Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการสอน

เอกสารประกอบการสอน

Published by tatar.rum, 2018-03-28 05:20:31

Description: บทที่ 1 เรื่องประเภทและชนิดของสาหร่าย

Search

Read the Text Version

1 ประเภทและชนดิ ของสาหรา ย บทท่ี 1 ประเภทและชนิดของสาหราย สาหรา ย เปน ชอ่ื เรียกสงิ่ มีชีวิตหลายชนิดในอาณาจักรโครมาลวีโอลาตา เอกซคาวาตา ไรซาเรีย มีลักษณะคลา ยพืช แตไมมีสว นท่เี ปนราก ลําตน และใบท่ีแทจรงิ มีขนาดตัง้ แตเลก็ มากมเี ซลลเดียว ไปจนถึงขนาดใหญท ีป่ ระกอบดว ยเซลลจ าํ นวนมาก อาจเปน เสนสายหรือมลี ักษณะคลายพืชชั้นสูงกม็ ี การแบง พวกสาหรา ยแบงตามรปู รางลักษณะภายนอกหรอื ดูตามสี จึงมีสาหรายสีเขียว เขยี วแกมนา้ํ เงนิ นาํ้ ตาล และสีแดงสาหรายสืบพนั ธโุ ดยไมอ าศัยเพศก็มี อาศัยเพศก็มี อยา สับสนกบั สาหรายบางชนิด เชน สาหรายหางมาสาหรายหางกระรอก สาหรายขา วเหนียว สาหรา ยเหลา นี้ คอื พืชดอกไมใชโ พรทสิ ต แหลง ทีอ่ ยูของสาหรายมตี างๆกันสวนใหญอยใู นน้าํ ทั้งนา้ํ จืด นาํ้ กรอ ย น้ําเค็ม คุณคา ทางอาหารของสาหรายพบวา ไมส งู มากนัก คารโ บไฮเดรตที่มีอยูเปนพวกที่ยอ ยยากในตวั คน โปรตนี กม็ ีนอยแตส่ิงท่ีไดจ ากสาหรา ย คอื แรธาตุและวติ ามินหลายชนิด นอกจากเปนอาหารคน เชน สาหรา ยอบกรอบ และปจจุบันนํามาประกอบเปน ผลิตภณั ฑตา งๆแลวยังใชเปน อาหารสตั ว เปนปยุ และเปน ยา สาหรายสเี ขยี วแกมนา้ํ เงนิ(Bluegreen Algae) สามารถจบั ไนโตรเจนในอากาศไดอยา งอสิ ระ(Nonsymbiotic Nitrogen Fixer)Anabaena, Oscillatoria, nostoc สาหรา ยเปน พืชช้นั ตาํ่ ทมี่ ีคลอโรฟล ล แตไ มม สี ว นท่เี ปน ราก ลาํ ตน และใบที่แทจรงิ มตี งั้ แตขนาดเล็กมาก ประกอบดวยเซลลเพียงเซลลเ ดยี วซงึ่ มองไมเ หน็ ดว ยตาเปลา ตองดูดว ยกลอ งจุลทรรศน ไปจนถึงขนาดใหญป ระกอบดวยเซลลจาํ นวนมาก อาจเปนเสนสาย (FILAMENT) หรือมีลักษณะคลายพชื ชัน้ สูงโดยมสี ว นที่คลายราก ลําตน และใบ รวมเรยี กวา ทัลลสั (THALLUS) อยา งไรกต็ าม สาหรา ยกส็ ามารถเจริญเติบโตไดในลกั ษณะเดียวกับพืช เน่ืองจากมเี ม็ดคลอโรฟลลซ่ึงทาํ ใหสามารถสงั เคราะหแ สงได และจะเจรญิ เติบโตไดด ใี นสถานที่ท่ีมีแสงแดดจดั ปริมาณคารบอนไดออกไซดในนํ้าสูง แรธ าตอุ าหารพอเพยี ง ประสทิ ธิภาพในการสงั เคราะหแ สงของสาหรา ยสงู มากเมื่อเทียบกบั พชื ทว่ั ไป ดวยเหตุนี้จึงทาํ ใหสาหรายเจริญเตบิ โตไดอยางรวดเร็วในแตล ะปป ระเทศไทยตอ งนําเขา สาหรา ยทะเลและผลติ ภัณฑเ พ่ือบรโิ ภคและใชใ นอตุ สาหกรรมปล ะเกือบรอยลานบาท ซึ่งจากการศึกษาและทดลองพบวาผลติ ภณั ฑเหลาน้บี างประเภทสกัดไดจากสาหรายพนั ธุตา งๆท่สี ามารถเจรญิ เติบโตและเพาะเลย้ี งไดในประเทศไทย ดังนน้ั หากวามีการพัฒนาอยางจรงิ จังและตอเนื่องเพื่อการผลติ ทดแทนการนาํ เขา กจ็ ะชว ยลดดลุ การคาไดบ า ง นอกจากน้ียังเปนการสรางรายไดใ นอาชพี ใหมแ กเกษตรกรภายในประเทศดวยความรทู ัว่ ไปเกย่ี วกบั สาหราย สามารถสรปุ ไดด ังตอ ไปนี้ (กาญจนภาชน, 2527) 1. สวนประกอบของเซลลสาหราย ประกอบดว ยโครงสราง 3 สวนทีส่ ําคญั ไดแ ก  ผนังเซลล (Cell wall) ประกอบดวยสารจาํ พวกคารโบไฮเดรต บางชนดิ เปน พวกซิลิเกต บางชนิดประกอบดว ยโปรตนี ซ่งึ มีหนิ ปูน เหล็ก หรอื ไคตนิ หุม อยู สาหรา ยโดยทั่วไปจะมผี นงั เซลล 2 ชนั้ โดยผนังช้ันนอกจะเปน สารพวกเพกติน มลี กั ษณะออนนิม่ เปน เมอื ก สว นผนงั ช้ันในเปนสารพวกเซลลูโลส ทาํ หนา ทใ่ี หความแขง็ แรงกบั เซลล ทาํ ใหเ ซลลคงรปู อยูได  นวิ เคลยี ส (Nucleous) เปนสวนทส่ี าํ คญั ทส่ี ดุ ของเซลล สาหรายบางชนดิ เปนพวกโปรแครี วชิ าเทคนคิ การเลี้ยงสาหรา ย 3601-2111

2 ประเภทและชนิดของสาหรายโอต (procaryote) เชน สาหรายสีเขยี วแกมน้าํ เงิน (Blue-green algae) ไมมนี วิ เคลยี สทีแ่ ทจรงิ โดยเกบ็ ดีเอ็นเอไวในนวิ คลอยด รเี จียน (Nucleoid Region) และไมม ีออรแ กแนลลที่มีเย่ือหุม เมมเบรน สว นสาหรา ยบางชนิดทเ่ี ปนยูแครีโอต (Eukaryote) จะมีนวิ เคลยี สท่แี ทจริง นั่นคอื ดเี อน็ เอจะถูกเกบ็ ไวใ นออรแกแนลลท ่ีหมุดว ยเยื่อเมมเบรน ทําใหโ ครโมโซมซง่ึ มอี ยูเปน จํานวนมากอยูภายในนวิ เคลียส ไมออกมาปะปนกบั ออรแกเนลล(Organelle) อ่ืนๆ ทอี่ ยูใ นไซโทพลาสซึม  ไซโตพลาสซึม (Cytoplasm) ประกอบดวยนาํ้ สารประกอบเคมที ีจ่ ําเปน และออรแกเนลลต า งๆ เชน พลาสติด (Plastid) ซง่ึ เปนแหลง รวมของรงควตั ถุตางๆ ในเซลล หากพลาสติดมีคลอโรฟลล(Chlorophyll) จะใหส ีเขียวเรียกคลอโรพลาสต (Chloroplast) แตถามีแคโรทีนอยด (Carotenoid) จะใหสีเหลอื ง สม แดง เรียกโครโมพลาสต (Chromoplast) ไพรนี อยด (Pyrenoid) ทําหนา ที่เกี่ยวกับการสงั เคราะหแปง สตกิ มา (Stigma) พบในเซลลท่เี คล่อื นไหวได แวควิ โอล (Vacuole) ทาํ หนา ทขี่ บั นํา้ และของเสียออกจากเซลล ฯลฯ รปู ที่ 1 โครงสรางเซลล 2. รปู รางลกั ษณะ สาหรา ยมีรูปรา งลกั ษณะหลายแบบดวยกัน เชน แบบเซลลเ ดย่ี ว แบบกลุม เซลลซงึ่ มีรปู รา งลกั ษณะเหมือนกัน ทาํ หนา ทีอ่ ยา งเดยี วกันและมาอยูรวมกัน แบบเสน สาย ซงึ่ เปน การเรียงตวั แบบเซลลตอเซลลไดเ ปนเสน สาย และแบบหลอดหรือทอรูปท่ี 2 สาหรา ยสีเขียวแกมน้าํ เงิน รปู ท่ี 3 สาหรายสเี ขียว3. การสบื พนั ธุ การสืบพันธขุ องสาหรายมี 2 แบบ ไดแก แบบไมอาศยั เพศและอาศยั เพศ วิชาเทคนิคการเลี้ยงสาหรา ย 3601-2111

3 ประเภทและชนดิ ของสาหรา ย  แบบไมอาศัยเพศ (Asexual reproduction) การสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศมีหลายวธิ ีไดแ ก โดยการแบงเซลลจ าก 1 เซลลเ ปน 2 เซลล การแตกตวั ของกลุมเซลล ทําใหไดเ ซลลเ ล็กๆ จํานวนมากการขาดทอน พบในพวกเสน สาย โดยแตล ะทอนทขี่ าดออก สามารถเจรญิ เติบโตเปนสายใหมไดตอไปการสรา งอะคินตี (Akinete) พบเฉพาะในพวกเสนสาย เปนเซลลทงี่ อกออกมา ซึง่ อาจเปน ตนใหมไ ดเ ลย และการสรางสปอร ซ่งึ มักเกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมกะทนั หัน  แบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) เปน การสรางเซลลสบื พันธทุ ่ีเรียกวา แกมีต (Gamete)แยกเปน เพศผแู ละเพศเมีย หากแกมีตรวมตวั กันจะไดไซโกต (Zygote) หลงั จากนนั้ จะสังเคราะหแสงและสะสมอาหารไวในรูปของแปงแลว เปล่ยี นเปน นํา้ มนั เมอ่ื สภาวะเหมาะสมไซโกตจะงอกเปนตน ได 4. แหลงท่อี ยู สาหรายมีแหลงทอ่ี ยูตา งๆ กัน ไดแก  ในน้าํ เปนแหลงท่ีอยูทีส่ าหรายสามารถเจรญิ ไดดที ีส่ ดุ มีทั้งนํา้ จืดและน้ําเคม็ โดยอาจอยูในรูปแบบแพลงกต อนลองลอยอยใู นมวลนํ้าหรืออยูในรูปแบบยดึ เกาะกับสิ่งตา งๆ เชน หนิ โคลน ทราย พืช สตั วฯลฯ 1) สาหรา ยท่เี จริญในนา้ํ จืด (Freshwater algae) สภาพของแหลง น้ําทแ่ี ตกตา งกนั อาจทาํ ใหพบชนิดของสาหรายไดแ ตกตางกัน ไดแก สาหรายที่ขน้ึ ในสภาพที่มีนา้ํ ไหล เชน แมนํา้ ลาํ คลองตางๆ มักมีโครงสรา งภายนอกไวยึดเกาะไดดี สาํ หรับแหลง นํา้ ที่มสี ภาพนา้ํ คอนขางนิ่ง เชน ในบอ นํ้าและสระน้าํ จะพบสาหรา ยไดห ลายชนิด ทัง้ นี้ขน้ึ อยูกับอุณหภมู ิและ ความอุดมสมบูรณของอินทรยี สารในแหลง น้าํ นน้ั สว นแหลงนํา้ ขนาดใหญ เชน ทะเลสาบ ปริมาณแสง อณุ หภูมิ และลม จะทําใหสภาพนาํ้ ในทะเลสาบแตละฤดูกาลแตกตา งกัน มีผลทาํ ใหป ระชากรสัตวน า้ํ ในทะเลสาบมปี รมิ าณเปลยี่ นแปลงในแตล ะฤดูกาลแตกตา งกันดวย ในบางคร้งั เราอาจสังเกตเหน็ สาหรายรวมตวั กันลอยเปน แพตามผวิ นา้ํ มีลกั ษณะเปนเมือกๆ เรียกปรากฏการณน ี้วา วอเตอรบ ลมู (Water bloom) หรือพอนดส คัม (Pond scum) เกดิ จากสาหรา ยหลายๆ ชนดิ เจรญิ ขน้ึ มากมากภายใตสภาวะที่เหมาะสม (จงกล, 2552) รปู ที่ 4 ปรากฏการณ วอเตอรบลมู (Water bloom) 2) สาหรา ยทเ่ี จริญในนํา้ ทะเล (Seaweed) สาหรายท่เี จริญในแตล ะบริเวณของทะเลจะแตกตา งกนั เชน สาหรา ยที่เจรญิ เตบิ โตบริเวณชายฝง อาจมสี ว นทค่ี ลา ยรากฝงลงไปในพ้ืนทราย สวนบรเิ วณกลางทะเลและมหาสมุทรจะมีพวกแพลงกต อนพชื ลองลอยอยเู ปน จาํ นวนมาก ในทะเลจะมีปรากฏการณท่ีเรยี กวา เรดดชิ บลมู (Reddish bloom) จากการเจรญิ เติบโตจํานวนมากของสาหรา ยสีเขียวแกมนาํ้ เงินจําพวกOscillatoria เนอ่ื งจากสภาพแวดลอมเหมาะสม ปรากฏการณอีกประเภทหนึ่งเรียกวา เรดไทด (Red tide)หรือข้ปี ลาวาฬ เกดิ จากสาหรายไดโนแฟกเจลเลต Gonyaulax และ Gymnodinium เจริญขึน้ จาํ นวนมากแลวทาํ ใหนํ้าทะเลเปลีย่ นสีกลายเปน สีแดง นา้ํ ตาล หรอื เขียว (จงกล, 2552; สรวศิ , 2543) วิชาเทคนคิ การเล้ยี งสาหรา ย 3601-2111

4 ประเภทและชนดิ ของสาหราย ปรากฏการณดังกลาวไดส ง ผลกระทบตอ การประมงและสภาวะแวดลอ มทางทะเล สาํ หรับประเทศไทยสามารถพบไดเปนประจําในอาวไทย ซ่ึงหากพจิ ารณาลักษณะของอา วไทยตอนบนจะเห็นไดวา เปนแหลง ท่ีรบั น้าํ จากแมนํ้าหลักสีส่ าย ไดแก แมกลอง ทา จีน เจาพระยา และบางปะกง โดยลกั ษณะการหมุนเวียนของกระแสนํ้าในอาวไทยตอนบนมผี ลทาํ ใหของเสยี จากแมน้าํ คงอยบู ริเวณปากแมน ้าํ และชายฝง เปน เวลานาน เกิดการยอยสลายของเสีย ซง่ึ เปนสารอินทรยี ใ หเ ปนสารอนนิ ทรียทเ่ี ปน สารอาหารสําหรบั การเจรญิ ของแพลงกตอนพชื เม่ือสารอาหารเพม่ิ มากขนึ้ ทําใหแ พลงกต อนพืชเพิ่มจํานวนข้นึ อยางรวดเร็วและเกดิ เปนปรากฏการณดังกลา วได (สรวิศ, 2543) รปู ท่ี 5 ปรากฏการณเรดไทด (Red tide) ปรากฏการณว อเตอรบลมู เรดดชิ บลมู และเรดไทด เรียกรวมวา ยูโทรพเี คชั่น (Eutrophication)ซึ่งปรากฏการณด งั กลาวนีท้ ําใหเ กิดปญ หาตอแหลง นํ้า เชน ทาํ ใหสัตวน้าํ ตายหรอื อพยพไปอยทู ี่อื่น นํา้ ขาดออกซิเจน ทาํ ใหกล่ิน รส และสีของน้ําเปลี่ยนแปลงไป แหลงน้ําตน้ื เขนิ ทําใหสูญเสียทัศนียภาพ และเปน การเพม่ิ มลพิษของสิ่งแวดลอ มบริเวณนั้นดว ย  แหลง อนื่ ๆ สาหรายท่ีเจริญเติบโตในแหลง อ่นื ๆ เชน ในอากาศ สว นมากเปนสาหรา ยเซลลเดีย่ ว หรอื กลุมเซลลท ่แี หง และถูกลมพดั ปลวิ มาในอากาศ ในทชี่ ้ืนมกั เปนสาหรา ยสเี ขียวแกมนํา้ เงนิ ในดินทงั้ ผิวดนิ และใตดิน มหี ลายชนดิ ดวยกนั ทั้งสาหรายสีเขยี วแกมนํ้าเงิน สาหรายสีแดง ฯลฯ สาหรายบางชนิดสามารถเจริญเตบิ โตไดใ นสภาพอากาศเยน็ จดั เชน บนหมิ ะ บางชนิดอยูรวมแบบพ่งึ พาอาศัยกับส่ิงมีชวี ติ ชนิดอืน่ เชน ไลเคน อยรู ว มกบั รา แตสาหรายบางชนดิ เมื่ออยรู วมกบั สง่ิ มีชีวติ ชนดิ อ่ืนแลวกลับทําใหเ กดิ โรคกบัสิ่งมีชวี ิตชนิดนั้นหลกั เกณฑในการจดั สาหรายออกเปน หมวดหมู 1. รงควัตถุในสาหรายมหี ลายชนิดดว ยกนั เชน คลอโรฟลล มี 4 ชนดิ Chlorophyll – a,b, c, dแคโรทีนอยด (Carotenoids) เปน สารสีประกอบ (Accessory pigments) แบงออกเปน 2ชนิด แคโรทีน(Carotenes) มีสีสม เปน สารสีพวกไฮโดรคารบอนและแซนโธฟลล(Xanthophylls) หรือ ออกซีแคโรทีน(Oxycarotene) มีสีเหลือง ไฟโคบโิ ลโปรตีน(Phycobiloproteins) เปนสารสีประกอบเชนเดียวกันแคโรทีนอยด แตไฟโคบโิ ลโปรตนี เปนสารประกอบเชงิ ซอ น สาหรายแตละชนดิ มี รงควตั ถแุ ตกตางกนั ท้งั ชนดิ และปรมิ าณ 2. ประเภทของอาหารสะสม (Type of reserved product) อาหารสะสมเปนผลจากการสังเคราะหแ สงซึง่ เปนการใชพลงั งานรงั สเี ปล่ยี นคารบอนไดออกไซดและไฮโดรเจนที่ไดม าจากน้ําหรือจากแหลงไฮโดรเจนอ่นื ๆ ผลจากการสังเคราะหแสงไดน ้ําตาลซ่ึงนําไปใชเ ปน วตั ถดุ ิบในการหายใจในขบวนการไกลโคโลซีส (Glycolysis)อาหารสะสมของสาหรา ยจะไดสารประกอบพวกคารโบไฮเดรต ซึ่งเก็บสะสมไวในรปู ของแปง(Strach) เลยี วโคซนิ (Leucosin) ลามินาริน (Laminarin) แมนนิทอล (Manitol) ไขมัน วชิ าเทคนคิ การเล้ียงสาหราย 3601-2111

5 ประเภทและชนิดของสาหราย(Fat) นํ้ามนั (Oil) คอเรสเทอรอล (Chloresterol) เออโกสเทอรอล (Ergosterol) ฟวโดสเทอรอล(Focosterol) พารามายรอน (Paramyron) เปนตน 3. ประเภทขององคประกอบของผนงั เซลล (Type of cell wall components) เซลลของสาหรา ยคลา ยกบั เซลลข องพืชทั่วไป คอื ประกอบดว ยโครงสรา งที่สําคัญ 3 ประการคือ ผนังเซลลไซโตพลาสซึมและนิวเคลยี ส ผนังเซลลสาหรายหลายชนิดไมม ผี นงั เซลลบางชนิด ผนงั เซลลก เ็ ปลยี่ นแปลงไปโดยมสี ารอน่ื มาหอ หุม แตส ว นใหญประกอบดวยสารจาํ พวกคารโ บไฮเดรตบางชนิดประกอบดวยซลิ ิเกต (Silicate) เชน ผนงัเซลลของไดอะตอมบางชนดิ ประกอบดว ยโปรตีนลปิ ต มิวโดเพบไทด (Mucopeptide) และเซลลโู ลส ฯลฯผนังเซลลส วนใหญมี 2 ชั้นชัน้ นอกมลี ักษณะออ นน่ิมหรือเปนเมือกละลายไดในนํา้ เดือดเปนพวกเพตติน สว นผนงั ช้ันในประกอบดว ยเซลลโู ลส 4. จาํ นวนและตาํ แหนงของแฟลกเจลลัม (Flagellum) สาหรา ยหลายชนิดมีโครงสรางทใ่ี ชในการเคลอ่ื นที่ ซง่ึ อาจพบทง้ั ในเซลลปกติ (Vegetative cell) หรือผนังเซลลสืบพนั ธุ(Reproduction cell) เซลลของสาหรา ยทุกดิวชิ น่ั ยกเวน Cyanophyta จะมีหนวด จํานวนหนวดในแตละเซลลม ี 1, 2, 4, 8 หรอื เปนวงแตสว นใหญมกั มหี นวด 2 เสน ในเซลลป กติ สว นเซลลส บื พนั ธุแ บบไมอาศยั เพศหรือซโู อสเปอร (Zoospore)มักมหี นวด 2 หรือ 4 เสน สวนเซลลส ืบพันธุแบบอาศยั เพศหรือแกมตี (Gemete) มกั มหี นวด 2 เสน สาหรายแตละชนดิ จะมีจํานวนลักษณะและตําแหนง ทเ่ี ฟลกเจลลมั ฝงตวั อยนู ั้นแตกตา งกัน ซึ่งสามารถใชค วามแตกตางดงั กลาวนแ้ี ยกหมวดหมูของสาหรายไดการจดั หมวดหมูของสาหรา ย Smith (1950) ไดจําแนกหมวดหมูสาหรา ยโดยใชรปู รางและลกั ษณะภายนอกที่เหมอื นกันและคลา ยคลงึ จัดรวมไวใ นกลุมเดียวกัน และดจู ากสิง่ ที่ปรากฏออกมาใหเ หน็ จึงแยกออกเปน 7กลมุ ดังนี้ 1. Division Cyanophyta (blue-green algae) 2. Division Chlorophyta (green algae) 3. Division Rhodophyta (red algae) 4. Division Phaeophyta (brown algae) 5. Division Chrysophyta (Golden, yellow green,Diatom) 6. Division Pyrrhophyta (dinoflagellate) 7. Division Euglenophyta (euglenoids) สาํ หรบั การจดั หมวดหมใู นหนงั สือเลมนีย้ ดึ ตาม Bold and Wyne (1978) มที ั้งหมด 9 Division 1. Division Cyanophyta ไดแก พวกสาหรายสเี ขียวแกมน้ําเงนิ (Blue green algae) 2. Division Chlorophyta ไดแ ก พวกสาหรา ยสีเขยี ว (Green algae) 3. Division Charophyta ไดแก สาหรายไฟ (Stoneworts) 4. Division Euglenophyta ไดแก Euglenoids 5. Division Phaeophyta ไดแก สาหรายสนี ํ้าตาล (Brown algae) 6. Division Chrysophyta ไดแก สาหรายสนี า้ํ ตาลแกมทอง (Golden algae) สาหราย สีเขียวแกมเหลอื ง (Yellow green algae และ diatom) 7. Division Pyrrhophyta ไดแก Dinoflagellates 8. Division Cryptophyta ไดแ ก Cryptomonads วชิ าเทคนคิ การเลี้ยงสาหรา ย 3601-2111

6 ประเภทและชนิดของสาหรา ย 9. Division Rhodophyta ไดแก สาหรา ยสแี ดง (Red algae) การจัดหมวดหมขู องสิ่งมชี วี ิต จะจัดเปน ลาํ ดบั ข้นั โดยเร่ิมดวยการจัดเปน หมวดหมใู หญก อน แลวแตละหมใู หญก ็จาํ แนกออกไปเปน หมูยอยลงไปเรอื่ ย ๆ ในแตลํ าดับขนั้ (taxon) จะมชี ือ่ เรยี กกาํ กบั ลาํ ดับขั้นสูงสดุหรือหมใู หญทสี่ ดุ ของส่ิงมชี ีวิต คอื อาณาจักร (Kingdom) รองลงมาเปนไฟลัม (phylum) สําหรบั พืชใชดวิ ชิ ัน(Division) ไฟลัมหรอื ดวิ ิชันหน่ึง ๆ แบงเปนหลายคลาส (Class)แตล ะคลาสแบงเปน หลาย ๆ ออรเดอร(Order) ในแตละออรเดอรม ีหลายแฟมิลี (Family) แฟมลิ ีหนึ่ง ๆ แบง เปนหลายจีนสั (Genus)และในแตล ะจีนัสกม็ ีหลายสปช ีส (Species) ดงั นน้ั ลาํ ดบั ขั้นของหมวดหมูสง่ิ มชี วี ติ (taxonomic category) จะเขยี นเรยี งลาํ ดบั จากข้ันสูงสดุ ลดหล่ันมาข้ันตํา่ ดงั น้ี อาณาจักร (Kingdom) ไฟลมั หรือดิวิชัน (Phylum or Division) คลาส (Class) ออรเดอร (Order) แฟมลิ ี (Family) จนี ัส (Genus) สปชสี  (Species)การจัดหมวดหมูสาหรายตาม เปน ลําดับขัน้ ของหมวดหมูส่ิงมชี ีวิต (taxonomic category) 1. Monera Kingdom สิ่งมชี ีวิตในอาณาจักรมอเนอรา หรือเรียกส่งิ มีชีวติ ในอาณาจักรนวี้ าแบคทเี รยี ทร่ี ูจักและสามารถจําแนกสปช สี ไ ดมีประมาณ 5,000 สปช สี  แตน กั วิทยาศาสตรไ ดป ระมาณวานา จะมจี าํ นวนมากถึง 4 ลานสปช ีส แบคทีเรยี เปนส่ิงมีชีวิตที่สามารถอยูไดในสภาพแวดลอมท่ีหนาวจัด รอ นจดัทะเลที่มีความเค็มมากๆ หรือในสภาพที่มีความเปนกรดสูง ลักษณะรูปรางและการดํารงชวี ิตของแบคทีเรยี แบคทเี รียเปนสงิ่ มชี ีวิตเซลลเดยี วทีม่ ีขนาดเล็กประมาณ 1-5 ไมโครเมตร เปนสิง่ มชี ีวิตท่มี เี ซลลเปน แบบโพรคาริโอต (Prokaryotic Cell) มผี นังเซลลเ ปน สารประกอบเพปทิโดไกลเคน (Peptidoglycan) ซงึ่ เปน สารพวกคารโ บไฮเดรตและกรดอะมโิ นโดยไมเ ปน เซลลล ูโลส อยา งในสาหรายและพชื ภายในเซลลไ มมเี ยื่อหุมสารพนั ธกุ รรมและไมม โี ครงสรางอนื่ อีกหลายชนดิ แบคทเี รียที่พบสวนใหญมีเซลลเ ดยี วหรืออาจจะอยูรวมกันเปนกลุมหรือเปนสาย มีทง้ั รูปทรงกลม (Coccus) รปู ทรงทอน (Bacillus) และรปู ทรงเกลยี ว (Spirillum) รปู ท่ี 6 โครงสรางของแบคทีเรยี วชิ าเทคนคิ การเลย้ี งสาหราย 3601-2111

7 ประเภทและชนิดของสาหราย แบคทเี รยี มีกระบวนการเมทาบอลีซมึ ในการดาํ รงชวี ิตที่หลากหลาย หลายชนิดสามารถดํารงชีวิตโดยการสรางอาหารเองไดโ ดยไดพลังงานจากแสง เชน ไซยาโนแบคทีเรีย หรือใชพลังงานจากปฏิกริ ิยาเคมี เชนซัลเฟอรแบคทีเรีย แตแ บคทีเรียสวนใหญสรา งอาหารเองไมได รวมทั้งสามารถอยูไดเกอื บทุกแหงหนบนโลกแมในสภาพแวดลอมท่ีสงิ่ มชี วี ติ อ่ืนไมส ามารถอยูได รูปที่ 7 แบคทเี รยี รูปทรงตางๆ 1.1 Division Cyanophyta (ไซยาโนไฟตา) ไดแ ก สาหรายสเี ขยี วแกมนาํ้ เงนิ (Blue – GreenAlgae) พบไดท ้ังในน้ําจืดและนาํ้ เคม็ ท่ีชื้นโดยการเกาะอยูกับวัตถหุ รือกอน หินที่อยใู นน้าํ สาหรา ยสีเขียวแกมนํ้าเงนิ มี ลักษณะสําคัญดงั นี้ 1.เซลลเปน แบบโพรคาริโอต ไมมีเยอ่ื หุมนวิ เคลียส 2.ภายในเซลลไมม เี ม็ดคลอโรพลาสต มแี ตค ลอโรฟล ล เอ แคโรทนี (Carotine) แซนโทฟลล(Xanthophyll) ไฟโคอริ ิทริน(Phycoerythirin) ซ่ึงเปน สารสแี ดง ไฟโคไซยานนิ (Phycocyanin) ซึ่งเปนสารสีนาํ้ เงนิ จึงทาํ ใหสาหรา ยชนิดนี้เปน สีเขยี วปนนํา้ เงิน 3. ผนังเซลลเปนสารพวกเพปทิโดไกลแคน คือ มีพอลิแซคาไรดเกาะอยูกบั เพปไทด ผนงั เซลลมักถหู มุดว ยเมือก ซึง่ มีลักษณะคลายวุนทําใหล ืน่ 4. อาหารสะสมเปน สารพวกคารโ บไฮเดรต คือ ไกลโคเจน (Glycogen) และมชี ือ่ เฉพาะวา ไซยาโนไฟเซยี น สตารช(Cyanophysean starch) 5. ไมมีแฟลเจลลา จึงเคลอ่ื นทดี่ วยตวั เองไมได 6. การสืบพันธมุ ีเฉพาะการสืบพันธแุ บบไมอ าศยั เพศเทานั้น ไดแก การแบง ตวั การหักหรอื ขาด 7. สาหรายสเี ขียวแกมน้าํ เงินมีหลายชนิด เชน- พวกท่เี ปนเซลลเ ดีย่ วหรือกลมุ เชน ครูโอคอคคสั (Chroococcus) แอนาซีสทสี (Anacystis)- ท่เี ปน สาย เชน ออสซิลลาทอเรีย (Oscillatoria) นอสตอก(Nostoc) แอนาบีนา (Anabaena) สไปรไู ลนา(Spirulina) วิชาเทคนคิ การเล้ียงสาหรา ย 3601-2111

8 ประเภทและชนิดของสาหราย รปู ที่ 8 Anabaena รูปที่ 9 Nostoc รูปท่ี 10 Oscillatoria2. Protista Kingdom ส่ิงมีชีวติ ในอาณาจักรโพรทิสตา หรือเรียกส่ิงมีชวี ติ ในอาณาจักรนว้ี าโพรทสิ ตซงึ่ เปน สง่ิ มชี ีวิตที่มเี ซลลแ บบยคู ารโิ อต มีทง้ั ทีเ่ ปน เซลลเ ดียวและหลายเซลล ซึ่งมลี กั ษณะแตกตางกัน บางชนิดอาจมีคลอโรพลาสตเ หมือนพืช บางชนดิ มีแฟลเจลลมั บางชนดิ มซี ีเลีย สงิ มีชีวติ จํานวนมากที่มองเหน็ ภายใตกลองจุลทรรศนลักษณะรูปรา งและการดํารงชวี ิตของโพรทิสตโพรทิสตเปนยูคารโิ อตกลมุ แรกท่ีมีววิ ฒั นาการมาจากโพรคารโิ อต เมอ่ื ประมาณ 2 พันลา นปทีผ่ า นมาและไดมวี วิ ัฒนาการไปตามสภาพแวดลอม ที่ดาํ รงชวี ติ อยจู นกระทั่ง เปน สิง่ มีชีวิตที่มีความหลากหลายมากทส่ี ดุในปจจบุ ัน โพรทสิ ตม ขี นาดแตกตางกนั ต้ังแตส่ิงมีชีวิตขนาดเล็ก จนถงึ สง่ิ มีชวี ติ หลายเซลลขนาดใหญท่มี ีโครงสรา งซับซอ น แตเ ซลลเ หลานัน้ ยงั ไมพฒั นาไปเปนเนือ้ เย่อื ถงึ แมว า โพรทสิ ตส วนใหญเปน สิ่งมีชีวตเซลลเดียวแตสามารถดํารงชวี ิตอยูได เหมอื นส่ิงมชี ีวิตหลายเซลล รูปที่ 11 โพรทสิ ตรูปทรงตางๆ วชิ าเทคนิคการเลี้ยงสาหรา ย 3601-2111

9 ประเภทและชนิดของสาหรา ย โพรทิสตพ บไดท ั่วไปในบรเิ วณที่ชน้ื แฉะ แหลง น้ําจดื และในมหาสมุทร มีการใชอ อกซิเจนในกระบวนการเมทาบอลซี มึ ยกเวนบางกลมุ ท่ีอยูในสภาพแวดลอ มท่ีไมมีออกซิเจน กระบวนการเมทาบอลซิ มึตางๆของโพรทสิ ตจ ะเกิดขึน้ ภายในโครงสรา งท่ีมี เยื่อหมุ โพรทิสตบ างชนดิ มกี ระบวนการสังเคราะหด ว ยแสงการดํารงชวี ิตมที งั้ แบบอสิ ระหรอื อาจอยรู วมกนั แบบภาวะพ่ึงพากัน (Mutualism)หรืออาจจะดาํ รงชวี ิตในภาวะปรสติ (Parasitism) ซึ่งพวกที่ดาํ รงชวี ิตแบบภาวะปรสิตบางชนิดทาํ ใหเ กิดโรคท่ีสาํ คญั เชน โรคมาลาเรยีเปน ตน 2.1 Division Chlorophyta (คลอโรไฟตา) ไดแ ก สาหรายสเี ขียว (Ggeen algae) มีทัง้ หมดประมาณ 17500 สปชีส อยใู นนํา้ จดื มากกวา นํา้ เคม็ มีลกั ษณะสําคัญดงั น้ี 1. จํานวนเซลลมที ั้งพวกเซลลเดยี่ วหรอื หลายเซลลตอกนั เปนสายยาว หรือรวมกันเปนกลุม มีทง้ัเคลื่อนท่ีได และเคลอ่ื นทไี่ มได – พวกเซลลเดยี วที่เคล่ือนที่ได โดยมีแฟลกเจลลมั ใชโ บกพัด จํานวน 2-4 เสน เชน แคลมมโิ ดโมแนส(Chlamydomonas) – พวกเซลลเ ดยี วทีเ่ คลื่อนที่ไมได โดยไมมแี ฟลกเจลลมั เชน คลอเรลลา (Chlorella) คลอโรคอคคมั(Chlorococcoum) – พวกหลายเซลลต อกันเปนสายยาว เชน ยโู ลทริกซ (Ulothrix) อีโดโกเนยี ม (Oedogonium) สไปโรไจรา หรือเทานํ้า (Spirogyra) – พวกหลายเซลลเปนกลุม (Clolnial forms) เชน วอลวอกซ (Volvox) เพดแิ อสดรัม (Pediastrum)ซนี เตสมนั (Scenedesmus) 2. รงควตั ถุที่พบจะเปน เชนเดียยวกับท่พี บในพืชช้นั สูง คอื มคี ลอโรฟล ล เอ, คลอโรฟล ล บี, คาโรทนีและแซนโทฟลล รงควัตถทุ ั้งหมดน้ีจะประกอบกันดวยอัตราสวนที่เหมือนกับพวกพืชช้ันสูงจงึ ทําใหม สี เี ขียวสดรงควตั ถทุ ง้ั หมดนจี้ ะรวมกนั อยูในเมด็ สี หรอื พลาสติด (Plastid) ทเ่ี รียกวา คลอโรพลาสต โดยอาจจะมี 1 อันหรอื มากกวา 1 อัน คลอโรพลาสตข องสาหรา ยสีเขยี วมีรปู รางหลายแบบ เชน – รูปรางเปนเมด็ ๆ พบใน ไบรออปซิส (Bryopsis) – รปู รางเปน เกลียว พบใน สไปโรไจรา (Spirogyra) – รปู รา งเปนคลายรา งแห พบใน อโี ดโกเนยี ม (Oedogonium) – รูปรางเปน แผน พบใน ยโู ลทริกซ (Ulothrix) – รูปรา งเปน รูปดาว พบใน ซิกนีมา (Zygnema) – รูปรางเปนรปู ตวั U พบใน คลอเรลลา (Chlorella) 3. โครงสรางของผนงั เซลล ประกอบดว ย เซลลูโลส (Cellulose) บางชนดิ มเี ปกติน (Pectin) เคลือบอยภู ายนอกบาง ๆ บางชนิดมีแคลเซยี มคารบอเนต (Calcium Carbonate) 4. อาหารที่เกบ็ ไวกค็ ือ ไพรนี อยด (Pyrenoids) อยูในเมด็ คลอโรพลาสต เขาใจวาไพรนี อยดเ ปนโครงสรา งท่ีมีโปรตนี เปน แกนกลาง และมีแผน แปงหมุ ลอมรอบอยู 5. การสืบพันธุ – แบบไมอาศยั เพศ โดยการแบงเปน 2 สว นเทา ๆ กนั ในพวกเซลลเดยี ว หรือหกั สาย(Fragmentation) หรือสรา งสปอร – แบบอาศัยเพศ โดยคอนจูเกชนั (Conjugation) หรือการปฏสิ นธิ (Fertilization) วชิ าเทคนิคการเล้ยี งสาหราย 3601-2111

10 ประเภทและชนดิ ของสาหรา ย 6. แหลง ท่อี ยู สาหรา ยสีเขียวพบในนาํ้ จืดเปนสว นใหญ ในน้าํ เคม็ ก็มบี า งตามที่ชน้ื แฉะทั่วไป เปลอื กไมใบไม กอนหนิ เปยก ๆ และบนหิมะก็มี บางชนดิ อยูในภาวะพง่ึ พากับรา เกิดเปนไลเคน บางชนดิ กเ็ ปน ปรสติของพืชช้นั สงู 7. ตัวอยา งสาหรายไดแก - พวกทีเ่ ปนเซลลเดียวเคลอ่ื นทไ่ี มได เชน คลอโรคอกคัม (chlorococcum) - พวกท่เี ปนกลุมเคล่ือนท่ีได เชน วอลวอกซ (volvox) - พวกทเี่ ปน สาย ไดแก เทาน้าํ หรือสไปโรไจรา (spirogyra) - พวกที่เปน แผนและมขี นาดใหญ ไดแ ก อลุ วา (Ulva) สาหรายสีเขยี วมหี นาท่เี ปนผผู ลติ อาหารและกาซออกซิเจนแกร ะบบนเิ วศ นอกจากน้คี ลอเรลลาและซินเดสมัส เปน สาหรา ยท่ีมโี ปรตนี สูง จงึ นิยมนํามาทําเปน อาหาร สไปโรไจรากส็ ามารถนํามาประกอบอาหารได ความสําคญั เปนสารอาหาร เชน โปรตีน คารโบไฮเดรต ไขมนั และวิตามิน สูง รปู ที่ 12 Chlorella รปู ท่ี 13 Spirogyra วชิ าเทคนิคการเลี้ยงสาหรา ย 3601-2111

11 ประเภทและชนิดของสาหราย รปู ท่ี 14 สาหรายสีเขียวชนิดตา ง ๆ 2.2 Division Chrysophyta (คริโซไฟตา) ไดแก สาหรา ยสนี ํ้าตาลแกมทอง หรือ สาหรายสีนา้ํ ตาลแกมเหลอื ง หรอื สาหรา ยสที อง (golden brown algae) มีประมาณ 16600 สปชสี  เปนผูผลติ ท่ีมมี ากทีส่ ดุ ในทะเล มีลักษณะสําคญั ดังนี้ 1. รงควัตถุท่พี บในเซลลม รี งควตั ถสุ เี ขยี ว คอื คลอโรฟล ล เอ และคลอโรฟลล ซี และมรี งควัตถสุ ีน้าํ ตาล คือ ฟว โคแซนทิน (Fucoxanthin) ซง่ึ มมี ากท่ีสดุ ถึง 75 % ของรงควตั ถุทัง้ หมด และลูเทอรนิ(Luthein) ปริมาณมากกวา คลอโรฟล ลจ งึ ทําใหมีสนี าํ้ ตาลแกมทอง 2. อาหารสะสมเปนน้าํ ตาลโมเลกลุ ใหญเ รียกวา คริโวลามินาริน (chyrsolaminarin) 3. ผนังเซลลมีสารพวกซิลกิ า (Sillica) สะสมอยูประมาณ 95% ทําใหมีลวดลายสวยงามมากผนังเซลลท ่ีมีซิลกิ าเรียก ฟรุสตุล (Frustule) ฟรุสตุลประกอบดวย ฝา 2 ฝา ครอบกันอยูสนทิ แนน แตละฝาเรยี กทีกา (Theca) ฝาบนเรียก อพี ิทกี า (Epitheca) มขี นาดใหญก วาครอบอยูบนฝาลางซึ่งมีขนาดเล็กกวาเลก็ นอย เรียก โฮโปทีกา (Hypotheca) 4. มีท้ังพวกเซลลเดียวและหลายเซลลอยกู นั เปนสายหรือรวมเปนกลมุ มักอยูในน้ําและที่ชืน้ แฉะ 5. อาหารสาํ รองภายในเซลลคอื หยดน้ํามัน (Oil droplet) และเมด็ เลก็ ๆ ของสารประกอบคารโบโฮเดรตชนดิ พเิ ศษ เรยี กวา ลวิ โคซิน (Leucosin) หรือ ครโิ ซลามินารนี (Chrysolaminarin) 6. การสบื พนั ธุมีทงั้ แบบไมอาศัยเพศโดยการแบงเซลลอ อกเปน 2 สว น ซงึ่ เปนการเพิม่จาํ นวนทพ่ี บเสมอ ๆ สว นอกี แบบหนง่ึ เปน แบบอาศยั เพศ 7. ตวั อยา งของสาหรา ยไดแก ไดอะตอม (Diatom sp.) เปนสาหรา ยสนี ้าํ ตาลแกมทองมีฝา 2 ฝาประกบกนั สนทิ ท่ีผนงั เซลลม ีสารซลิ กิ าประกอบอยู ประกอบอยู พบท้ังในนํา้ จืดและนํา้ เค็ม ซากของไดอะตอมท่ตี ายทับถมกันอยใู ตพ้ืนนาํ้ บางแหง หนาจนเปนภูเขาใตน ํ้า เรยี กวา ภเู ขาดนิ ขาว หรอื ไดอะโตมาเซียส เอริ ธ(diatomaceous Earth) สามารถขูดมาใชป ระโยชนได เชน ทํายาสฟี น ยาขัดโลหะ ทําเครอ่ื งแกว ทําฉนวนความรอนในตูเยน็ เปนตน วชิ าเทคนคิ การเลยี้ งสาหรา ย 3601-2111

12 ประเภทและชนิดของสาหรา ย สาหรา ยในกลุม นม้ี ีรงควตั ถุฟูโคแซนทนิ เหมือนสาหรา ยสนี ํ้าตาล แตมใี นปรมิ าณนอยกวา แบงไดเ ปน3 พวกใหญ คือ สาหรา ยสีเขยี วแกมเหลอื ง สนี าํ้ ตาลแกมเหลือง และไดอะตอม กลมุ ทีม่ ปี ระโยชนท างเศรษฐกิจมากคือ ไดอะตอม เนอ่ื งจากการตาย ทบั ถม กันของพวกไดอะตอมเปน เวลานาน จนกลายเปน ไดอะตอมมาเชยี ส เอริ ท (diatomaceous earth) ซึง่ มีประโยชนในดา นอตุ สาหกรรมตางๆ มากมาย เชน ยาขดั เคร่อื งเงนิเครื่องทองเหลือง ใชใ นการฟอกสี และเปน ฉนวน ความสาํ คญั มีความสาํ คัญทางเศรษฐกิจ เชน ไดอะตอมมีสารพวกซิลิกา รูปท่ี 15 ไดอะตอมชนิดตา ง ๆ 2.3 Division Euglenophyta (ยูกลีโนไฟตา) สาหรายในดวิ ชิ ันนเี้ รยี กวา ยกู ลนี อยด(euglenoids)ซงึ่ จัดเปน โปรโตซัวในคลาสแฟลก เจลลาตาดวยแหลงท่ีพบ ในนํา้ จดื ในดินชื้นแฉะ มีลักษณะดงั น้ี 1. มีคลอโรฟลลเ ปนชนิด คลอโรฟลล เอและบี และมีคาโรทีน แซนโทฟลลด วย 2. อาหารสะสมเปนพวกแหง (starch) เชนเดยี วกับพืชชั้นสูงทว่ั ไป 3. ผนงั เซลลเ ปนสารพวกเซลลูโลส บางชนดิ อาจมีแคลเซียมและซิลิคอนปนอยูดว ย 4. มีแฟลกเจลลา 1,2 หรือจาํ นวนมาก อยูทางดา นหนา สุดของเซลล 5. ตัวอยา งของสาหรายในดวิ ิชันนไ้ี ดแก – พวกเปนกลุมเคลอ่ื นทไี่ มได เชน ซนิ เดสมัส (Scenedesmus) เพดิแอสตรัม (Pediastrum) – พวกเปนกลมุ เคล่ือนทีไ่ ด เชน วอลวอก (Volvox) ยูกลนี อยด (euglena) – พวกทเ่ี ปนเซลลเ ดียวเคลื่อนทไ่ี มได เชน คลอสทีเรยี ม (Closterium) ความสําคัญ มีความสําคญั ทางเศรษฐกจิ เชน ไดอะตอมมสี ารพวกซลิ ิกา รูปท่ี 16 Euglena วิชาเทคนิคการเล้ียงสาหรา ย 3601-2111

13 ประเภทและชนิดของสาหราย 2.4 Division Phaeophyta (ฟโอไฟตา) ไดแกสาหรา ยสีน้าํ ตาล (brown algae) สว นใหญอยใู นน้ําเคม็ มักมขี นาดใหญและประกอบดวย เซลลจํานวนมาก มลี กั ษณะสาํ คัญดงั นี้ 1. มคี ลอโรฟลล เอ ซี แคโรทีน และฟว โคแซนทิน 2. อาหารสะสมเปนนํา้ ตาลโมเลกลุ ใหญเรียกวา ลามนิ ารนิ (laminalin) และแอลกอฮอลเรยี กวามานติ อล (manitol) 3. ผนงั เซลลเปน สารพวกเซลลโู ลสและกรดแอลจนิ กิ (alginic) ซงึ่ สกัดมาเปน สารแอลจินได 4. มีสว นคลายรากเรียก โฮลด ฟาสต (hold fast) ใชย ึดเกาะและสว นคลายลาํ ตน เรียกสติพ(stipe) สวนคลา ยใบ เรียกวา แบลด (blade) เรียกวาเปน วัชพืชทะเล(sea weed) เชน ไจแอนต เคลป( giantkelp) เปนสาหรา ยสนี ําตาล ท่ีมขี นาดใหญท่สี ดุ เปนที่อยูอาศยั และอาหารของสัตวท ะเล เนอ่ื งจากภายในเซลลของสาหรายกลมุ นี้มี รงควัตถพุ วก ฟูโคแซนทิน(fucoxanthin) ท่ที ําใหเ กิดสีนํา้ ตาลมากกวา รงควตั ถุอน่ื สาหรายในกลุมนีม้ ีประโยชนท างเศรษฐกิจมาก คือ บางชนดิ ใชเ ปน อาหารโดยตรงซ่งึ นิยมรบั ประทานกนั ในยุโรป บางชนิดนํามาสกดั สารประกอบพวกแอลจิน (algin) เพือ่ ใชท ําสี ทาํ ยา และขนมหวานบางชนดิ ความสําคัญ 1. Laminara ใชทําปยุ โปตสั เซียม 2. Laminara และ Kelp สกัดไดจ ากสารแอลจนิ (algin) ทาํ ไอศกรีม พลาสติก สบู รปู ท่ี 17 Kelpรปู ที่ 18 Laminaria sp. รูปที่ 19 padina sp. วชิ าเทคนิคการเลยี้ งสาหรา ย 3601-2111

14 ประเภทและชนิดของสาหรา ย รปู ท่ี 20 Sargassum sp. 2.5 Division Pyrrhophyta (ไพรโรไฟตา) มกั เรยี กกนั วา ไดโนแฟลกเจลเลต (dinoflagellate)สาหรา ยในกลมุ น้ีสว นใหญจ ะเปนเซลลเดียว พบทงั้ ในน้ําจดื และน้าํ เค็ม มลี ักษณะท่สี ําคญั ดงั นี้ 1. มคี ลอโรฟลลเปน ชนดิ เอและซี คารโรทนี แซนโทฟลล 2. ผนังเซลลเปนเซลลูโลสและสารทีเ่ ปนเมือก บางชนดิ อาจไมม ผี นงั เซลล 3. สวนใหญเ ปนเซลลเดี่ยวมีแฟลกเจลลา 2 เสน เสนหนึ่งใชใ นการเคล่ือนท่ีและอีกเสน หน่ึงพันอยูร อบเซลล 4. ตัวอยา งของสาหรายในดิวิชันนไี้ ดแ ก – ซรี าเตียม (Ceratium) นอคติลูกา(Noctiluca) จิมโนดเิ นียม ( Gymnodinium) โกนีออแรกซ(Gonyaulax) พวกสาหรา ยไดโนแฟลกเจลเลตนี้ ในทะเลบางคร้ังเม่ือมันเพิม่ จํานวนมากขน้ึ อยางรวดเร็ว น้ําทะเลเปลีย่ นสี สวนใหญ จะเกิดจาก สาหรา ยในกลุมนเี้ จรญิ เติบโตและเพิ่มจาํ นวนมากผดิ ปกติ (water boom)ซึ่งทาํ ใหเกิดปรากฎการณท เี่ รียกวา วอรเตอรบลูม (water bloom) น้าํ ทะเลบริเวณนัน้ เปน สแี ดงเรยี กวาข้ปี ลาวาฬ (red tide) มีการปลอยสารพิษออกมาทําใหส ัตวและพชื ทะเล บรเิ วณน้ันตายเปน จาํ นวนมากรปู ที่ 21 dinoflagellate ชนดิ ตางๆ รปู ท่ี 22 Ceratium2.6 Division Rhodophyta (โรโดไฟตา) ไดแก สาหรายสีแดง (red algae) มีอยูป ระมาณ 3,900สปชีส มลี กั ษณะสําคญั ดงั น้ี1. มคี ลอโรฟลลเ อและดี แคโรทีน แซนโทฟลล และ ไฟโคอิริทรนิ (phycoerythrin)2. อาหารสะสมเปนแปงมชี อ่ื วา ฟลอริเดยี นสตารซ (floridean starch)3. ผนังเซลลเปนสารเซลลโู ลส พอลแิ ซคคาไรดท ี่เปน เมือกบางชนิดมแี คลเซียมดว ย วิชาเทคนิคการเลยี้ งสาหรา ย 3601-2111

15 ประเภทและชนิดของสาหรา ย 4. สวนใหญอยใู นทะเล 5. ตวั อยา งของสาหรายไดแก - พอรไฟรา(porphyra) เมอื่ ตากแหง แลว ใชใ สแ กงจืดท่ี เรยี กวา จฉี าย กราซลิ าเรยี(Gracilaria) นาํ มาสกัดสารคารแ รกจแิ นน (carrageenan) ใชใ นการทาํ วนุ (agar) ซงึ่ มีความสาํ คัญในการทาํ อาหารเลยี้ งจุลินทรีย ทําเครอ่ื งสําอาง ทํายาขัดรองเทา ครีมโกนหนวด เคลือบเสน ใย ใชทาํ แคปซูลยา ทํายาและใชเ พาะเล้ียงเน้ือเยอ่ื เห็ดรา และราเมือก – กราซลิ าเรยี (Gracilaria) นาํ สารสกดั สารคารแรกจิแนน (Carrageenan) ใชในการทาํ วุน(agar) ซง่ึ มีความสําคัญในการทาํ อาหารเล้ยี งจลุ ินทรยี  ทําเคร่ืองสาํ อาง ทาํ ยาขัดรองเทา ครีมโกนหนวดเคลอื บเสน ใย ใชทาํ แคปซลู ยา ทาํ ยา และใชเ พาะเลี้ยงเน้ือเย่อื สาหรายสแี ดง มีประโยชนต อมนษุ ยเ ชนเดยี วกบั สาหรา ยสีนํา้ ตาล เน่อื งจากสารเมอื กทีส่ กดั ออกจากผนังเซลลเ รยี กวา คารแรจแี นน (carrageenan) นาํ มาผลิตเปน วุนได นอกจากนส้ี าหรายสีแดง ยงั นาํ มาประกอบ เปน อาหารโดยตรงที่ทกุ คนรูจักกันดีในช่ือ “จฉี า ย” ความสาํ คัญ 1.Porphyra (จฉี า ย)ใสแกงจดื 2.Gracilaria ตนเครามงั กร หรอื สาหรายวนุ สกัดไดวุน รูปท่ี 23 สาหรายสแี ดง รปู ท่ี 24 สาหรายผมนาง Gracilaria sp. 3. plant Kingdom (อาณาจกั รพืช) สงิ่ มชี วี ิตทจ่ี ดั อยูในอาณาจักรน้ี ไดแ ก พืชสเี ขยี วทัง้ หมดเทาท่รี จู กั กันในปจ จุบันมีมากกวา 240,000 สปชสี  มกี ระจายอยูท ั่วไปทั้งบนบกและในน้ํา เปน สิง่ มชี ีวิตหลายเซลลที่เรยี งตวั เปน เน้อื เยื่อ แตผนังเซลลซง่ึ สวนใหญเ ปนสารเซลลโู ลสมีการดาํ รงชพี แบบออโตโทรป(autotroph) สามารถสรางอาหารเองได 3.1 Division Bryophyte (ไบรโอไฟต) มที ง้ั สน้ิ ประมาณ16,000 ชนิด พชื ในดวิ ิชันนี้มีขนาดเลก็ มีโครงสรางงายๆ ยงั ไมม ีราก ลําตนและใบที่แทจ รงิ ชอบอาศัยอยูต ามทชี่ มุ ช้นื พชื กลุมนไี้ มมีทอลาํ เลยี ง ไดแก มอส ลิเวอรเ วิรท ฮอรน เวิรท เปน พวกทีน่ ับวาอยูก่ึงกลางระหวา งสาหรายและพืชท่ีมที อลํา(vascular plant) โดยเชอ่ื กันวาไบรโอไฟต(bryophyte : เปนชอื่ เรียก พชื ในดิวิชนั ไบรโอไฟตา) มีววิ ัฒนาการมาจากพวกสาหรา ยสีเขยี วท่ีมลี ักษณะเปนสาย (filamentous form) โดยมีเหตผุ ลประกอบคือ 1.โพรโทนี (Protonema) ซงึ่ เปนตนออ นของระยะแกมมโี ทไฟตมีลกั ษณะเปน สาย เชนเดียวกับสาหราย 2.มผี นังเซลลเ ปน สารพวกเซลลลโู ลสเชน เดยี วกัน วชิ าเทคนคิ การเลี้ยงสาหราย 3601-2111

16 ประเภทและชนดิ ของสาหรา ย 3.มอี าหารสะสมเปน แปง (starch) เชน เดยี วกัน 4.มคี ลอโรพลาสตป ระกอบดวยคลอโรฟล ลเ อ และคลอโรฟลลบีเหมือนกัน 5.แกมีทหรือเซลลสบื พนั ธุมีแฟลเจลลาชวยในการเคลอื่ นท่ีเหมอื นกนั ลกั ษณะสําคญั ของไบรโอไฟต คอื ก.เปนพืชท่ยี ังไมมีเน้ือเยื่อลําเลยี งทง้ั ทอ นํ้า (xylem) ทอ อาหาร (phloem) ข.เปน พชื ขนาดเลก็ สว นใหญชอบขึน้ ในที่มีอากาศเยน็ และมีความชน้ื สูง เพราะการสบื พนั ธุของพชื กลุมนี้ตองอาศัยน้าํ หรือความช้ืนเปนตัวกลางในการเคลอื่ น ทข่ี องสเปรม เพ่ือไปปฏิสนธิกบั ไขในบางชนดิ อาจใชความช้นื นอ ยมาก เชนความชืน้ จากนา้ํ คาง การสบื พันธแุ บบอาศัยเพศ ยังตองอาศยั น้ําสาํ หรับใหส เปรมท่มี ีแฟลกเจลลา (flagella) วายไปผสมกบั ไข ตน ทพี่ บเห็นโดยทว่ั ไปคือแกมโี ทไฟต (มีแกมีโทไฟตเดน) รปู รางลกั ษณะ มีท้งั ท่เี ปน แผน หรอื แทลลัส(thallus) และคลา ยลําตนและใบของพชื ชั้นสงู (leafy form) มีไรซอยด (rhizoid) สําหรับยึดตนใหตดิ กับดนิและชวยดูดน้าํ และแรธ าตุ มสี วนคลายใบเรยี ก phylloid และสว นคลา ยลาํ ตนเรียกวา cauloid แกมโี ทไฟตของไบรโอไฟตมสี เี ขียวเพราะมีคลอโรฟลลส ามารถสรา งอาหารไดเ อง ทาํ ใหอยูไ ดอยางอิสระ เม่อื แกมีโทไฟตเจรญิ เต็มที่จะสรางเซลลสบื พันธคุ อื สเปรม และไขต อ ไป ภายหลังการปฏิสนธิของสเปร มและไข จะไดไซโกตซึ่งแบงตัวเจริญตอไปเปนเอ็มบริโอ และสปอรโรไฟต ตามลาํ ดับ สปอโรไฟตของ ไบรโอไฟต มรี ูปรางลกั ษณะงายๆ ไมส ามารถอยูไดอยางอิสระ จะตองอาศัยอยบู นแกมีโทไฟตต ลอดชวี ติ พืชในดวิ ิชันนี้ สรา งสปอรเ พยี งชนดิ เดยี ว คลาสแอนโทเซอรอปซิดา (Class Anthoceropsida) เรียกโดยท่ัวไปวา ฮอรน เวริ ต (hornwort)ไบรโอไฟตในดวิ ิชนั น้ีมจี ํานวนไมกช่ี นิด ตวั อยา งเชน Anthoceros แกมีโทไฟตมีลักษณะเปน แทลลสั ขนาดเล็กรูปรา งคอนขางกลมมน ท่ีขอบมีรอยหยักเปน ลอน ดา นลางมีไรซอยด สืบพันธุแ บบไมอาศยั เพศ โดยการแยกออกเปน สว นๆ เชน เดยี วกบั พวกลิเวอรเ วริ ต ตน สปอไรไฟตมีรูป รา งเรยี วยาว ฝง ตวั อยดู า นบน ของแกมีโทไฟต ประกอบไปดวยฟตุ และอัปสปอรขนาดยาว ซึง่ เมอื่เจริญเต็มที่ ปลายของอบั สปอรจ ะคอ ย ๆ แตกออกเปน 2 แฉก ทาํ ใหมองดูคลา ยเขาสตั ว จงึ เรียกวาฮอรน เวริ ต รูปท่ี 25 hornwort วิชาเทคนิคการเล้ียงสาหราย 3601-2111

17 ประเภทและชนิดของสาหราย1. ใหน ักศกึ ษาตอบคําถามตอไปน้ี แบบฝกหดั ทา ยบท1. แบคทเี รียสามารถตานยาปฏิชีวนะไดเ พราะ ? 6. ยีสตทจี่ ัดอยูในกลุมเห็ดรา แตจ ะมลี ักษณะที่แตกตางก. แบคทีเรียสามารถสรางเอนไซมมาสลายฤทธ์ิยาได จากเห็ดราอืน่ ๆคือ ?ข. แบคทีเรียจะเขาเกราะทําใหยาทําลายเซลลของมัน ก. ไมมนี วิ เคลยี สไมได ข. ไมมีเสน ใยมลี ักษณะเปน เซลลเ ดยี วค. แบคทีเรียปรับตัวใหเขา กับฤทธย์ิ า ค. สบื พนั ธโุ ดยการแตกหนอไมสรางสปอรง. มีผนังเซลลห นา แขง็ แรง ยาจงึ ซึมผานไดย าก ง. มปี ระโยชนม ากกวา เห็ดราอ่นื ๆ2. แบคทีเรยี จดั อยูในอาณาจักรมอเนอรา เพราะ ? 7. เหด็ ราประเภทใดที่พบแตการสืบพนั ธุแ บบไมอ าศยั เพศก. มีขนาดเล็ก มองดวยตาเปลา ไมเ ห็น อยา งเดยี วเทา น้ัน ?ข. มีทัง้ ลักษณะของพชื และสตั ว ก. เชื้อกลากค. มที ้ังชนดิ ที่เปนผูผลิต ผบู ริโภค และผูยอ ยอินทรยี สาร ข. ยสี ตง. สามารถทําหนาทข่ี องสิง่ มชี ีวิตไดค รบถว นในเซลล ค. ราดาํเดียว และไมมนี วิ เคลียส ง. ราเพน็ นิซีเลียม3. สาหรา ยสเี ขยี วแกมนํ้าเงินมลี กั ษณะแตกตางไปจาก 8. ไวรัสเปน ส่งิ มชี ีวติ เพราะ ?สาหรายสีเขียวในแงใด ? ก. มีเซลลก. ไมมพี ลาสติด ข. มเี ซลลและมีนิวเคลียสข. ไมมคี ลอโรฟล ลเ อ ค. duplicate ตวั เองไดค. ไมมดี ีเอน็ เอ ง. มีชีวติ อยูเ ปน อสิ ระง. ถูกทุกขอ 9.ส่งิ มีชวี ิตใดตอ ไปน้ีประกอบดวยสารจาํ พวก RNA อยาง4. ในการทดลองหมักไวนผลไมชนดิ หน่ึง พบวา ผลไมท ้ิงไว เดยี วเทาน้ัน ?7วนั มแี อลกอฮอลเกิดขน้ึ แตเม่อื หมักทิ้งไวตอ ไปอีก ก. Virusพบวา ไมมกี ล่นิ แอลกอฮอล แตมีรสเปร้ยี ว การเปลยี่ น ข. Viroidแปลงนเ้ี กิดจากจลุ นิ ทรียชนดิ ใด ? ค. Vibratorก. แบคทีเรยี ง. Viraข. ยีสต 10. ส่งิ มชี วี ิตทเี่ คลอ่ื นที่ไดโ ดยใชแ ฟลเจลลมั มคี ลอโรฟลลค. รา สังเคราะหด วยแสงได แตไมม ีผนงั เซลลค อื ขอใด?ง. แอนาบีนา ก. Volvox5. เห็ดฟางที่เรานํามาบรโิ ภคเกดิ จาก ? ข. Euglenaก. ไฮฟาเสน เด่ยี วๆ ค. Chamydomonasข. การรวมตวั ของไมซีเลียม ง. Trypanosomaค. ไรซอยดร วมกนั เปน กระจุกง. ฟรุตติง บอดี วชิ าเทคนิคการเลี้ยงสาหรา ย 3601-2111

18 ประเภทและชนิดของสาหราย2. ใหนักศกึ ษาตอบคาํ ถามตอไปน้ี แบบฝกหดั ทา ยบท1. Division Cyanophyta (blue-green algae) คือ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………2. ยกตวั อยา ง สาหราย blue-green algae มา 5 ชนิด…………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………3. Division Chlorophyta (green algae) คือ…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………4.ยกตัวอยา ง สาหรา ย green algae มา 5 ชนิด…………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………5. Division Rhodophyta (red algae) คือ…………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………6. Division Phaeophyta (brown algae) คือ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………7. จฉี าย อยใู น Phylum…………………………………………………………นาํ มาใชป ระโยชนอะไรบาง…………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………8. วอรเ ตอรบ ลมู (water bloom) คือ…………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………9. สาหรา ยที่ทาํ ใหเกิดปรากฎการณ ขี้ปลาวาฬ คอื ………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………10.ยกตวั อยางสาหรายท่ีเปนอาหารมา 5 ชนดิ ……………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… วชิ าเทคนิคการเล้ยี งสาหราย 3601-2111

19 ประเภทและชนิดของสาหรา ยเอกสารอางองิ ลดั ดา วงศรตั น. 2538. แพลงกตอนพืช (Phytoplankton) ภาควชิ าชีววทิ ยาประมง คณะประมงมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร วทิ ยาเขตบางเขน กรงุ เทพฯ. 681 หนา ลัดดา วงศร ตั น. 2542. แพลงกตอนพืช (Phytoplankton) ภาควชิ าชวี วทิ ยาประมง คณะประมงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน กรุงเทพฯ. 851 หนาสวนวิจัยเกษตรกรรม ฝายวิชาการ ธนาคารกสิกรไทยกาญจนภาชน ล่วิ มโนมนต. สาหราย (Algae). กรงุ เทพฯ : คณะประมง มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร, 2527,หนา 11, 16-17, 28-35, 39.กาญจนภาชน ลิว่ มโนมนต. สาหรายบางชนิดของไทยทร่ี บั ประทานได (Some Edible Algae of Thailand).วทิ ยาสารเกษตรศาสตร, 2521, 12(2), หนา 119-129.ประมวลสารสนเทศพรอ มใชสาหรา ย(Algae)สานกั หอสมดุ และศนู ยส ารสนเทศวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีกรมวทิ ยาศาสตรบริการกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กันยายน 2558จงกล พรมยะ. การเพาะเลย้ี งสาหรา ย [ออนไลน] . คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางนามหาวิทยาลยั แมโจ, 2552. [อางถึงวันที่ 7 สิงหาคม 2558]. เขาถงึ ไดจ าก: http://www.fishtech.mju.ac.th/e-learning/FA422/สรวศิ เผา ทองสขุ . สาหราย ศักยภาพการวจิ ัยและพัฒนาเพื่อการใชป ระโยชนจากสาหรายในประเทศไทย.กรุงเทพฯ : สานกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การวจิ ัย, 2543, หนา 1, 7, 112, 115, 151, 153.http://content.answers.com/main/content/wp/en-commons/thumb/a/a6/240px-Haeckel_Siphoneae.jpghttp://www.magicit.net/biology/site/monera/cyanophyta.htmlhttp://www.virtualsciencefair.org/2003/thoga3n/public_html/redalgae.gifhttp://www.scielo.br/img/fbpe/rbb/v22n2/n2a1f1.gifhttp://www.ucmp.berkeley.edu/protista/physarum.gifhttp://www.botany.hawaii.edu/faculty/webb/BOT311/Phaeophyta/DurvillaeaMan.jpghttp://www.eou.edu/~kantell/img1023.jpghttp://www.ufrrj.br/institutos/it/de/acidentes/fito.gifhttp://www.greenworld.or.th/library/p/http://www.manager.co.th/Around/ViewNews.aspx?NewsID=9550000144964http://kids.nationalgeographic.com/explore/moment-of-galleries/moment-of-huh/http://slideplayer.in.th/slide/5251083/http://www.voathai.com/a/algae-blooms/1973358.htmlhttp://www.kn-online.de/News/Nachrichten-aus-Rendsburg/Blaualgenalarm-am-Borgdorfer-See วิชาเทคนคิ การเลี้ยงสาหราย 3601-2111


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook