมฉาก แต่ก็อาจพบในรูปทรงอื่นได้ กลอ่ งท่ัวไปทำจากกระดาษ ไม้ หรือพลาสติก เปน็ ต้น สามารถเปิดไดโ้ ดยการยก ดงึ หรือเลื่อนฝาดา้ นบน และปิดผนกึ ได้ ดว้ ยเทปกาว แม่กุญแจ หรือตะปู กล่องเป็นบรรจุภณั ฑท์ ี่ถ่ายทอดรปู แบบมาจากหีบโดยตรง กล่องบางชนิดได้รบั การตกแต่งจนสามารถใชเ้ ปน็ เครื่องเรือนภายในบา้ นได้ 1.1.3 หลอด อุปกรณ์ในการดูดของเหลว มักใช้กับเคร่ืองดื่ม โดยทั่วไปหลอดดดู จะเป็นทอ่ ผอมและยาว ทำจากพลาสตกิ มที ั้งหลอดดูดตรง และหลอดดูดทส่ี ามารถงอตรงปลายได้ เพื่อใหด้ ูดเครื่องดื่มไดง้ า่ ยข้นึ เมือ่ ดูดเคร่อื งดื่ม เราจะนำปลายข้างหนึง่ ใสล่ งในเครอ่ื งดืม่ อกี ข้างหนง่ึ ใส่ปาก โดยมักจะใชม้ อื จับไว้ด้วย เม่อื กล้ามเนอ้ื บรเิ วณปากทำการออกแรงดูด ทำให้ความดนั อากาศภายในปากลดลง ความดันอากาศรอบเครอื่ งดื่มซงึ่ มมี ากกว่าจะดันเคร่ืองดืม่ ใหไ้ หลเข้าไปในหลอดดูดเข้าสู่ปาก หลอดดดู ถูกคดิ ค้นโดยชาวสเุ มเรียน โดยใช้ในการดม่ื เบยี ร์ หลอดดดู ในรปู แบบปจั จบุ นั คิดค้นในปี พ.ศ. 2431 1.1.4 ขวดนำ้ พลาสตกิ ขวดท่ที ำจากพลาสติก ใชบ้ รรจขุ องเหลว เช่น นำ้ นำ้ อัดลม นำ้ มันเครอื่ ง นำ้ มนั ประกอบอาหาร ยา ยาสระผม นม และหมกึ มีต้งั แตข่ นาดเลก็ จนถงึ ขวดคารบ์ อยขนาดใหญ่ 1.1.5 น้ำอดั ลม เครือ่ งดื่มชนดิ หนง่ึ ทไ่ี มม่ สี ่วนผสมของแอลกอฮอล์ มสี สี นั แตกตา่ งกนั ไป มีคนนิยมดื่มมากและสามารถหาซอื้ ได้ทั่วไปในร้านท่ีขายเครอ่ื งดม่ื นยิ มบรรจุในรปู แบบกระป๋อง ขวดแกว้ ขวดพลาสติก 1.2 การต่อวงจรมอเตอร์

7 1.2.1 กด S2 ทำใหค้ อนแทค K2 ทำงานต่อแบบสตารแ์ ละรีเลยต์ ง้ั เวลา K4T ทำงานคอนแทคปดิ ของ K2 ในแถวท่ี 4 ตดั วงจร K3 และคอนแทคปกตปิ ิดในแถวท่ี 2 ต่อวงจรให้เมนคอนแทค K1 1.2.2 หลงั จากท่ี K1 ทำงานและปล่อย S2 ไปแล้วหน้าสัมผัสปกตเิ ปิด (N.O.) ของ K1 ในแถวที่ 3 ต่อวงจรให้คอนแทคเตอร์ K2 และตวั ตง้ั เวลา K4T จะทำงานตลอดเวลาขณะนี้มอเตอรห์ มุนแบบสตาร์ (Star) 1.2.3 รเี ลย์ตั้งเวลา K4T ทำงานหลังจากเวลาท่ตี ง้ั ไว้คอนแทคเตอร์ K2 จะถกู ตดั ออกจากวงจรด้วยหนา้ สัมผัสปกตปิ ดิ (N.C.) ของ รีเลยต์ ัง้ เวลา K4Tในแถวที่ 1 และหนา้ สัมผสั ปกตปิ ิด (N.C.) ของ K2ในแถวท่ี 4 กลับส่สู ภาวะเดมิ ต่อวงจรใหก้ ันคอนแทคเตอร์ K3 ทำงาน และหนา้ สัมผัสปกติปดิ (N.C.)ของ K3 ในแถวที่ 1 จะตัดคอนแทคเตอร์ K2 และรีเลยต์ ั้งเวลา K4T ออกจากวงจร จะคงเหลือคอนแทคเตอร์ K1และ K3 ทำงานรว่ มกันมอเตอร์หมนุ แบบ เดลตา้ (Delta) 1.2.4 เม่ือต้องการหยดุ การทำงานของมอเตอร์ให้กดสวติ ช์ S1 (Stop) 2. เอกสารความรู้ท่วั ไปเก่ียวกับต้นู ้ำดื่มหยอดเหรียญ หรือต้นู ้ำดมื่ อตั โนมตั ิ 2.1 ตู้นำ้ ดมื่ หยอดเหรียญหรือต้นู ้ำดื่มอตั โนมัติคืออะไร สถานท่ีทผี่ ลิตน้ำบริโภคบรรจขุ วดหรอื ใสภ่ าชนะตา่ ง ๆ หรือผลิตภณั ฑส์ าํ หรบั ติดตัง้ กับท่อจา่ ยน้ำเพื่อปรบั ปรงุ คุณภาพนำ้ ให้สะอาด ไวส้ าํ หรับบริการผบู้ รโิ ภค โดยมีการจําหน่ายหรอื จา่ ยเงินเป็นคา่ น้ำบริโภค ณ สถานที่ผลติ โดยผ่านเครือ่ งอัตโนมตั ิ 2.2 ลักษณะการดําเนินธุรกิจของตนู้ ้ำด่ืมหยอดเหรียญหรอื ตู้น้ำดื่มอตั โนมัติ รปู แบบการดาํ เนนิ ธรุ กจิ ปัจจุบนั แบง่ ได้เป็น 2 ลกั ษณะ คือ 1) แบบเชา่ พ้นื ที่ เพ่ือติดต้งั ตู้นำ้ ฯ ของบริษทั ผ้ผู ลติ ต้นู ้ำด่ืมอัตโนมัติ โดยมขี ้อตกลงกับเจ้าของพื้นทใี่ นการแบ่งรายได้จากต้นู ำ้ ฯ การจ่ายค่าน้ำ ค่าไฟจะคิดจากมเิ ตอร์ หรอื ตามท่ีตกลงกันไว้การบาํ รุงรักษาตู้นำ้ ฯ เพ่ือดาํ เนนิ การตามโปรแกรมทกี่ ําหนดไว้ 2) แบบขายขาด ผูผ้ ลติ ต้นู ำ้ ฯ จะจําหนา่ ยให้ประชาชนทว่ั ไป นําไปตดิ ต้ังเองโดยมีการรบั ประกนั และการซ่อมบํารุงในปีแรก เมือ่ พ้นระยะเวลารบั ประกัน ผจู้ าํ หนา่ ยเครื่องจะไม่สามารถเข้าไปบํารงุ รักษาเครื่อง เว้นแต่จะไดร้ ับอนุญาตจากผซู้ ้ือตู้นำ้ ฯ ทําให้พบปัญหาน้ำไมไ่ ด้คณุ ภาพ 2.3 การปรบั ปรงุ คุณภาพน้ำ

8 การกรองนำ้ คือ การปรบั ปรงุ คณุ ภาพนำ้ ทางดา้ นกายภาพและชวี ภาพของน้ำใหด้ ขี ้ึนโดยกาํ จัดตะกอน ความขุน่ ออก ทาํ ใหน้ ำ้ ใส พร้อมกันนน้ั การกรองจะชว่ ยลดปรมิ าณของจลุ ินทรีย์ที่ตดิ มากบั นำ้ ได้มากถึง 85-99% ทงั้ นี้ขน้ึ กบั อปุ กรณ์กรองทีเ่ ลือกใช้ การผลิตน้ำโดยทวั่ ไปจะมีกระบวนการทีค่ ลา้ ยกัน คือ การกรอง และการฆา่ เชื้อ แต่จะแตกตา่ งกนั ที่วธิ กี ารตามวตั ถุประสงค์การนาํ ไปใช้ ระบบกรองนำ้ ท่ีนิยมใชใ้ นการผลิตนำ้ ดื่ม เช่น 1) Microfiltration (MF) เปน็ การกรองเพื่อกําจัดสารแขวนลอยทีม่ ีอยใู่ นนา้ํ สามารถกรองสารขนาดเล็กได้ถงึ 0.06 ไมโครเมตร (ไมครอน) และกรองแบคทเี รียต่าง ๆ ได้เกือบหมด รวมทัง้ กรองไวรสั บางสว่ นได้ไส้กรอง Microfiltration ท่ีใช้มอี ยู่ 2 ประเภท คือ ไสก้ รองแบบทรงกระบอก ทําจากพลาสติก และโลหะ เช่น Polyester, Polyethylene, Alumina (AL2O3) และ Zicronia (ZrO2) หรอื อาจเป็นวสั ดธุ รรมชาติ เชน่ นนุ่ และถา่ นกัมมนั ต์ ส่วนไส้กรองอกี ประเภทหน่งึ จะเป็นเมมเบรนแบบ Hollow Fiber ข้อแตกต่างกนั คือ ไส้กรองแบบทรงกระบอก จะใช้ในการกรองแบบใชแ้ ล้วทงิ้ เนือ่ งจากมีการอุดตนั แต่สามารถล้างทาํ ความสะอาดได้ และราคาคอ่ นข้างถูก สว่ นไสก้ รองแบบเมมเบรนนั้นราคาแพง สามารถล้างทาํ ความสะอาดได้ 2) Ultrafiltration (UF) เปน็ การกรองเพ่ือกาํ จดั สารแขวนลอยทีม่ ีอยใู่ นน้ำ เชน่ เดียวกบั Microfiltration แตส่ ามารถกรองสารไดเ้ ล็กถึง 0.002 ไมครอน กรองแบคทีเรยี ไวรัส และสารอนิ ทรีย์ท้งั หลายได้ เชน่ โปรตนี และไขมนั ตา่ ง ๆ ขนาดรูพรุนของ Ultrafiltration มกั ถกู กําหนดเปน็ ความสารถในการกรองขนาดโมเลกลุ ความดันทใี่ ช้ในการกรองตำ่ สนิ้ เปลอื งพลงั งานนอ้ ย วสั ดทุ ี่ใชท้ ําไสก้ รองมี 2 ประเภท คือ ไส้กรองเซรามกิ มลี ักษณะกลมยาว (Tubular) และไส้กรองเมมเบรนแบบ Hollow Fiber และแบบ SpiralWound ซึ่งไส้กรอง Ultrafiltration สามารถทาํ ความสะอาดได้ ยกเว้นไสก้ รองเมมเบรนแบบ Spiral Wound 3) Nanofiltration (NF) เปน็ การกรองสารอนนิ ทรีย์ (Inorganics) กลุ่มเกลือแร่ท่ลี ะลายออก แตกต่างกบั การกรองแบบ Microfiltration และ Ultrafiltration เป็นการกรองโดยอาศัยการแพร่ (Diffusion) สามารถกรองสารอนนิ ทรยี ์ที่ก่อใหเ้ กดิ ความกระด้าง จงึ เรียกอีกช่อื หนง่ึ ว่า เมมเบรนน้ำอ่อน (Softening Membrane)การกรองจะใช้ความดันสูงกวา่ Microfiltration และ Ultrafiltration และใช้สารเคมเี ข้าไปล้างทาํ ความสะอาด 4) Reverse Osmosis (R.O.)

9 เป็นการกรองท่ีคล้ายกบั Nano filtration แต่กรองได้ละเอียดกว่า ขนาดรูพรุน 0.0001 ไมครอน ใกล้เคยี งกับโมเลกลุ ขอนำ้ จึงมเี พียงนำ้ ที่สามารถผ่านเย่ือกรองไปได้ สารปนเปื่อนอื่น ๆ รวมทงั้ แบคทีเรีย และไวรัสต่าง ๆ จะไม่สามารถผ่านไปได้ และถกู กําจดั ไปกับนำ้ ทง้ิ การกรองระบบ R.O. เป็นระบบกรองนำ้ ระบบหนง่ึ ที่มปี ระสิทธภิ าพสูงสดุ เท่าที่มีอยูใ่ นปัจจบุ นั หลักการของ Osmosis โมเลกลุ ของนำ้ มคี วามสามารถเคลื่อนท่ีผ่านเยื่อบางที่มีคณุ ลักษณะเฉพาะ ซ่งึ ยอมใหโ้ มเลกลุ ของสารอนื่ ไมส่ ามารถผา่ นไปได้ แต่วิธกี ารผลิตนำ้ ที่เรียก “ReverseOsmosis” ก็เพราะวา่ มกี ารใช้แรงดนั อดั น้ำให้ยอ้ นกลับกับทิศทางธรรมชาติจากดา้ นทสี่ ารละลายเข้มข้น ไปยงั ดา้ นท่ีสารละลายเจอื จาง 2.4 การปนเปื่อนของจุลนิ ทรียใ์ นนำ้ ดื่ม น้ำบรโิ ภคทไ่ี ม่สะอาดอาจเป็นแหล่งของเช้ือโรคและแบคทีเรีย ซงึ่ กอ่ ใหเ้ กิดโรคและแบคทเี รีย ซง่ึ ก่อให้เกิดโรคระบาดต่าง ๆ เช่น โรคระบบทางเดนิ อาหาร โรคลําไสอ้ กั เสบ โรคบดิ โรคไทฟอยด์โรคอหิวาห์ และโรคตับอักเสบ เปน็ ต้น ซึง่ โรคตา่ ง ๆ ดังกล่าวมสี าเหตมุ าจากแบคทีเรยี ท่ีปนเป้ือนอุจจาระของคนสตั วเ์ ลือดอนุ่ ส่ิงปฏิกูลทป่ี ล่อยลงแหล่งนำ้ แบคทีเรียท่ีพบในน้ำบรโิ ภคท่ีไมส่ ะอาด มีหลายชนดิ ดังนี้ 1) โคลฟิ อรม์ แบคทเี รยี (Coliform bacteria) ปรมิ าณของโคลิฟอร์มแบคทีเรยี ใชเ้ ปน็ ดัชนชี ี้วัดความปลอดภยั ด้านจลุ นิ ทรีย์ของสุขาภบิ าลอาหารและน้ำ เน่อื งจากสามารถดํารงชวี ติ ในแหล่งนำ้ ไดน้ านกวา่ แบคทเี รียท่ที าํ ใหเ้ กดิ โรค การตรวจพบโคลฟิ อร์มแบคทีเรยี ในอาหารและน้ำปริมาณมาก บง่ ชถ้ี ึงความไมส่ ะอาด ไม่ถูกสขุ ลกั ษณะ และอาจมีการปนเปื้อนของอุจจาระของคน หรือสตั วเ์ ลือดอุน่ โคลฟิ อร์มแบคทเี รยี ตดิ สีแกรมลบ รปู รา่ งเปน็ แทง่ เป็นเชอื้ ท่ชี อบอากาศ ย่อยสลายน้ำตาลแลกโตส(Lactose) ให้เกดิ กรดและก๊าซ ไมท่ นร้อน ทาํ ลายได้งา่ ย ด้วยความรอ้ นระดบั พาสเจอร์ไรซ์ พบไดต้ ามธรรมชาติในทางเดนิ อาหาร (ลําไส้) ของคนและสตั ว์เลือดอนุ่ มักปนเป้ือนมากบั อุจจาระ นอกจากนี้ยังพบกระจายอยู่ทัว่ ไปในธรรมชาติ เชน่ ในดนิ น้ำ และนำ้ ท้งิ 2) ซาลโมเนลลา (Salmonella sp.) เป็นสาเหตุของการเกดิ โรคระบบทางเดนิ อาหารพบอาศัยอยใู่ นน้ำท่มี ีอุจจาระปนเป้ือน Samonella typhi เปน็ สาเหตุสาํ คัญของโรคไทฟอยด์ และแพร่เชือ้ ไดโ้ ดยทางนำ้ บริโภค 3) วบิ รโิ อ (Vibrio sp.)

10 เปน็ แบคทเี รยี ท่ีพบไดท้ ้ังในน้ำบรโิ ภค เช่น Vibrio cholera สาเหตขุ องโรคอหวิ าตพ์ บในน้ำโสโครกและระบาดอย่างรวดเร็ว ไมท่ นความร้อน ถกู ทําลายทอ่ี ณุ ภูมสิ งู 50°C น้ำบริโภคทเ่ี ติมคลอรีน จะมีความปลอดภยั จากเชือ้ น้ี 4) สแตปฟโิ ลคอคคัส ออเรยี ส (Staphylococcus aureus) เปน็ แบคทเี รียท่ีพบในระบบทางเดินหายใจ และคนที่มบี าดแผล เปน็ หนอง เปน็ ต้น จงึ ใชเ้ ปน็ ดัชนที างสขุ อนามัยของคนงาน และทาํ ใหเ้ กดิ โรคอาหารเป็นพษิ ทเ่ี กดิ จากบรโิ ภคอาหารท่ีมสี ารพษิ ท่เี ชือ้ สรา้ งข้นึ มีอาการคลื่นไส้ อาเจยี น วิงเวียนเปน็ ตะครวิ ในชอ่ งท้องและอ่อนเพลยี แบคทเี รียชนิดนไี้ มท่ นความร้อนแตส่ ามารถสรา้ งสารพิษที่ทนความรอ้ น 5) ชิเจลล่า (Shigella sp.) พบในทางเดนิ อาหารของคน และสัตวเ์ ลย้ี งลูกดว้ ยนม ติดต่อผ่านทางอาหารและนำ้ ท่ีไมส่ ะอาด ทําใหเ้ กิดโรคอาหารเปน็ พษิ ท่ีเกดิ จากการติดเชื้อ ทาํ ใหเ้ กิดโรคบดิ หรือshigellosis มีไข้ อาเจียน ลําไส้อักเสบ ทอ้ งร่วง และมีเลือดปนออกมาในอุจจาระ 6) คลอสตรเิ ดียม เพอร์ฟรงิ เจนส์ (Clostridium perfringens) พบได้ในทางอาหารของคนและสัตว์ น้ำโสโครก และอุจจาระ ทาํ ใหเ้ กดิ โรคอาหารเปน็ พษิ ที่เกดิ จากการบรโิ ภคอาหารทมี่ ีการปนเปอื้ นของสารพษิ ทเ่ี ช้อื สร้าง ทําใหม้ ีอาการคลืน่ ไส้ ปวดทอ้ ง ทอ้ งรว่ ง อาเจยี น 7) Fecal Streptococci ไดแ้ ก่ Streptococcus faecalis พบได้ในทางเดนิ อาหารของคน มกั ใชเ้ ปน็ ดัชนีช้วี ัดสขุ าภิบาลของโรงงาน และน้ำบริโภค มีการปนเปื้อนอุจจาระ 2.5 ปจั จัยเสี่ยงจากน้ำดื่มอตั โนมัติ ปจั จยั แรก น้ำทีใ่ ชใ้ นการผลติ หรือนำ้ ดิบ สว่ นใหญน่ ำ้ ด่มื อัตโนมตั ิ จะใชน้ ำ้ ประปาเป็นน้ำดิบ ซงึ่ นำ้ ประปามปี ริมาณของคลอรนี ทอ่ี ยู่ในนำ้ สงู เป็นอันตรายในการผลติ น้ำโดยใช้ระบบ R.O. เนอื่ งจากคลอรนี ในน้ำประปาจะทําใหเ้ ย่ือกรอง “Membrane” ฉกี ขาด ไมส่ ามารถกรองสิ่งสกปรกหรอื เชื้อจลุ ินทรีย์ได้ ดังน้นั การใช้น้ำประปาเป็นนำ้ ดบิ ทีผ่ า่ นระบบ R.O. จงึ ตอ้ งผ่านไสก้ รองคาร์บอน เพ่ือกําจัดคลอรีนในน้ำออกไปก่อนการผา่ นเข้าในระบบ R.O. ปัจจัยทส่ี อง การบํารุงดูแลรกั ษาตูน้ ำ้ ดมื่ อัตโนมตั ิ การผลติ นำ้ โดยใช้ระบบ R.O. ตอ้ งกรองผ่านเมมเบรน และเม่ือมกี ารกรองนำ้ มากขึน้ จะมสี ิง่ สกปรกหรือเชื้อโรคสะสมท่ีเมมเบรนทําใหเ้ กดิ การอุดตนั จงึ ต้องถอดออกมาล้างทําความสะอาด

11 จะทําให้เมมเบรนแตก และไม่สามารถกรองสง่ิ สกปรกในน้ำได้รวมถงึ การเปลยี่ นตัวกรอง การ Regenerate การดูแลบาํ รุงรกั ษาหลอด UV ตลอดจนอปุ กรณต์ ่าง ๆ ให้อยู่ในสภาพทีส่ มบูรณ์อยเู่ สมอ และการดูแลรกั ษาความสะอาดทัว่ ไป ดังนัน้ บริษัทผผู้ ลติ ต้นู ้ำด่มื อัตโนมัติหรือเจา้ ของตู้น้ำด่มื หยอดเหรยี ญควรมีการดูแลบํารุงรักษาอย่างต่อเนื่องและสม่ ำเสมอ ปัจจัยสดุ ทา้ ย คอื ภาชนะบรรจุทีผ่ ู้บริโภคนํามาบรรจใุ ส่นำ้ ต้องผา่ นการลา้ งทําความสะอาดอย่างเพยี งพอ เพ่ือความมั่นใจว่าภาชนะสะอาดพอทีจ่ ะบรรจุนำ้ โดยไม่ต้องผ่านการต้มทาํ ลายเชอื้ จลุ นิ ทรยี ์ใหป้ ลอดภยั ก่อนนําไปใช้หรอื ด่ืม 3. งานวิจัยที่เกีย่ วขอ้ ง ลลี านชุ สุเทพารักษ์ : ได้เขยี นบทความวจิ ัยเรือ่ ง การประเมนิ คุณภาพนำ้ ดม่ื จากตนู้ ้ำหยอดเหรียญในพ้นื ที่เขตบรกิ ารสขุ ภาพที่ 2 สรปุ ความวา่ การวจิ ยั นมี้ วี ตั ถุประสงค์เพื่อประเมนิ คุณภาพนำ้ ดื่มจากตนู้ ้ำหยอดเหรยี ญในพน้ื ทีเ่ ขตบริการสุขภาพที่ 2 โดยการประเมนิ สุขลกั ษณะของต้นู ้ำด่ืมหยอดเหรียญ คณุ ภาพนำ้ ก่อนและหลงั ทางด้านกายภาพ (ความกระด้าง) เคมี (คลอรีน) และโคลฟิ อร์มแบคทเี รยี โดยเก็บตัวอยา่ งน้ำก่อนและหลังจ้านวน 250 ตู้ ด้วยวิธกี าร Accidental Sampling พ้นื ท่เี ขตบรกิ ารสขุ ภาพที่ 2 ประเมนิ คุณภาพด้านสุขลักษณะโดยใช้แบบตรวจด้าน สุขลกั ษณะการประกอบกิจการท่เี ป็นอนั ตรายต่อสขุ ภาพ สำรวจพฤติกรรมของผู้บริโภคในการใช้บรกิ ารน้ำดื่ม จากตู้น้ำหยอดเหรยี ญโดยใชแ้ บบสอบถามจ้านวน 450 คน ผลการศึกษาพบว่า คณุ ภาพนำ้ ด่ืมจากตนู้ ้ำหยอดเหรยี ญไมผ่ า่ นเกณฑ์มาตรฐานทางดา้ นกายภาพ(ความกระด้าง) เคมี(คลอรนี ) และโคลิฟอรม์ แบคทีเรีย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 39.60 โดยตรวจพบความกระด้างเกินมาตรฐานน้ำดมื่ รอ้ ยละ 3.60 พบคา่ คลอรนี อสิ ระคงเหลือในนำ้ ไม่ผ่านเกณฑร์ ้อยละ 37.20 และพบการปนเปื้อนโคลิฟอร์มแบคทีเรยี รอ้ ยละ 31.20 ด้านสขุ ลกั ษณะของตู้นำ้ ดืม่ หยอดเหรยี ญพบวา่ มีสภาพสขุ าภบิ าลสถานท่ตี ั้งระดับดรี ้อยละ 78.40 ส่วนประกอบของต้นู ้ำอยู่ในระดับดี ร้อยละ 87.60 และมีความสะอาดท่เี หมาะสมร้อยละ 51.60 สาเหตุสำคญั ทที่ า้ ใหต้ ้นู ้ำดมื่ หยอดเหรยี ญไมผ่ า่ น เกณฑ์มาตรฐานและมีการพบตะไคร่นำ้ บริเวณหัวจ่าย เนอ่ื งจากผูป้ ระกอบการขาดความรบั ผดิ ชอบการดแู ลทา้ ความสะอาดต้นู ้ำ ขาดความตระหนกั ในตอ่ ความปลอดภยั ของผู้บรโิ ภคท่ีมาใชบ้ รกิ าร ท้าให้ประสิทธิภาพของตู้ นำ้ ด่ืมหยอดเหรียญตำ่ กวา่ มาตรฐาน แม้วา่ แหล่งนำ้ ดบิ ทใ่ี ช้จะเป็นนำ้ ประปาถงึ ร้อยละ 98.00 ลกั ษณะการใหบ้ ริการมีทงั้ บริษัทเปน็ เจ้าของและขายขาดให้ผูป้ ระกอบการรายย่อย โดยจะอย่ใู นเขตชมุ ชนทมี่ ผี ู้อยู่อาศัย หนาแนน่ ริมเส้นทางหลกั หรือบรเิ วณหอพัก อยใู่ นที่ทแี่ สงแดดส่องถึง ระบบภายในเครื่องประกอบด้วยระบบ ปรับสภาพนำ้ เบอื้ งต้น (การกรอง กลนิ่ สี ความขุ่น ความกระด้าง)

12 และระบบการฆา่ เช้ือ พบวา่ ระบบการ กรองทีใ่ ชส้ ่วนใหญเ่ ปน็ แบบอาร์โอผสมรงั สียวู ีร้อยละ 97.20 หรือผสมกบั วธิ อี ่นื เช่น ไบโอแอคทีพรฟี อร์มมง่ิ และโอโซน กญั ญา กอแก ว วรรณดี แสงดี ดารานัย รบเมอื ง และ กานดาวดี โนชยั : ไดเ้ ขียนบทความวจิ ยั เรื่อง สํารวจการปนเป อนของจลุ นิ ทรยี จากน้ำดม่ื ตู หยอดเหรียญในเขตอําเภอพระนครศรอี ยุธยา สรุปความวา่ ตู กดนำ้ หยอดเหรียญอัตโนมตั ิ เป นทางเลือกหนึง่ ของผู บริโภค เพราะราคาถกู และสะดวกในการบรโิ ภค แต ข อมลู การศึกษาคุณภาพของตู น้ำหยอดเหรยี ญยังมีน อยมาก งานวจิ ัยครง้ั นีจ้ งึ สาํ รวจคณุ ภาพการปนเป อนจลุ นิ ทรีย ของตู นำ้ หยอดเหรยี ญในเขตอําเภอพระนครศรอี ยุ ธยา ศึกษาจาํ นวน 30 ตัวอย าง ศกึ ษาคุณภาพทางจลุ ชวี วิทยา ได แก จาํ นวนแบคทีเรียทง้ั หมด จํานวนโคลฟิ อร มรวม ตรวจเช้อื E. coli, Staphylococcus aureus, Salmonella spp. และสาหร าย จากการศึกษาพบว า มนี ้ำดื่มไม ผ านเกณฑ จํานวน 22 (จาก 30 ตัวอย าง) คิดเป นร อยละ 73.33 โดย มจี ํานวนแบคทเี รยี ท้ังหมดมากกว า 500 โคโลนีต อมิลลิลติ ร จาํ นวน 13 ตวั อย าง (ร อยละ 43.33) จาํ นวนโคลฟิ อร มรวมโดยวิธีMPN มากกว า 2.2 จาํ นวน 7ตวั อย าง (ร อยละ 23) ตรวจพบ S. aureus จาํ นวน 3 ตัวอย าง (ร อยละ 10) พบการปนเป อนของสาหร ายจํานวน 5 ตวั อย าง (ร อยละ 16.67) และไม พบการปนเป อนของ E. coli และ Salmonella spp. วรศิ รา ปีอาทติ ย์ และ อลงกรณ์ วงศห์ มน่ั (2557) : ได้เขยี นบทความวจิ ัยเรื่อง คณุ ภาพนำ้ ด่ืมจากเครือ่ งผลติ น้ำด่มื หยอดเหรียญ โครงงานวิจัยดำเนินการโดยศึกษาคุณภาพน้ำดืม่ จากเครอื่ งผลติ น้ำดืม่ หยอดเหรยี ญในพ้นื ท่ชี มุ ชนรอบมหาวทิ ยาลัย นเรศวร จงั หวัดพษิ ณุโลก โดยท้าการศึกษาระหวา่ งเดือนกรกฎาคม ถึงเดอื นธนั วาคม พ.ศ. 2556 ซ่ึงจ้านวนเครอื่ งผลติ น้ำด่ืมหยอดเหรยี ญมีทัง้ สิ้น 167 เคร่ือง (ณ วันที่ 18 กรกฎาคม 2556) จากการสำรวจพบวา่ ระบบการปรบั ปรุงคณุ ภาพน้ำมี 3 ระบบทไี่ ดร้ ับความนยิ มในการติดต้ัง ได้แก่ ระบบ Ultraviolet (UV), ระบบ Reverse Osmosis (RO), Reverse Osmosis รว่ มกบั Ultraviolet (RO+UV) และพบแหลง่ นด้ ิบหลักที่ใชใ้ นการผลติ 3 ประเภท ได้แก่ น้ำจากระบบประปาหมู่บา้ น น้ำจากการประปาส่วนภูมภิ าค และน้ำทีผ่ า่ นการปรับปรงุ คุณภาพนำ้ เบ้ืองตน้ โดยผูป้ ระกอบการอสิ ระ ทั้งน้ีได้ทำการเกบ็ ตวั อยา่ งน้ำครอบคลุมตวั อย่างน้ำที่ผา่ นการปรับปรุงคุณภาพนำ้ ท้งั 3 ระบบ และครอบคลุมแหลง่ นำ้ ทง้ั 3 ประเภท รวมทงั้ สน้ิ 45 ตัวอย่าง โดยมวี ตั ถุประสงค์เพ่ือตรวจวิเคราะหค์ ุณภาพนำ้ ด้านกายภาพ ดา้ นเคมีและด้านชวี ภาพ ดัชนที ท่ี ำการวเิ คราะห์คือ pH, NO3-, Fe, Zn, Cd, Cu, Mn, Total coliform และ E.coli เพ่อื ใช้ 1) เปรียบเทยี บกบั คา่ มาตรฐานตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรือ่ งนำ้ บริโภคในภาชนะบรรจทุ ี่ปิดสนทิ 2)

13 เปรยี บเทยี บความแตกต่างทางสถิตขิ องคุณภาพนำ้ ตามประเภทของระบบการปรับปรุงคุณภาพนำ้ และ 3) เปรียบเทียบความแตกตา่ งทางสถติ ิตามประเภทของแหล่งน้ำดิบท่ีใชใ้ นการผลิต ผลการศึกษา พบวา่ 1) เมื่อทำการเปรยี บเทียบคุณภาพน้ำด่มื กบั ค่ามาตรฐานคุณภาพน้ำด่มื ในภาชนะบรรจทุ ่ปี ิดสนทิ ตามประกาศกระทรว งสาธารณสขุ พบว่า นำ้ ด่มื จากเครือ่ งผลติ นำ้ ด่ืมหยอดเหรียญผ่านเกณฑ์มาตรฐานทุกพารามิเตอร์คดิ เป็นร้อยละ 20 และไมผ่ า่ นเกณฑ์มาตรฐานอย่างน้อย 1 พารามิเตอร์ คิดเป็นร้อยละ 80 พบดัชนีที่ไม่ผา่ นเกณฑม์ าตรฐาน ไดแ้ ก่ คา่ ความเป็นกรด-ดา่ ง (ร้อยละ 8.9) ไนเตรท (ร้อยละ 11.1) แคดเมียม (ร้อยละ 68.9) โคลฟิ อรม์ แบคทเี รยี รวม (ร้อยละ 20) และ Escherichia coli (รอ้ ยละ 17.8) ดัชนที ่ผี ่านเกณฑม์ าตรฐานทุกตัวอยา่ ง ได้แก่ Fe, Zn และ Cu 2) เมือ่ เปรียบเทยี บความแตกตา่ งของคุณภาพนำ้ ดม่ื ที่ผลติ จากระบบการปรับปรุงคุณภาพนำ้ ดม่ื ท่แี ตกต่างกนั พบว่า ตวั อย่างนำ้ ด่มื จากระบบปรับปรงุ คณุ ภาพดว้ ย UV ทกุ ตัวอยา่ งท่ีทำการวเิ คราะห์ไมผ่ ่านเกณฑ์มาตรฐาน ตวั อย่างนำ้ ด่มื จากระบบปรับปรุงคุณภาพด้วย RO ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอย่างน้อย 1 พารามเิ ตอร์ คิดเป็นร้อยละ 66.67 และตวั อย่างนำ้ ดื่มจากระบบปรับปรงุ คุณภาพด้วยระบบ RO รว่ มกับ UV ไมผ่ า่ นมาตรฐานอยา่ งน้อย 1 พารามิเตอรค์ ดิ เปน็ รอ้ ยละ 73.33 เม่ือวเิ คราะห์ความแตกตา่ งกันของคณุ ภาพน้ำดื่มจากแตล่ ะระบบปรับปรุงคุณภาพนำ้ ในทางสถติ ิ พบค่า Fe ในนำ้ ดม่ื จากทกุ ระบบการปรับปรุงคุณภาพน้ำมีค่าแตกต่างกันทางสถิติ ซึ่งระบบทมี่ ีค่าของ Fe ในน้ำดมื่ นอ้ ยทสี่ ดุ และมากท่สี ุดคอื ระบบ RO รว่ มกบั UV, ระบบ RO และระบบ UV ตามลำดบั และพบคา่ Cd ของระบบ RO และ RO ร่วมกับ UV ไม่มีความแตกตา่ งกันทางสถิติ แต่มคี วามแตกตา่ งกันทางสถิตจิ ากระบบ UV ซงึ่ น้ำดม่ื จากระบบ UV มีค่า Cd สูงที่สุด 3) เมื่อเปรียบเทยี บความแตกตา่ งของคุณภาพน้ำดม่ื ทีผ่ ลติ จากแหลง่ น้ำดิบที่แตกต่างกัน พบวา่ คณุ ภาพน้ำจากเคร่ืองผลติ ทใ่ี ช้แหล่งน้ำดบิ จากนำ้ ประปาหมบู่ ้านไมผ่ า่ นเกณฑม์ าตรฐาน คิดเปน็ รอ้ ยละ 80 เคร่ืองผลติ นำ้ ดื่มหยอดเหรียญที่ใชแ้ หลง่ นำ้ ดบิ จากการประปาส่วนภูมภิ าคพบว่าไม่ผา่ นเกณฑ์มาตรฐาน คิดเปน็ ร้อยละ 86.66 และเครื่องผลติ น้ำด่ืมหยอดเหรยี ญทีใ่ ชแ้ หลง่ น้ำดบิ จากการดำเนินการของผู้ประกอบการอิสระพบวา่ ไมผ่ า่ นเกณฑ์ มาตรฐาน คดิ เป็นรอ้ ยละ 73.33 เมอื่ วิเคราะห์ความแตกต่างกนั ของคุณภาพนำ้ ด่ืมจากแหลง่ น้ำดบิ แตล่ ะประเภท พบว่า ไม่มีความแตกตา่ งทางสถติ ใิ นทกุ ดัชนที ท่ี ำการวเิ คราะห์ นรา ระวาดชยั และวรางคณา สงั สทิ ธสิ วัสดิ์(2555) : ไดเ้ ขียนบทความวจิ ยั เร่ือง ป จจยั ทมี่ ีผลต อคณุ ภาพนํ้าด่ืมจากตู หยอดเหรียญอัตโนมัตินำ้ ดืม่ จากตูห้ ยอดเหรียญอตั โนมัตมั ิการปรับปรุง คุณภาพน้ำด้วยระบบการกรองแบบออสโมซสิ ยอ้ นกลบั (Reverse osmosis)

14 และการฆ าเชือ้ โรคด วยแสงอัลตร าไวโอเลต (Ultraviolet) สามารถกาํ จัดสารละลายนา้ํ และฆ าเช้ือโรคได การศึกษานตี้ รวจคุณภาพนํา้ ก อนเข าและนํ้าที่ผ านตู นํ้ าดม่ื หยอดเหรยี ญอตั โนมัติสาํ รวจสภาพสุขาภิบาลและการดแู ลรกั ษาตู ประชากรตู หยอดเหรยี ญอัตโนมตั จิ ํานว นทง้ั หมด 152 ตู ในพื้นท่รี ัศมี 500 เมตรห างจากแนวรั้วมหาวิทยาลัยขอนแก น ผลการศึกษาพบว า น้ําก อนเข าตู หยอดเหรยี ญอตั โนมัติเป นนํ้าประปา จาํ นวน 145 ตู คิดเปน็ ร้อยละ 95.40 จากการประปาสวนภมู ภิ าคจังหวัดขอนแกน่ คุณภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐานตวั อย่างนำ้ บาดาล จํานวน 7 ตู คดิ เปน็ ร้อยละ 4.60 คุณภาพนาํ้ มีค าความกระด างท้งั หมดไม ผ านเกณฑ มาตรฐานร อยละ 28.60 สําหรบั คณุ ภาพน้ำดมื่ ทืผ่ า่ นตู้หยอดเหรยี ญอตั โนมัติส่วนใหญ่ผ านเกณฑม์ าตรฐานร้อยละ 81.58 พารามเตอรท์ ่ีไมผ่ านเกณฑ มาตรฐานคือพี-เอชรอ้ ยละ 6.6 และโคลฟอร์มแบคทเี รียร้อยละ 2.63 ดู้ และตนู้ ำ้ ดม่ื หยอดเหรยี ญอัตโนมตั ิ ทกุ แหง่ ไม เคยไดร้ ับการอบรมและตรวจสอบคณุ ภาพนำ้ ดมื่ สภาพสขุ าภบิ าลสถานที่ตั้งตหู้ ยอดเหรียญอัตโนมัติแล ะสภาพสว่ นประกอบของตู้หยอดเหรยี ญอัตโนมัติอยู่ในระดับดี (รอ้ ยละ 76.97 และร้อยละ 87.50 ตามลำดบั ) สำหรับปจั จ ยทม่ี ีผลต่อคุณภาพนำ้ ดม่ื จากตู้หยอดเหรียญอตั โนมตั อิ ย่างมนี ัยสำคัญทางสถิติคือ ช่องจา่ ยนำ้ ไม่ปกติ หรือชำรดุ มีผลตอ่ คณุ ภาพนำ้ ดืม่ ไม่ผา่ นเกณฑ์ 2.91 เท่าของสภาพพร้อมใช้งาน (P-value =0.03, OR=2.91,95% CI=0.93 to 8.46) และการดูแลระบบกรองไมเ่ ปล่ียนไส้กรองตามรอบระยะเวลา มผี ลต่อคุณภาพน้ำไม่ผ านเกณฑ์ มาตรฐานเป น 9.46 เท าของการปฎบิ ตั ถิ กู ต อง (P-value=0.03, OR=9.46, 95% CI : 0.47 to 562.5) ดังนนั้ ผู ประกอบการควรล างถังกักเกบ็ นาํ้ เปลยี่ นไส กรองและส วนประกอบของตู หยอดเหรยี ญอัตโนมัตใิ ห อยู ในสภาพพร้อมใช งานเสมอ

15 บทท่ี 3 วิธีการดำเนินการ 1. วัสดอุ ปุ กรณ์ 1. มอเตอร์ไฟฟ้า 1 เครือ่ ง 2. หลอด 3 อนั 3. กลอ่ งกระดาษลัง 1 กลอ่ ง 4. นำ้ อัดลม 3 ขวด 2. การสร้างตู้กดนำ้ จากลังกระดาษ 1. ตอ่ สายไฟเข้ากับสวติ ชเ์ ปดิ /ปิด และตวั มอเตอร์ 2. เจาะรบู นฝาขวดนำ้ เพอ่ื ต่อสายยางจากขวดน้ำอัดลมออกมา จากนั้นลองเช็คดวู า่ สายยางใสยาวพอสำหรบั การใชง้ านหรอื ไม่ 3. นำลังกระดาษมาประกอบเป็นเครื่องให้เรยี บร้อย 4. จากนน้ั นำเครื่องดม่ื มาใส่ไว้ในลังกระดาษ 5. หลังจากจัดวางอปุ กรณ์เรียบร้อยแล้ว ก็ลองทนสอบการใช้งานดวู า่ เป็นอย่างไรบา้ ง ทำฝาปดิ ติดสต๊กิ เกอร์กเ็ ป็นอันเสรจ็ สมบรู ณ์ 3. การสร้างดำเนนิ งาน ขัน้ ตอนนเ้ี ม่ือไดส้ ร้างตู้กดนำ้ จากลังกระดาษแลว้ คณะผูจ้ ัดทำโครงงานได้ปฏบิ ตั ิงานแต่ละขั้นตอน เมอ่ื โครงงานตกู้ ดน้ำจากลังกระดาษต้องไปทดลองการทำงานแล้วนำไปใชง้ าน

16 บทท่ี 4 ผลการทดลอง การวิเคราะห์ข้อมูลเรอ่ื งขอ้ มลู เรื่องตู้กดน้ำจากลังกระดาษ ได้ผลดังนี้ ตอนที่ 1 การเปรียบเทียบคุณภาพของตูก้ ดน้ำสำเรจ็ รปู กับตู้กดน้ำที่ทำจากลงั กระดาษ ตารางท่ี 4.1 การเปรยี บเทยี บของตู้กดนำ้ คณุ สมบตั ิ ตกู้ ดน้ำจากลังกระดาษ ตกู้ ดน้ำสำเร็จรปู 1. ประหยดั พืน้ ท่ีในบ้าน ประหยดั พ้นื ท่ี ไมป่ ระหยัดพ้นื ที่ เพราะมขี นาดใหญ่ เพราะกำหนดขนาดได้เอง 2. ดม่ื นำ้ ได้ ดื่มน้ำได้ ด่ืมนำ้ ได้สะดวกสบายมากย่งิ ข้ึ เพราะไม่ต้องออกไปซ้อื ทร่ี า้ นสะดวกซ้ื เพราะไม่ต้องออกไปซ้ือทรี่ า้ นสะดวกซ้ื นอ อ 3. ประหยัดค่าใชจ้ ่าย ประหยัด เพราะเป็นวัสดุเหลือใช้ ไมป่ ระหยัด เพราะต้องซื้อในราคาแพง 4. พกพาได้ พกพาได้ เพราะไม่ต้องติดต้ังสายดนิ พกพาไมได้ เพราะตอ้ งติดตั้งสายดนิ เคลอื่ นยา้ ยสะดวก เคลื่อนยา้ ยไมส่ ะดวก 5. ซ่อมแซมงา่ ย ซ่อมแซมง่าย ซ่อมแซมไม่ได้ เพราะสามารถทำได้ด้วยตนเอง เพราะต้องเรยี กชา่ งมาซ่อม 6. ความทนทาน ไมท่ นทาน ทนทาน เพราะวสั ดุมีความคงทน เพราะวัสดทุ ำจากลงั กระดาษ จากตารางที่ 4.1 พบวา่ การเปรียบเทยี บคณุ ภาพของตู้กดน้ำจากลังกระดาษและตู้กดนำ้ สำเร็จรปู คณุ สมบตั ิท่ีดที ตี่ ู้กดน้ำจากลังกระดาษมีมากกว่าตู้กดนำ้ อัตโิ นมัตคิ อื ประหยัดพ้ืนท่ใี นบ้าน ดม่ื น้ำไดส้ ะดวกสบายมากย่ิงข้ึน ประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ย พกพาได้ และซ่อมแซมงา่ ย แตค่ ณุ สมบัตทิ ต่ี ู้กดน้ำจากลังกระดาษยงั คงบกพร่องอยคู่ ือความทนทาน เพราะวสั ดุหลักที่ใชใ้ นการประดษิ ฐ์คือลงั กระดาษ ซง่ึ เป็นวัสดุทช่ี ำรดุ งา่ ย หากโดนนำ้ ก็อาจทำให้เปื่อยและเสียหายได้

17

18 บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ จากการศึกษาครั้งน้ี เพื่อการนำวัสดุเหลือใชก้ ลบั มาประยุกต์ให้เกิดประโยชนส์ ูงสดุ ซง่ึ สรุปผล อภิปรายผล ได้ดังน้ี 5.1 สรุปผล จากการทดลองนำตู้กดนำ้ จากลังกระดาษไปใชง้ านในห้องเรียน ผลการทดลองพบวา่ ตกู้ ดน้ำสามารถใช้งานได้ดีและมนี ้ำไหลออกมาตามสมมติฐานท่ีคาดหวังไว้ แตพ่ บว่าเกิดข้อผิดพลาดข้นึ บางประการเมื่อมกี ารใชง้ านจากผูค้ นจำนวนมาก เนื่องจากวสั ดทุ ่ใี ชเ้ ป็นลงั กระดาษ เมอ่ื มีการร่วั ซึมเกดิ ข้ึนก็ส่งผลใหต้ ูก้ ดนำ้ เกิดความเสียหาย 5.2 อภิปรายผล พบวา่ การเปรยี บเทียบคณุ ภาพของตกู้ ดนำ้ จากลงั กระดาษและตกู้ ดน้ำสำเรจ็ รูป คุณสมบตั ิที่ดีทตี่ ู้กดน้ำจากลังกระดาษมมี ากกวา่ ตู้กดน้ำอัติโนมตั ิคือ ประหยดั พืน้ ทใ่ี นบา้ น ด่มื นำ้ ได้สะดวกสบายมากยง่ิ ข้ึน ประหยัดคา่ ใช้จ่าย พกพาได้ และซ่อมแซมงา่ ย แตค่ ุณสมบัตทิ ีต่ ู้กดนำ้ จากลงั กระดาษยงั คงบกพร่องอยู่คือความทนทาน เพราะวสั ดุหลักท่ีใช้ในการประดษิ ฐค์ ือลงั กระดาษ ซง่ึ เป็นวัสดุที่ชำรุดงา่ ย หากโดนนำ้ ก็อาจทำให้เป่อื ยและ เสียหายได้ 5.3 ข้อเสนอแนะ 5.2.1 ควรใช้กล่องพลาสติกหรือวสั ดุที่กันนำ้ ในการประดษิ ฐ์แทนการใชล้ งั กระดาษ เพ่ือป้องกนั การรั่วซึม 5.2.2 ควรใช้สวิตช์ทีแ่ ข็งแรงคงทนกบั ความร้อน เพ่อื ป้องกันการหลอมเหลวของตัวสวิตช์ 5.2.3 ควรมีทป่ี ้องกนั ระหว่างมอเตอร์กบั ขวดนำ้ เพ่ือป้องกันการชำรุดของมอเตอร์

19 บรรณานุกรม วกิ ิพจนานุกรม. (2562). อตั โนมัติ. สบื ค้นเมือ่ 11 สงิ หาคม 2562 , จาก https://th.wiktionary.org Pornpanithan Pack. (2560). กระดาษลัง. สืบคน้ เมื่อ 11 สงิ หาคม 2562 , จาก http://www.pt-pack.com Sanook. (2556). กดนำ้ . สบื คน้ เมื่อ 11 สงิ หาคม 2562 , จาก https://guru.sanook.com/6450/

20 ภาคผนวก

21 เตรยี มอปุ กรณ์ (มอเตอร์ขนาดเลก็ , สายไฟ, สวติ ช์, รางถ่าน, ถา่ น, ฝาขวดน้ำ, ท่อนำ้ , ลังกระดาษ) ตอ่ สายไฟเขา้ กบั มอเตอร์, สวิตช์ และรางถ่าน เจาะรทู ีฝ่ าขวดน้ำเป็นจำนวน 2 รูเพอ่ื ใส่ทอ่ นำ้ ขนาดเลก็ เข้าไป ใส่ทอ่ นำ้ ขนาดเลก็ ด้านหนึ่งเข้าไปในรูของฝาขวด ที่เจาะเรยี บร้อยแลว้ และใส่อีกด้านเขา้ กบั ตัวมอเตอร์

22 นำลงั กระดาษมาประกอบเข้าด้วยกันเปน็ รปู ตัว L เจาะรูท่ลี งั กระดาษเพอ่ื ใส่สวติ ชแ์ ละท่อ นำฝาทเี่ จาะรูและตอ่ ท่อเรียบรอ้ ยแล้ว มาประกอบเขา้ กบั ขวดนำ้ ดมื่ และตัวมอเตอร์

23 ประวัตสิ มาชกิ

24 ช่ือ : นางสาวนภกมล ปินตาพรหม ชั้น ม.5/12 เลขที่ 3 เกดิ : 11 พฤศจิกายน 2545 ท่อี ยู่ : 16/32 หม่บู ้านโคซ่ี สตรวี ิทยา 2 ซอย 10 แขวงลาดพรา้ ว เขตลาดพร้าว กรงุ เทพฯ 10230 ชอ่ื : นางสาวภูตะวัน พรอ้ มทอง ช้นั ม. 5/12 เลขที่ 4 เกิด : 15 มิถุนายน 2546 ทีอ่ ยู่ : 41 ซอยโพธิแ์ ก้ว 3 แยก 7 ถนนลาดพร้าว101 แขวงคลองจ่นั เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 ชอื่ : นางสาวสุทธดา สุวรรณานชุ ช้ัน ม.5/12 เลขที่ 7 เกิด : 14 ตุลาคม 2545 ทีอ่ ยู่ : 186 แยก 3/4 ซอยพหลโยธิน 48 ถนนพหลโยธิน แขวงอนุสาวรยี ์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220

25 ชอ่ื : นางสาวศศิธร มีสขุ ชนั้ ม. 5/12 เลขท่ี 15 เกิด : 23 กรกฎาคม 2546 ที่อยู่ : 701/96 ถนนรามอนิ ทรา แขวงทา่ แรง้ เขตบางเขน กรงุ เทพฯ 10220 ชอ่ื : นางสาวพิมพ์ชนก เพิ่มทองชูชัย ชั้น ม.5/12 เลขที่ 34 เกิด : 30 พฤศจกิ ายน 2545 ที่อยู่ : 23 ซอยรามอินทรา 32 แยก 10 ถนนรามอนิ ทรา แขวงท่าแรง้ เขตบางเขน กรงุ เทพฯ 10220 ชื่อ : นางสาวศจุ ริ า ไตรรัตนทรงพล ชน้ั ม.5/12 เลขที่ 35 เกดิ : 4 มกราคม 2546 ทอี่ ยู่ : 24 ลาดปลาเค้า 31 เขตลาดพร้าว แขวงจรเขบ้ ัว กรงุ เทพฯ 10230


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook