Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการก.ค.65

บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการก.ค.65

Published by tatar.rum, 2022-07-06 06:35:35

Description: บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการก.ค.65

Search

Read the Text Version

1 บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการดาเนนิ งาน อกท. คณะกรรมการชมรมวชิ าชีพ และกรรมการหมู่บา้ น อกท. นายวิทยา พลศรี ผูอ้ านวยการวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีบุรรี มั ย์ อกท. คือ องค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นองค์การฯ เดียวท่ีจัดตั้งขึ้นในสถานศึกษาอาชีวศึกษาเกษตร แบ่งการบริหารงาน ออกเป็น 3 ระดับ คือระดับหน่วย ระดับภาค และระดับชาติ โดยมีนักเรียนนักศึกษาทุกคนในสถานศึกษาเป็น สมาชิก เป็นองคก์ ารของสมาชกิ ดาเนินงานโดยสมาชกิ และเพ่ือสมาชิก โดยมคี ณะกรรมการอานวยการ อกท. แต่ละระดับ ให้คาแนะนา สนับสนุนและกากับดูแล” อกท.เป็นเครื่องมือสาคัญในการพัฒนาคุณภาพของ นักศึกษาอาชีวเกษตร มีวัตถุประสงค์เพื่อให้มีคุณภาพและความเป็นเลิศทางวิชาชีพของสมาชิก ให้มีลักษณะ ความเป็นผู้นา ผู้ตามท่ีดี สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นและอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข และเพื่อส่งเสริมให้ สมาชิกเปน็ พลเมืองดี ตามระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ โดยยึด หลักคติพจน์ที่ว่า “เราเรียนรู้ด้วยงานการฝึกหัด เราปฏิบัติเพ่ือหวงั ทางศกึ ษา หาเล้ียงชีพเพ่อื ชีวติ พัฒนา ใช้ วชิ าเพ่ือบรกิ ารงานสงั คม” อกท.มีคาขวัญวา่ “อกท. รวมพลงั สร้างชาติ” อกท. องค์การได้กาหนดบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการต่างๆดังรายละเอียดท่ีจะได้ศึกษาใน เอกสารฉบบั นตี้ อ่ ไป คณะกรรมการ อกท. 1. ความหมายของคณะกรรมการ อกท. 1.1 คณะกรรมการ อกท. หมายถงึ คณะกรรมการขององค์การเกษตรกรในอนาคตแห่ง ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ประกอบด้วย คณะกรรมการอานวยการและคณะกรรมการดาเนินงาน อกท. มี 3 ระดับ คือ คณะกรรมการ อกท.ระดับ หน่วย คณะกรรมการ อกท.ระดบั ภาคและคณะกรรมการ อกท.ระดบั ชาติ 1.2 คณะกรรมการอานวยการ อกท. หมายถึง คณะกรรมการ ท่ีประกอบด้วยผบู้ ริหาร ครู สมาชิกวิสามญั และผู้ทรงคุณวุฒิ มาเป็นกรรมการการร่วมกัน มี 3 ระดับ คือ คณะกรรมการอานวยการ อกท. ระดับหนว่ ย ระดบั ภาคและ ระดับชาติ 1.3 คณะกรรมการดาเนินงานอกท. หมายถงึ คณะกรรมการทเี่ ปน็ สมาชกิ สามญั อกท. มี 3 ระดับ คอื คณะกรรมการดาเนินงาน อกท.ระดบั หน่วย ระดบั ภาคและ ระดับชาติ คณะกรรมการดาเนินงาน อกท.แต่ละระดับมี 6 ตาแหน่งไดแ้ ก่ นายกองค์การ รองนายก ปฏคิ ม ผู้ส่อื ข่าว เลขานุการและเหรญั ญกิ

2 2. คณะกรรมการ อกท. ระดบั หนว่ ย คณะกรรมการ อกท. ระดับหนว่ ย ประกอบดว้ ย คณะกรรมการอานวยการ อกท.ระดบั หน่วย และ คณะกรรมการดาเนนิ งาน อกท.ระดับหน่วย คณะกรรมการชดุ นี้จะจดั ใหม้ ีการประชุมสามัญอยา่ งน้อย ภาค เรียนละ 1 ครั้ง คณะกรรมการ อกท.ระดับหน่วย มหี น้าทดี่ ังน้ี 2.1 กาหนดแนวทางในการบริหารกจิ กรรมของหน่วย 2.2 พิจารณาให้ความเห็นชอบผลการตรวจสอบคุณสมบัติการเล่ือนระดับของสมาชิก การคัดเลือก สมาชิก อกท.ดีเดน่ ศิษยเ์ ก่า อกท.ดเี ดน่ ระดบั หน่วย 2.3 พิจารณาให้ความเห็นชอบ ร่างระเบียบ วธิ ีการปฏิบัติของ อกท. หลักเกณฑ์ และรายละเอียดท่ีมี การเสนอ กาหนด แกไ้ ข เพม่ิ เติม เพ่อื เสนอ อกท.ระดบั ภาคตอ่ ไป 2.4 สรรหา ครูท่ปี รกึ ษา และผู้ชว่ ยครทู ีป่ รกึ ษา คณะกรรมการดาเนินงาน อกท. ระดบั หนว่ ย 2.5 แสวงหาความร่วมมอื จากภาครฐั และเอกชนเพ่ือส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การดาเนนิ กิจกรรม อกท. 2.6 ประชุมเพ่ือหาแนวทางในการพัฒนา ปรับปรุงแก้ไข หรือหาข้อยุติในข้อขัดแย้งในการดาเนิน กิจกรรม อกท. 2.7 ปฏิบัติหน้าที่ตามระเบยี บ วิธีการปฏิบัติ หลักเกณฑ์และรายละเอยี ดที่ อกท.กาหนด 3. คณะกรรมการ อกท.ระดับภาค คณะกรรมการ อกท. ระดบั ภาค ประกอบดว้ ยคณะกรรมการอานวยการ อกท. ระดบั ภาค และ คณะกรรมการดาเนินงาน อกท. ระดับภาค คณะกรรมการชุดนี้จะจดั ให้มีการประชมุ สามัญอย่างน้อย ปี การศกึ ษาละ 4 ครั้ง คณะกรรมการ อกท. ระดบั ภาค มหี น้าทด่ี งั นี้ 3.1 กาหนดแนวทางในการบรหิ ารกิจกรรม อกท.ของภาค 3.2 พิจารณาให้ความเห็นชอบผลการตรวจสอบคุณสมบัติการเลื่อนระดับของสมาชิก การคัดเลือก สมาชิก อกท.ดเี ดน่ ศิษยเ์ ก่าอกท.ดีเดน่ และหน่วย อกท.ดเี ด่น ระดบั ภาค 3.3 พิจารณาให้ความเห็นชอบ รา่ งระเบียบ วิธีการปฏิบัติ อกท.หลักเกณฑ์ราย ละเอียดท่ีมกี ารเสนอ กาหนด แก้ไข เพม่ิ เติม เพอื่ เสนอ อกท.ระดบั ชาติ ต่อไป 3.4 แสวงหาความรว่ มมือจากภาครฐั และเอกชนเพ่ือสง่ เสรมิ และสนบั สนุนการดาเนนิ กจิ กรรม อกท. 3.5 ประชมุ เพ่ือหาแนวทางในการพฒั นา การปรบั ปรุงแกไ้ ข หรอื หาข้อยุติ ข้อขัดแยง้ ใน การดาเนนิ กจิ กรรม อกท. 3.6 ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ตี ามระเบียบ วธิ ีการปฏบิ ัติ หลกั เกณฑแ์ ละรายละเอยี ดที่ อกท.กาหนด

3 4. คณะกรรมการ อกท.ระดับชาติ คณะกรรมการ อกท.ระดับชาติ ท่ีประกอบไปด้วยคณะกรรมการอานวยการ อกท.ระดับชาติ และ คณะกรรมการดาเนินงาน อกท.ระดับชาติ คณะกรรมการชุดนี้จะจัดให้มีการประชุมสามัญอย่างน้อย ปีการศึกษา ละ 4 คร้ัง หน้าท่ขี องคณะกรรมการ อกท.ระดบั ชาติ มดี งั นี้ 4.1 กาหนดแนวทางในการบรหิ ารกิจกรรม อกท. 4.2 พิจารณาให้ความเห็นชอบผลการตรวจสอบคณุ สมบัติการเลอื่ นระดบั สมาชิก การคัดเลือก สมาชกิ อกท.ดีเด่น ศิษย์เกา่ ดีเดน่ และหน่วย อกท.ดเี ดน่ ระดบั ชาติ 4.3 พิจารณาให้ความเห็นชอบ ร่างระเบียบ วิธีการปฏิบัติ อกท.หลักเกณฑ์ราย ละเอียดที่มกี ารเสนอ กาหนด แก้ไข เพิม่ เตมิ เพอ่ื ประกาศใชต้ ่อไป 4.4 แสวงหาความรว่ มมือจากภาครฐั และเอกชนเพื่อสง่ เสริมและสนบั สนนุ การดาเนนิ กจิ กรรม อกท. 4.5 ประชมุ เพ่ือหาแนวทางในการพัฒนา การปรบั ปรงุ แก้ไข หรอื หาข้อยตุ ิ ข้อขัดแย้งในการดาเนิน กิจกรรม อกท. 4.6 ปฏบิ ตั หิ น้าทีต่ ามระเบยี บ วธิ กี ารปฏบิ ัติ หลกั เกณฑ์และรายละเอียดที่ อกท.กาหนด โครงสรา้ งการบรหิ ารสานักงาน อกท. แต่ละระดับ 1. โครงสรา้ งการบริหารสานักงาน อกท. ระดบั หนว่ ย โครงสร้างการบริหารสานักงาน อกท. ระดับหน่วยประกอบด้วยคณะกรรมการอานวยการ อกท. ระดับหน่วย หัวหน้าสานักงาน อกท.ระดับหน่วย (นายก อกท.ระดับหน่วย) ครูท่ีปรึกษา อกท. ระดับหน่วย คณะกรรมการดาเนนิ งาน อกท. ระดับหน่วย ประกอบด้วยรองนายก ผ้สู ่ือข่าว ปฏิคม เหรญั ญกิ และเลขานุการ คณะอนกุ รรมการกจิ กรรมหลกั และสมาชกิ อกท. ดงั แผนภมู ิต่อไปน้ี คณะกรรมการอานวยการ อกท.ระดับ หน่วยหน่วย หวั หนา้ สานกั งาน อกท.ระดับ ครทู ่ีปรกึ ษา หนว่ ย อกท.ระดบั หน่วย ( นายก อกท.ระดับหนว่ ย ) กรรมการดาเนนิ งาน อกท.ระดบั คณะกรรมการชมรม หน่วย วิชาชีพ อกท. รองนายก ผ้สู อ่ื ขา่ ว ปฏคิ ม เหรัญญกิ เลขานกุ าร สมาชกิ อกท.

4 2. โครงสร้างการบรหิ ารสานักงาน อกท. ระดับภาค โครงสร้างการบริหารสานักงาน อกท. ระดับภาคประกอบด้วย คณะกรรมการอานวยการ อกท. ระดับภาค หัวหน้าสานักงาน อกท. ระดับภาค (ประธานกรรมการอานวยการ อกท. หน่วย ท่ีต้ังสานักงาน อกท. ระดบั ภาค) คณะกรรมการฝ่ายตา่ งๆ ตามหน้าทีข่ องสานักงาน อกท.ระดับภาคประกอบดว้ ย ฝา่ ยพัฒนา วิชาการ ฝ่ายข้อมูลและสารสนเทศ ฝ่ายพัฒนาบุคลากร ฝ่ายธุรกิจและหารายได้ ฝ่ายประสานงานสมาชิก วสิ ามัญ ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ และ ฝ่ายอื่น ๆ ที่ไดร้ ับการแต่งตัง้ คณะกรรมการดาเนินงานและครูที่ปรึกษา อกท. ระดบั ภาคและสมาชกิ ดังแผนภูมิต่อไปนี้ คณะกรรมการอานวยการ อกท.ระดับภาค หวั หน้าสานกั งาน อกท.ระดับภาค ( ประธานกรรมการอานวยการ อกท.หน่วย ทตี่ ั้งสานักงาน อกท.ระดบั ภาค ) คณะกรรมการฝ่ายต่าง ๆ คณะกรรมการดาเนนิ งาน อกท. ตามหน้าทสี่ านักงาน อกท.ระดับภาค และ - ฝา่ ยพฒั นาวิชาการ - ฝา่ ยข้อมลู และสารสนเทศ ครูทีป่ รกึ ษา อกท.ระดับภาค - ฝา่ ยพัฒนาบคุ ลากร - ฝา่ ยธรุ กจิ และหารายได้ - ฝา่ ยประสานงานสมาชกิ วิสามัญ - ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ - ฝา่ ยอื่น ๆ ทีไ่ ดร้ ับการแตง่ ตัง้ สมาชิก

5 3. โครงสร้างการบริหารสานักงาน อกท. ระดับชาติ โครงสร้างการบริหารสานักงาน อกท. ระดับชาติ ประกอบด้วยคณะกรรมการอานวยการ อกท. ระดับชาติ หัวหน้าสานักงาน อกท. คณะกรรมการฝ่ายต่าง ๆ ตามหน้าท่ีของสานักงาน อกท. ระดับชาติ ประกอบด้วย ฝ่ายพฒั นาวชิ าการ ฝ่ายข้อมูลและสารสนเทศ ฝ่ายพัฒนาบุคลากร ฝ่ายธรุ กจิ และหารายได้ ฝา่ ย ประสานงานสมาชิกวิสามัญ ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ และ ฝ่ายอ่ืน ๆ ที่ได้รับการแต่งตั้ง คณะกรรมการดาเนินงาน และครูท่ปี รึกษา อกท.ระดบั ชาติ และสมาชกิ ดงั แผนภูมติ ่อไปนี้ คณะกรรมการอานวยการ อกท.ระดบั ชาติ หวั หน้าสานกั งาน อกท.ระดบั ชาติ (จากการแตง่ ตัง้ ของประธานกรรมการอานวยการ อกท.ระดบั ชาติ) คณะกรรมการฝา่ ยต่าง ๆ คณะกรรมการดาเนินงาน อกท. ตามหนา้ ทส่ี านกั งาน อกท.ระดบั ชาติ และ - ฝ่ายพฒั นาวิชาการ - ฝา่ ยข้อมูลและสารสนเทศ ครูทปี่ รกึ ษา อกท.ระดับชาติ - ฝา่ ยพัฒนาบคุ ลากร - ฝ่ายธุรกจิ และหารายได้ - ฝา่ ยประสานงานสมาชกิ วิสามญั - ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ - ฝ่ายอ่ืน ๆ ท่ไี ดร้ บั การแต่งตง้ั สมาชิก

6 บทบาทหนา้ ท่ีของคณะกรรมการดาเนินงาน อกท.ระดับหนว่ ย 1. คณะกรรมการดาเนนิ งาน อกท.ระดับหน่วย คณะกรรมการดาเนินงาน อกท. ระดับหน่วย ประกอบด้วยนายก อกท. ระดับหน่วยซ่ึงมาจากการ เลือกต้ังของสมาชิกก่อนปิดภาคเรียนในปีการศึกษาท่ีผ่านมา 30 วัน และตาแหน่งอ่ืนๆ อีก 5 คน คือ รอง นายก เหรญั ญิก ผู้สื่อขา่ ว ปฏคิ ม และเลขานุการ วาระการทางาน 1 ปีการศึกษา มีหน้าท่ีดังน้ี 1.1 กาหนดแผนงานในการดาเนินกจิ กรรมของหน่วย 1.2 เสนอหรอื แตง่ ตั้งคณะกรรมการ และคณะอนุกรรมการเพอื่ การดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ 1.3 ดาเนนิ การจัดกจิ กรรมตามโครงการที่กาหนด 1.4 ดาเนินกิจกรรมของ อกท. ระดับหนว่ ยใหเ้ ปน็ ไปตามวธิ ีการปฏบิ ตั ิ 1.5 สรปุ และรายงานผลการดาเนินกิจกรรมของหน่วย ดังน้ันอาจกล่าวได้ว่าผู้ท่ีมีหน้าท่ี และภารกิจที่สาคัญในการดาเนินงานกิจกรรมระดับหน่วย ตลอดปี การศึกษาก็คือ คณะกรรมการดาเนินงาน และคณะกรรมการชมรมวชิ าชีพ อกท. ซึ่งต้องรับผิดชอบทั้งด้านการ วางแผน การลงมือปฏิบัติ การรายงานผล รวมท้ังการประสานงานเพื่อให้เกดิ ความรว่ มมือกบั ฝา่ ยงานตา่ ง ๆ ท่ี เก่ยี วขอ้ ง 2. บทบาทหน้าทีข่ องคณะกรรมการดาเนนิ งาน อกท. แตล่ ะตาแหน่ง 2.1 บทบาทหน้าที่ของ นายก อกท. หน่วย นายก อกท. หน่วย นับเป็นบุคคลที่มีเกียรติและเป็นที่ ยอมรับของนักเรียนนักศึกษาทั้งวิทยาลัย ซึ่งผ่านการเลือกต้ังจากนักเรียนนักศึกษาท้ังวิทยาลัยตามแบบ ประชาธปิ ไตย โดยครทู ี่ปรึกษาคณะกรรมการดาเนินงาน อกท. ระดับหน่วย จะเปน็ ผู้กล่ันกรองคุณสมบัติของผู้ ท่ีจะมีสิทธิ์เข้าสมัครเพื่อรับการเลือกต้ัง ซึ่งคานึงถึงความสามารถในการศึกษาเล่าเรียนประสบการณ์ใน อกท. ระดบั ตา่ ง ๆ ความประพฤติและการรกั ษาระเบยี บวนิ ยั นายก อกท. ระดับหน่วยมีบทบาทหนา้ ทที่ ่สี าคญั ดงั นี้ 2.1.1 ศึกษาระเบียบข้อบังคับและแนวปฏิบัติต่าง ๆ ของ อกท.ให้เข้าใจแจ่มแจ้งเพ่ือท่ีจะได้ แนะนาคณะกรรมการและสมาชกิ ได้ 2.1.2 ดาเนินการประชุมคณะกรรมการดาเนินงานของหน่วย เพื่อวางแผนจัดทาปฏิทินการ ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมของหนว่ ย ตลอดจนแตง่ ตั้งคณะกรรมการดาเนินงานโครงการตา่ ง ๆ 2.1.3 หาโอกาสให้สมาชิกภายในหน่วยทุกคน มีโอกาสร่วมกิจกรรมตามความถนัด เช่น ทา โครงการทีต่ นสนใจ 2.1.4 เป็นนักพัฒนา ทั้งพัฒนาตนเอง พัฒนาสมาชิก พัฒนาหน่วย และพัฒนาสถานศึกษา รวมทั้งชมุ ชนทอ่ี ยู่รอบ ๆ สถานศกึ ษา 2.1.5 เปน็ นักประสานงานท่ีมีมนุษยสมั พันธด์ ี สามารถประสานความคดิ ของเพอ่ื นสมาชิก กับที่ ปรกึ ษาและสถานศึกษาไดอ้ ย่างดี 2.1.6 เป็นผ้ทู ่มี ีความคิดริเริ่ม มวี ิจารณญาณท่ดี ี และมองการณไ์ กลในงานท่ีรบั ผิดชอบ 2.1.7 มคี วามสามารถในการแบ่งและกระจายงานให้แก่กรรมการและสมาชิกดาเนินกิจกรรม 2.1.8 มีทา่ ทางสงา่ ผา่ เผย บุคลิกภาพดี วางตนดี แตง่ กายเหมาะสมตามกาลเทศะ 2.1.9 เป็นคนเสยี สละ ไม่เห็นแก่ตวั เปน็ แบบฉบบั ทด่ี ีแก่สมาชกิ 2.1.10 เป็นผู้ท่ีมีความอ่อนน้อมถ่อมตน มีคุณธรรมและจริยธรรมเป็นท่ีรักใคร่และเชื่อถือ ศรทั ธาของสมาชกิ

7 2.2 บทบาทหน้าท่ีของรองนายก รองนายก อกท.หน่วย เป็นผู้ท่ีได้รับเลือกจากนายก อกท. ระดับ หน่วยเสนอช่ือข้ึนมาทาหน้าที่ โดยได้รับความเห็นชอบจากครูท่ปี รกึ ษาคณะกรรมการดาเนนิ งาน และประธาน กรรมการอานวยการหน่วย มีบทบาทหนา้ ทที่ สี่ าคัญดงั น้ี 2.2.1 ทาหนา้ ท่แี ทนนายก เมอ่ื นายกไมส่ ามารถปฏบิ ตั หิ น้าทไ่ี ด้ 2.2.2 ชว่ ยดาเนนิ กจิ กรรมทกุ อย่างในหนว่ ย เพอ่ื สมาชกิ สามารถดาเนินกิจกรรมได้ 2.2.3 มคี วามตงั้ ใจจรงิ ในการดาเนนิ กจิ กรรมไม่เปน็ คนเหน็ แก่ตัว 2.2.4 รอบรู้ระเบียบ กฎขอ้ บงั คบั และแผนงานของหนว่ ยเปน็ อย่างดี 2.2.5 มีความสามารถในการวางแผน การจดั กิจกรรม และการกระจายงานสสู่ มาชิก 2.2.6 สามารถเป็นพีเ่ ล้ยี งแนะนาการดาเนินงานแก่กรรมการและสมาชิกใหม่ได้ 2.3 บทบาทหนา้ ท่ีของเหรัญญกิ เหรญั ญกิ เปน็ ผดู้ าเนนิ การเก่ียวกับด้านการเงนิ ของหนว่ ย มีบทบาทหนา้ ทที่ ่สี าคัญดังนี้ 2.3.1 รับผิดชอบดแู ลเกีย่ วกับการเงนิ ทาบัญชรี ายรบั รายจา่ ยของหนว่ ย 2.3.2 เปน็ ผูท้ างบประมาณค่าใชจ้ า่ ยประจาปีของหนว่ ย 2.3.3 จา่ ยเงินตามใบเสร็จและทารายงานฐานะทางการเงินของหน่วย 2.3.4 สนับสนนุ และหาวธิ กี ารให้สมาชิกรู้จักออมทรพั ยแ์ ละการใช้จ่ายเงนิ อย่างฉลาด 2.3.5 แจง้ รายงานทางการเงินเสนอต่อทปี่ ระชุมทกุ คร้ัง 2.4. บทบาทหน้าท่ขี องผูส้ ื่อขา่ ว ผสู้ ่ือข่าวเป็นประชาสัมพันธ์ของหน่วย มีหน้าท่ีรายงานกจิ กรรมต่าง ๆ ของหน่วยแก่สมาชิก และ แถลงข่าวแก่บุคคลภายนอกโดยใช้ส่ือต่างๆ เช่น จดหมายข่าว ป้ายนิเทศ หรือการใช้เสียงตามสายใน สถานศึกษา ผ้สู ือ่ ขา่ วมีบทบาทหน้าทที่ ่สี าคญั ดังน้ี 2.4.1 จัดทาป้ายนิเทศหรือนิทรรศการให้สมาชิก และบุคคลอ่ืนทราบความเคลื่อนไหวของ กิจกรรมในหน่วย 2.4.2 จัดทาจดหมายข่าวหรือส่งภาพข่าวกิจกรรมเพ่ือเผยแพร่ข่าวสารทางสื่อมวลชน โดยผ่าน ความเหน็ ชอบของครทู ปี่ รกึ ษา 2.4.3 ช่วยวางโครงการในการจัดนิทรรศการของ อกท.หน่วย เก็บบันทึกเร่ืองราวและ ความก้าวหน้าต่าง ๆ ของหน่วยรวมท้ังภาพกจิ กรรม 2.5 บทบาทหน้าที่ของปฏคิ ม ปฏคิ ม เปน็ ผทู้ ่คี อยต้อนรบั และเชิญแขกของหนว่ ย มบี ทบาทหน้าท่ีทส่ี าคัญดงั นี้ 2.5.1 เชิญแขกมาร่วมกิจกรรมของหนว่ ย 2.5.2 ดแู ลความสะดวกและความเรยี บรอ้ ยของหอ้ งประชมุ 2.5.3 จัดเก็บและรกั ษาอุปกรณ์ เครอื่ งหมายตา่ ง ๆ และสญั ลักษณข์ องกรรมการ 2.5.4 ช่วยเหลือสมาชิกในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ และบริการเครื่องดื่มในพิธีการต่าง ๆ ของ หน่วย 2.5.5 ให้ความสะดวกและส่งแขกของหน่วยกลับเมอื่ เสร็จสิน้ กจิ กรรม

8 2.6 บทบาทหนา้ ทขี่ องเลาขานุการ เลขานุการ นับเป็นตาแหน่งที่มีความสาคัญมาก เป็นผู้ทอ่ี ยู่ใกล้ชดิ สามารถทางานรว่ มกบั นายกได้ ตลอดเวลา มบี ทบาทหนา้ ท่ที ีส่ าคัญดังนี้ 2.6.1 จัดวาระการประชมุ เสนอนายก เพ่ือพจิ ารณา 2.6.2 ประสานงานการจดั การประชุม สถานท่ีและอปุ กรณต์ ่าง ๆ เพอ่ื เตรียมการประชมุ 2.6.3 ออกหนังสอื เชญิ ประชมุ โดยให้นายก อกท. ลงนามและดาเนินการตามขนั้ ตอน 2.6.4 บันทึกรายงานการประชุม เป็นหลักฐาน และเก็บรวบรวมรายงานการประชุมอย่างมี ระบบ 2.6.5 ประสานงานคณะกรรมการต่างๆ เพ่ือจัดทาแผนปฏิบัติงานประจาปีและดาเนินกิจกรรม ทกุ อยา่ งของหนว่ ย บทบาทหนา้ ท่ขี องคณะกรรมการชมรมวชิ าชีพ ชมรมวิชาชีพ ถือเป็นหัวใจสาคัญในการดาเนินกิจกรรม อกท. มีคณะกรรมการชมรมวิชาชีพเป็นผู้ ดาเนินงาน กระบวนการดาเนินกิจกรรมหลักของชมรมวิชาชีพ จะเน้นผู้ปฏิบัติที่เป็นสมาชิก อกท.ให้รู้จักการ ทางานเป็นทีม คิดเป็น ทาเป็น และแก้ปัญหาเป็น เป็นการส่งเสริมทักษะการบริหารงานอย่างมีระเบียบแบบ แผน 1. ความหมายของการดาเนินกจิ กรรมหลกั อกท. 1.1 กจิ กรรมหลัก อกท. หมายถึง กิจกรรมท่ีองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี กาหนดไว้ในวิธีการปฏิบัติของ อกท. ว่า ด้วย การดาเนนิ กิจกรรมหลัก พ.ศ. 2562 เพื่อเป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาสมาชิกให้มีความเป็นเลิศทางวชิ าชีพ มลี ักษณะความเปน็ ผูน้ าและผูต้ ามทีด่ ี มที ั้งหมด 5 กิจกรรม ไดแ้ ก่ 1.1.1 กจิ กรรมพัฒนาวชิ าชพี 1.1.2 กิจกรรมสง่ เสรมิ ธุรกิจและออมทรพั ย์ 1.1.3 กจิ กรรมเสรมิ สรา้ งพฤตกิ รรมความเปน็ ผู้นา 1.1.4 กิจกรรมพัฒนาทกั ษะชีวติ 1.1.5 กิจกรรมพฒั นาความสัมพนั ธช์ ุมชน 1.2 การดาเนนิ กจิ กรรมหลัก อกท. หมายถงึ การจดั กิจกรรม อกท.ทางดา้ นการพัฒนาวชิ าชีพ ด้านส่งเสริมธุรกิจและออมทรัพย์ ด้านเสริมสร้างพฤติกรรมความเป็นผู้นา ด้านพัฒนาทักษะชีวิต ด้านการ พัฒนาความสัมพันธ์กับชุมชน เพื่อให้สมาชิกองค์การมีความเปน็ เลิศทางวิชาชพี มีลกั ษณะความเป็นผู้นา และ เปน็ พลเมอื งดีของสังคมตามระบอบการปกครองแบบประชาธปิ ไตย 2. ความสาคญั ของกิจกรรมหลัก อกท. กิจกรรมหลัก อกท. เป็นเคร่ืองมือสาคัญในการพัฒนาสมาชิกองค์การ ให้มีคุณภาพเป็นไปตาม วตั ถปุ ระสงค์ ของ อกท. ทั้ง 3 ประการ โดยวตั ถุประสงคป์ ระการแรกคือ เพอื่ พฒั นาคณุ ภาพและความเป็นเลิศ ทางวิชาชีพของสมาชิก จะขับเคลื่อนโดยกิจกรรมพัฒนาวิชาชีพ และกิจกรรมส่งเสริมธุรกิจและออมทรัพย์ ส่วนวัตถุประสงค์ของ อกท. ประการที่สองและประการท่ีสามท่ีว่า เพื่อพัฒนาให้สมาชิกมีลักษณะความเป็น ผู้นา สามารถทางานร่วมกับผู้อ่ืนและอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข และเพ่ือส่งเสริมให้สมาชิกเป็นพลเมืองดี

9 ตามระบอบการปกครองประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดยมีกิจกรรมเสริมสร้าง พฤติกรรมความเป็นผู้นา กจิ กรรมพัฒนาทกั ษะชีวิต และกิจกรรมพัฒนาความสัมพันธ์ชมุ ชนเป็นกลไกสาคัญใน การพัฒนาสมาชิกขององค์การ ดังน้ันกิจกรรมหลัก จึงเป็นหัวใจหลักของ อกท. ในการพัฒนานั กเรียน นักศึกษาสมาชิก อกท. ให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะและประสบการณ์ทางด้านวิชาชีพ มีคุณลักษณะการ เปน็ ผูน้ าและผตู้ ามท่ีดี พรอ้ มทจ่ี ะสาเรจ็ การศึกษาไปสู่สงั คมอย่างภาคภูมใิ จ 3. โครงสรา้ งการบริหารงานกิจกรรมหลักของชมรมวิชาชพี อกท. ในการบริหารกิจกรรมหลักของ อกท. ตามวิธีการปฏิบัติของ อกท. ว่าด้วย การดาเนินกิจกรรมหลัก พ.ศ. 2562 ได้กาหนดรูปแบบการบริหารงานตามแผนภูมิตอ่ ไปน้ี คณะกรรมการอานวยการ อกท.ระดบั หนว่ ย ครทู ปี่ รกึ ษาคณะกรรมการดาเนินงาน อกท. ระดับหน่วย คณะกรรมการดาเนินงาน อกท.ระดบั หนว่ ย ครูที่ ครทู ่ี ครทู ี่ ครูที่ ครูที่ ปรึกษา ปรึกษา ปรกึ ษา ปรึกษา ปรกึ ษา ชมรม ชมรม ชมรม ชมรม ชมรม ............... ............... ............... ............... ............... ............... ............... ............... ............... ............... .......... .......... .......... .......... .......... คณะกรรมก คณะกรรมก คณะกรรมก คณะกรรมก คณะกรรมก ารชมรม ารชมรม ารชมรม ารชมรม ารชมรม ................... ................... ................... ................... ................... ................... ................... ................... ................... ................... ............ ............ ............ ............ ............ สมาชกิ ชมรม สมาชิกชมรม สมาชิกชมรม สมาชิกชมรม สมาชิกชมรม จากแผนภูมิ เป็นการแสดงโครงสร้างการบริหารงานกิจกรรมหลัก อกท. ดาเนินการโดยคณะกรรมการชมรม วิชาชีพภายในหน่วย อกท. มีทีมงานคณะทางานประกอบด้วย ประธานชมรม รองประธานชมรม กรรมการ ชมรม กรรมการและเลขานุการชมรม มีครู- อาจารย์ในสถานศึกษาน้ัน ๆ เป็นท่ีปรึกษาชมรมละอย่างน้อย 1 คน ทาหน้าท่ีจัดกิจกรรมเพื่อมวลสมาชิกทุกคนในหน่วย อกท. ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกิจกรรมหลัก อกท.และความต้องการของสมาชิกโดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการดาเนินงาน อกท.และ คณะกรรมการอานวยการ อกท.ตามลาดับ คณะกรรมการชมรมวชิ าชพี มหี น้าที่ ดังน้ี 3.1 ประชมุ จัดทาแผนปฏบิ ัติการโครงการกจิ กรรมต่าง ๆ ของชมรม 3.2 กลน่ั กรองแผนปฏิบัติการโครงการกิจกรรมตา่ ง ๆ ร่วมกับคณะกรรมการดาเนนิ งาน อกท. ระดับ หน่วย และคณะกรรมการท่ีเกี่ยวขอ้ ง

10 3.3 ประสานงานและดาเนนิ กิจกรรมตา่ ง ๆ ของชมรมให้เป็นไปตามวิธีการปฏบิ ัติ อกท.ที่เกี่ยวข้อง 3.4 ติดตามและประเมนิ ผลการดาเนินงานกจิ กรรมทจี่ ดั ข้ึน 3.5 สรปุ และรายงานผลการดาเนนิ กจิ กรรมตา่ ง ๆ ต่อคณะกรรมการดาเนนิ งาน อกท. ระดบั หน่วย ในแตล่ ะภาคเรยี น 4. กระบวนการดาเนินกิจกรรมหลกั ของชมรมวิชาชีพ อกท. กระบวนการดาเนินกิจกรรมหลักของชมรมวิชาชีพ อกท. หมายถึง ลาดับขั้นตอนการจัดและดาเนิน กิจกรรมหลักของชมรมวิชาชีพ อกท. เพื่อพัฒนาสมาชิกให้มีคุณสมบัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ อกท. โดยเริ่ม จากขน้ั ตอนการวางแผนงาน ขั้นตอนการดาเนนิ งาน และขัน้ ตอนการสรุปประเมนิ ผลงาน ดังแผนภูมิต่อไปน้ี การจัดทาแผนปฏิบตั ิงานกิจกรรมหลักของชมรมวิชาชพี อกท. การจัดทาแผนดาเนินกิจกรรมหลกั การวางแผน การดาเนินงาน การสรปุ ประเมินผล - การวางแผนงานและ - การประชาสัมพนั ธ์ - การสรุปและรายงาน การเขียนโครงการ - การจดั กจิ กรรม ผลการจดั กจิ กรรม - การมอบหมายหน้าท่ี - สมาชกิ ผ้รู ว่ มกจิ กรรม - การประเมินผลการจัด - การประชมุ กรรมการฯ - งบประมาณ กิจกรรม 4.1 ขนั้ ตอนการวางแผน การวางแผนการดาเนนิ กจิ กรรมหลกั ของชมรมวิชาชพี อกท.มขี น้ั ตอน ดังตอ่ ไปน้ี 4.1.1 การวางแผนงานและการเขียนโครงการ มีการดาเนินการ 2 ขัน้ ตอนดงั นี้ 1) การเขียนแผนปฏบิ ตั งิ านกิจกรรมหลกั แผนปฏบิ ตั งิ านกิจกรรมหลกั เป็นการ จัดทาแผนก่อนเปิดภาคเรียนแรกของแต่ละปีการศึกษา คณะอนุกรรมการกิจกรรมหลัก อกท. แต่ละกิจกรรม จะทาหน้าท่ีจัดทาแผนปฏิบัติงาน ท่ีครอบคลุมตามวัตถุประสงค์ของกิจกรรมหลัก อกท.ของแต่ละกิจกรรม ซึ่งก่อนการเขียนแผนปฏิบัติงานจะต้องวิเคราะห์จุดประสงค์และกาหนดเป็นกิจกรรมย่อย ๆ ให้สอดคล้อง ครอบคลุมวัตถุประสงค์ทุกข้อ ส่วนจานวนกิจกรรมย่อย ๆ ท่ีจะจัดข้ึนในแต่ละปีการศึกษา ให้พิจารณาตาม ความเหมาะสม ดังตัวอยา่ งต่อไปน้ี 1.1) กจิ กรรมพฒั นาวิชาชีพ มีวัตถุประสงค์ 3 ขอ้ ดงั น้ี 1.1.1) เพอื่ พฒั นาความรู้ ทักษะและประสบการณ์ในวชิ าชีพของสมาชกิ โดยการปฏิบัติจริงในสถานการณ์จริง สามารถนาไปประกอบอาชีพและแนะนาผู้อื่นได้ โดยการนิเทศของครูที่ ปรกึ ษา 1.1.2) เพ่ือส่งเสรมิ ความเปน็ เลศิ ทางวชิ าชพี ของสมาชิก 1.1.3) เพื่อก่อใหเ้ กิดความรัก ศรทั ธา ความภาคภมู ใิ จและมจี รรยาบรรณใน วชิ าชพี

11 ตัวอย่างหัวข้อกิจกรรมย่อย เช่น กิจกรรมการปลูกผัก กิจกรรมการผลิตไม้ ดอกไม้ประดับ กิจกรรมการเลี้ยงไก่ไข่ กิจกรรมการเลี้ยงโคนม กิจกรรมการเลี้ยงปลา กิจกรรมการแปรรูป อาหาร กิจกรรมการถนอมรักษาผลิตผลทางการเกษตร กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องกติกาการแข่งขันทักษะ กจิ กรรมการเลื่อนระดับ กิจกรรมส่งเสริมสมาชิกศึกษาดูงานสถานประกอบการทีป่ ระสบความสาเรจ็ เพือ่ สร้าง แรงจงู ใจ เป็นต้น 1.2) กิจกรรมส่งเสริมธุรกจิ และออมทรพั ย์ มวี ัตถปุ ระสงค์ 3 ข้อดังน้ี 1.2.1) เพ่ือให้สามารถบรู ณาการความรู้ จากการเรียนจนเกดิ ทักษะ และ ประสบการณ์ในการดาเนนิ ธรุ กจิ ระหว่างเรยี น 1.2.2) เพ่ือใหร้ จู้ ักทาธรุ กจิ การค้าหารายได้ระหวา่ งเรียน 1.2.3) เพื่อเสริมสรา้ งให้มีพฤตกิ รรมในการออมทรัพย์ ตัวอย่างหัวข้อกิจกรรมย่อย เช่น กิจกรรมจาหน่ายอาหารและเคร่ืองด่ืม กิจกรรมธนาคาร อกท. กิจกรรมธนาคารขยะ กิจกรรมสหกรณ์นักศึกษา กิจกรรมตลาดนัดทางการเกษตร กิจกรรมบรรยายพเิ ศษวิสาหกจิ ชุมชน กจิ กรรม SME ช้ีช่องรวย กิจกรรมบรรยายการทาบญั ชีครัวเรือนอย่าง งา่ ย กจิ กรรมส่งเสริมการหารายได้เพื่อเลอื่ นระดบั กจิ กรรมการอบรมเขียนแผนธุรกจิ เป็นตน้ 1.3) กจิ กรรมเสริมสรา้ งพฤตกิ รรมความเปน็ ผูน้ า มวี ัตถุประสงค์ 3 ข้อดังน้ี 1.3.1) เพอ่ื พัฒนาให้เกิดบุคลิกลักษณะความเป็นผูน้ าทางกาย ทางอารมณ์ สังคม สตปิ ัญญา และจิตวญิ ญาณ รวมถงึ การฝกึ ทักษะทีจ่ าเปน็ สาหรับผู้นา อาทิ มนุษยสมั พนั ธ์ การติดตอ่ ส่ือสาร ผูน้ า ในท่ปี ระชมุ การขจดั ความขดั แย้ง การมอบอานาจหนา้ ท่ี การตัดสนิ ใจ และวินิจฉัยสงั่ การ การประสานงาน การ ประเมนิ ผลงาน เปน็ ตน้ 1.3.2) เพอ่ื ให้มคี วามรู้ความเข้าใจในบทบาทภาระหน้าที่ของผู้นา 1.3.3) เพื่อสรา้ งผูน้ าทมี่ คี ุณธรรม จรยิ ธรรมและแสดงออกซ่งึ พฤติกรรมทดี่ ีงาม ตัวอย่างหัวข้อกิจกรรมย่อย เช่น กิจกรรมอบรมนักจัดรายการวิทยุชุมชน กิจกรรมการพูดในท่ีชุมชน กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการคณะอนุกรรมการกิจกรรมหลัก อกท. ในหน่วย ของตนเอง กิจกรรมฝึกคนกล้าหน้าเสาธง กิจกรรมอบรมแกนนาต่อต้านยาเสพติด ต่อต้านเอดส์ กิจกรรมฝึก บุคลิกภาพการพูดในที่ชุมชน กิจกรรมจัดอภิปราย ปาฐกถา หรือการประชุมในรูปแบบต่างๆ กิจกรรมอบรม สมาชิกเพ่ือเป็นวิทยากร กิจกรรมตามล่าหาคนดี กิจกรรมการสร้างผู้นาทางด้านพิธีกรรมทางศาสนา กิจกรรม การจัดเลือกต้งั นายก อกท. หนว่ ย เป็นต้น 1.4) กจิ กรรมพัฒนาทักษะชีวิต มวี ัตถปุ ระสงค์ 5 ขอ้ ดังนี้ 1.4.1) เพอ่ื ใหส้ ามารถมีความคดิ ริเรมิ่ สรา้ งสรรค์ คิดวิเคราะหอ์ ยา่ งมวี จิ ารณญาณ และมมี โนทัศน์ 1.4.2) เพื่อให้มคี วามตระหนักรใู้ นตน ความเห็นใจผู้อนื่ ความภูมใิ จใน ตนเอง ความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวม 1.4.3) เพื่อใหม้ ีรา่ งกาย จติ ใจ และสติปญั ญาท่สี มบรู ณ์ มศี ีลธรรม คณุ ธรรม จรยิ ธรรม มสี ัมพนั ธภาพและการสือ่ สารท่ีดี รู้จกั แกป้ ญั หาและการตัดสนิ ใจ ประพฤติตนเป็นพลเมือง ดขี องสงั คม สามารถอยู่ร่วมกบั ผู้อืน่ ได้อยา่ งมคี วามสขุ 1.4.4) ส่งเสรมิ กิจกรรมสถาบันชาติ ศาสนา สถาบนั พระมหากษตั ริย์ ศลิ ปวัฒนธรรมประเพณี กีฬา ดนตรี ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น ภูมิปญั ญาไทย รวมถึงการอนรุ กั ษ์ทรพั ยากร ธรรมชาติ และสิง่ แวดลอ้ ม

12 1.4.5) เพื่อให้สามารถใชท้ ักษะชวี ติ พัฒนาตนเองและสังคม ตัวอย่างหัวข้อกิจกรรมย่อย เช่น กิจกรรมจัดการแข่งขันฟุตบอลพระพิรุณคัพ กิจกรรมคุณธรรมจริยธรรม 1 นาที กจิ กรรมชวี วิถีเพ่อื การพฒั นาอย่างยั่งยนื กิจกรรมประกวดสง่ิ ประดษิ ฐ์คน รุ่นใหม่ กิจกรรมคอนเสิร์ตต้านยาเสพติด กิจกรรมสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ กิจกรรมวันสาคัญของ สถาบันชาติ ศาสนา สถาบันพระมหากษัตริย์ ได้แก่ วันวิสาขบูชา วันรัฐธรรมนูญ วันพ่อแห่งชาติ วันแม่ แห่งชาติ เป็นต้น 1.5) กจิ กรรมพัฒนาความสัมพันธช์ ุมชน มวี ัตถุประสงค์ 4 ข้อดังนี้ 1.5.1) เพอ่ื สง่ เสรมิ ใหม้ ีกจิ กรรมสร้างความสมั พันธก์ บั ชุมชน สังคมและองค์กร อ่ืนๆ 1.5.2) เพื่อให้มีความเสียสละ มคี วามเอ้ืออาทร มีความรบั ผิดชอบตอ่ สังคมและ ส่วนรวม 1.5.3) เพื่อให้สามารถทางานได้ด้วยตนเอง พง่ึ พาตนเองและทางานร่วมกบั ผู้อ่นื ได้ 1.5.4) เพือ่ ให้มีทักษะการประชาสมั พันธ์และประสานสัมพันธ์กับชุมชน ตวั อย่างหัวข้อกิจกรรมย่อย เช่น กจิ กรรม อกท.ร่วมประเพณีแห่บั้งไฟ กิจกรรม ร่วมงานวันปิยมหาราช กิจกรรมแห่เทียนพรรษา กิจกรรมอาชีวศึกษาบริการ กิจกรรมค่ายอาสาพี่ช่วย น้อง กิจกรรมพัฒนาถนนสาธารณะ กิจกรรมปลูกต้นไม้สวนป่าสาธารณะ กิจกรรมจัดรายการวิทยุ ชุมชน กจิ กรรมบรจิ าคโลหติ กิจกรรมบริการทางเกษตร เช่น การทาวัคซีน การฉีดยาสัตว์ การตรวจคุณภาพ ดนิ และนา้ เม่ือได้หัวข้อกิจกรรมย่อยแล้วจึงมาสรุปรวมไว้ในแผนปฏิบัติงานกิจกรรมหลัก อกท . และ คณะอนุกรรมการกิจกรรมหลักจะร่วมกันพิจารณากลั่นกรองแผนงานปฏิบัติงานแล้วนาเสนอต่อไปท่ีครูท่ี ปรึกษาคณะกรรมการดาเนินงานพิจารณากอ่ นนาเสนอคณะกรรมการอานวยการ อกท. ระดับหน่วย พจิ ารณา ให้ความเห็นชอบ แผนปฏิบัติการกิจกรรมหลัก อกท. ที่ได้ผ่านความเห็นชอบแล้ว คณะกรรมการดาเนินงาน อกท. ระดับหน่วย จะจัดทาเปน็ ปฏิทนิ ประจาปีของหน่วยตอ่ ไป 2) การเขยี นแผนดาเนินกิจกรรมหลัก แผนดาเนินกจิ กรรมหลกั เป็นแผนย่อยท่ี เป็นส่วนประกอบของแผนปฏิบัติงานกิจกรรมหลัก จานวนของแผนการดาเนินกิจกรรมหลักจะมากหรือน้อย ขึน้ อยู่กับการวิเคราะห์จุดประสงค์ของกิจกรรมหลัก โดยคณะอนุกรรมการกิจกรรมหลักจะร่วมพิจารณาความ เหมาะสมของจานวนกิจกรรมท่ีจะดาเนินงานให้พอเหมาะในแต่ละปีการศึกษา ดังตัวอย่างในภาคผนวกหน้า 22-23 4.1.2 การมอบหมายหนา้ ที่ เป็นข้ันตอนดาเนนิ การต่อจากการอนุมัติแผนปฏิบัติงาน กิจกรรมหรือแผนการดาเนินกิจกรรมหลักเรียบร้อยแล้ว เน่ืองจากการดาเนินกิจกรรมหลัก อกท.เป็นกิจกรรม ของสมาชิก ท่ีส่งเสริมให้สมาชิกได้เรียนรู้การทางานร่วมกันเป็นทีม ดังน้ันผู้มีอานาจลงนามแต่งต้ัง คณะอนุกรรมการกิจกรรมหลักจึงเป็นหน้าที่ของนายก อกท.ระดับหน่วย โดยกาหนดตัวบุคคลผู้รับผิดชอบ ภาระหนา้ ที่ และมีการมอบหมายหนา้ ทีแ่ ตล่ ะกจิ กรรมอยา่ งชัดเจน ดังตัวอยา่ งแบบฟอร์มในภาคผนวกหนา้ 24 4.1.3 การประชุมคณะอนกุ รรมการ เปน็ ขนั้ ตอนทด่ี าเนนิ การหลงั จากการจัดทาคาสั่ง มอบหมายหน้าท่ี และก่อนที่จะเร่ิมดาเนินกิจกรรมหลัก คณะอนุกรรมการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในกิจกรรมที่ จะจัดข้ึน จะมาร่วมประชุมปรึกษาหารือพิจารณามอบหมายหน้าท่ี ช้ีแจงกาหนดการ รายละเอียดของการ

13 ปฏิบัติเตรียมการจัดกิจกรรมให้ทราบโดยทั่วกัน เพ่ือมีการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ โดยมีขั้นตอนท่ี สาคัญดงั นีค้ ือ 1) เลขาคณะอนุกรรมการกจิ กรรมหลกั จัดทาหนังสอื เชิญประชมุ 2) จดั การประชมุ ตามวนั เวลาที่มีการนัดหมายไว้ โดยเลขาคณะอนกุ รรมการเป็นผจู้ ด บนั ทึกรายงานการประชมุ 3) รายงานการประชมุ ตามลาดับขัน้ ตอนหลังจากการประชมุ เสร็จสิ้น 4.2 ขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน ขั้นตอนการดาเนนิ กจิ กรรมหลัก อกท.มีดังนี้ 4.2.1 การประชาสัมพนั ธ์ เป็นการเชญิ ชวนใหค้ ณะผบู้ รหิ าร ครู บคุ ลากรและสมาชิก อกท. เข้าร่วมกิจกรรม โดยแจ้งช่ือกิจกรรม กาหนดการ วัน เวลา และสถานที่ จัดกิจกรรมให้ชัดเจนเป็น ข้อความที่สนั้ กะทัดรดั การประชาสมั พันธ์อาจจะดาเนินการโดยผา่ นรายการเสยี งตามสายของวิทยาลยั ฯ การ ติดแผ่นป้ายประชาสัมพันธ์ หรืออาจจะประชาสัมพันธ์ผ่านกิจกรรมหน้าเสาธงทุกวัน แบบฟอร์มการขอ ประชาสมั พนั ธ์อาจจะใชแ้ บบฟอรม์ และข้อความ 4.2.2 การจดั กจิ กรรม เปน็ การดาเนนิ งานตามแผนกิจกรรมท่ีวางไว้ การดาเนนิ กจิ กรรม หลักแต่ละคร้ังควรจะพยายามดาเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกิจกรรม เพ่ืองา่ ยต่อการวัดผลสาเร็จ ของการดาเนนิ กิจกรรม และมีการบันทกึ ภาพกจิ กรรมไว้ดว้ ยทกุ คร้งั 4.2.3 การเกบ็ ข้อมลู สมาชิกเข้ารว่ มกจิ กรรม ในการจัดกิจกรรมหลัก อกท. สมาชิกท่ีเข้า ร่วมกิจกรรมจะมีการลงลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐาน โดยท่ัวไป การจัดกิจกรรมที่ดี ควรจะสมาชิกเข้าร่วม กจิ กรรมไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 80 4.2.4 การใช้จ่ายเงินงบประมาณ การจัดกิจกรรมหลักแต่ละคร้ัง เมื่อมีความจาเป็นต้องใช้ งบประมาณ คณะอนุกรรมการกิจกรรมหลักจะเสนอความต้องการใช้เงินงบประมาณตามแผนงานท่ีวางไว้ต่อ คณะกรรมการดาเนินงาน และครทู ี่ปรกึ ษา อกท. เพ่อื จะนาเงนิ ไปใชจ้ า่ ยในการจัดกจิ กรรมตอ่ ไป 4.3 ข้ันตอนการสรปุ ประเมินผล การสรปุ ประเมนิ ผลกิจกรรมหลัก อกท.มี 2 ส่วนดงั นี้ 4.3.1 การสรุปและรายงานผลการจัดกิจกรรม เป็นการสรปุ ผลจากการดาเนนิ งานกจิ กรรม หลักอกท. ว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายตามแผนงานที่วางไว้หรือไม่ แล้วรายงานต่อประธาน กรรมการอานวยการ อกท. ซึ่ง เน้ือหาการสรุปและรายงานผล อกท. งาน กาหนดไว้ท้ังหมด 13 หัวข้อไดแ้ ก่ ชื่อ กิจกรรมโครงการ ชื่อกิจกรรมหลัก ผู้รับผิดชอบกิจกรรม ครูท่ีปรึกษากิจกรรมหลัก คร้ังท่ีและปีการศึกษาที่ ดาเนินกิจกรรม วันท่ีดาเนินกิจกรรม จานวนสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรม สถานที่ดาเนินการ ค่าใช้จ่าย ผลการ ดาเนนิ กิจกรรมและผลสาเร็จของกจิ กรรม ประโยชน์ท่ีได้รับ ปัญหาและอุปสรรคทเ่ี กดิ ขึน้ และสว่ นข้อเสนอแนะ วิธีการแกไ้ ขปัญหาและอปุ สรรคนอกจากนอี้ าจจะแนบภาพถ่ายกจิ กรรมหรือเอกสารอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวข้องไปด้วยก็ได้ การสรุปและรายงานผลการดาเนินกิจกรรม รวมถึงการรายงานภาพถ่ายการดาเนินกจิ กรรม แต่ละหน่วยอาจจะ ปรบั ใช้ดังตัวอย่างในภาคผนวกหน้า 33-34

14 4.3.2 การประเมินผลการจัดกิจกรรม การประเมนิ ผลการจัดกจิ กรรม เป็นวิธีการวัดผล สาเร็จของการจัดกิจกรรมหลัก เคร่ืองมือท่ีใช้ในการประเมนิ ผลอาจมีหลายรูปแบบตามลักษณะของกิจกรรมที่ จัดขึ้นได้แก่ แบบทดสอบ ใช้ในกรณีการจัดกิจกรรมการฝึกอบรม เช่น การฝึกอบรมการเล้ียงโคเนื้อ ส่วน แบบสอบถามความคิดเห็น ใช้ประเมินได้เกือบทุกกิจกรรม ในการประเมินผลการจัดกิจกรรมทาหลังดาเนิน กจิ กรรมเสร็จส้ิน แล้วนาข้อมูลที่ได้จากเคร่ืองมือประเมินผลไปวิเคราะห์และสรุปผลการประเมิน และรายงาน ผลแนบไปกับแบบสรุปและรายงานผลการจัดกจิ กรรมหลัก อกท. ต่อไป แตล่ ะหน่วยอาจจะปรบั ใช้ จะเห็นได้ว่ากระบวนการบริหารงานกิจกรรมหลักน้ัน เป็นการฝึกฝนการทางานอย่างเป็นระบบให้แก่ สมาชิก อกท. สมาชิกผู้ท่ีเข้ามาร่วมดาเนินกิจกรรมหลักทุกคน จะได้ฝึกกระบวนการวางแผนคือคิดเป็น กระบวนการดาเนินงานคือ ทาเป็น และกระบวนการสรุปและรายงานผลคือ รู้จักการแก้ไขปัญหาเป็น ซึ่ง ประสบการณต์ ่าง ๆ ทส่ี มาชกิ ได้รบั จะเป็นประโยชนแ์ ก่ตนเองในอนาคต บทบาทหนา้ ที่ของคณะกรรมการหมบู่ ้าน อกท. 1. แผนภมู ิการบริหารงานหมู่บา้ น อกท. แผนภูมิการบรหิ ารงานหมูบ่ า้ น อกท.หนว่ ย................. ประธานกรรมการอานวยการ อกท.ระดับหนว่ ย รองประธานกรรมการอานวยการ อกท.ระดับหน่วย ครทู ปี่ รกึ ษาหมูบ่ ้าน อกท. ผู้ใหญบ่ ้านหมบู่ า้ น อกท. ผู้ชว่ ยผใู้ หญ่บา้ นหมู่บา้ น อกท. ฝ่ายวชิ าการ ฝ่ายธุรการ ฝา่ ยกจิ กรรม ฝ่ายปกครอง สมาชิกหม่บู า้ น อกท.

15 2. บทบาทหน้าทข่ี องคณะกรรมการหมบู่ า้ น อกท. คณะกรรมการดาเนินงานหมู่บ้าน อกท.ในฐานะผูน้ าสมาชิกมบี ทบาทภารหนา้ ทีด่ แู ลดาเนนิ งานดงั นี้ 2.1 ด้านสภาพหมู่บ้าน คณะกรรมการหมู่บา้ นมีหนา้ ทน่ี าและรว่ มกบั สมาชกิ จัดทาป้ายชื่อหมู่บา้ น การตกแตง่ บรเิ วณหม่บู า้ นใหส้ วยงาม ดแู ลความหมู่บา้ นใหเ้ ป็นระเบียบ มคี วามสะอาด มคี วามสมบรู ณ์ม่ันคงปลอดภัยน่าอยู่ มีการจดั เวร ยาม มบี นั ทึกการบารงุ รกั ษาหรือซอ่ มแซมบ้านพกั ตามขัน้ ตอน ดูแลสภาพโดยรวมให้มคี วามม่นั คงปลอดภัย 2.2 ด้านสวสั ดกิ ารและสิง่ อานวยความสะดวก ดูแลสภาพถนนภายในหมูบ่ า้ น ระบบไฟฟ้าในหมบู่ า้ นและบรเิ วณ ให้ มีเพยี งพอเหมาะสม ดแู ลน้าที่ใชใ้ นการอปุ โภคบริโภค สถานท่ีปฐมพยาบาล จดั ระบบการสอ่ื สารและประชาสมั พันธ์ให้ท่ัวถงึ 2.3 ดา้ นสดั ส่วนของบ้านกับสมาชิก จัดจานวนบ้านพกั ให้เหมาะสมกบั จานวนสมาชกิ ในบา้ นพัก ปา้ ยช่ือสมาชกิ ประจาบ้านพัก จานวนสมาชกิ ทาโครงการเกษตรในหมบู่ ้าน ความสวยงามและความสะอาดภายนอก 2.4 ดา้ นการปกครอง จดั ให้มีกฎระเบยี บขอ้ บังคับของหมู่บา้ น มีการแต่งตงั้ คณะกรรมการหมบู่ า้ น และจดั ทา ทะเบียนสมาชกิ หมบู่ ้าน 2.5 ด้านสภาพความปลอดภยั ต่อทรพั ยส์ นิ มกี ารจดั เวรยามรกั ษาความปลอดภยั สง่ิ ปอ้ งกันโจรภัย การเขา้ – ออก หมูบ่ า้ น 2.6 ดา้ นสานกั งานหมู่บา้ น จดั ใหม้ ีพ้ืนที่ส่วนที่ทางานของกรรมการหมบู่ ้าน ส่วนทีใ่ ช้ประชมุ แผนผงั / ป้ายประกาศ ตู้รับความคดิ เหน็ เอกสาร วสั ดุ และเคร่ืองใช้ประจาสานกั งาน ให้เปน็ ระเบียบ ความสวยงาม มคี วามเป็นระเบียบ ความ สะอาดของสานักงาน 2.7 ด้านการใช้ประโยชนข์ องพื้นทบ่ี รเิ วณหมูบ่ ้าน จดั ใหม้ ีพืน้ ท่ีทาการเกษตรสว่ นรวม มีสถานทพ่ี ักผอ่ นและออก กาลังกาย 2.8 ดา้ นกจิ กรรมของสมาชิกหมบู่ ้าน อกท. จัดกิจกรรมหลกั 5 กิจกรรม เพ่อื ส่งเสรมิ และพฒั นาสมาชิก จัด กิจกรรมโครงการ 3 D (ด้านประชาธิปไตย ดา้ นคณุ ธรรม และด้านสงิ่ เสพติด)

16 เอกสารอ้างองิ สรุ พงษ์ มศี รี. (2551). เอกสารประกอบการสอนวิชาการพฒั นาความเปน็ ผู้นาเกษตรกรในอนาคต รหัสวิชา 2500-1001. นครราชสมี า: วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีนครราชสีมา. สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2559). ระเบียบสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา วา่ ดว้ ย องคก์ ารเกษตรกรในอนาคตแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภ์สมเด็จพระเทพ รตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี พ.ศ.2559. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ. องค์การเกษตรกรในอนาคตแหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์สมเด็จพระเทพ รัตนราชสดุ า ฯสยามบรมราชกุมารี. (2562). วธิ กี ารปฏบิ ตั ิ อกท. วา่ ดว้ ย กิจกรรมหลัก พ.ศ. 2562. กรุงเทพฯ: กระทรวงศกึ ษาธิการ(อดั สาเนา) องค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมาร.ี (2562). วธิ ีการปฏิบัติ อกท. ว่าด้วย คณะกรรมการ พ.ศ.2562. กรงุ เทพฯ: กระทรวงศกึ ษาธกิ าร(อัดสาเนา) อภิวฒั น์ จันทวรรณ. (2551). เอกสารประกอบการสอนวิชาการพัฒนาความเป็นผู้นาเกษตรกร ในอนาคต รหสั วชิ า 2500-1001. ขอนแก่น: วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีขอนแก่น. อภิวฒั น์ จันทวรรณ. (2552). เอกสารประกอบการสอนวชิ าการพฒั นาความเป็นผ้นู าเกษตรกร ในอนาคต รหัสวชิ า 2500-1001. ขอนแก่น: วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยขี อนแก่น.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook