Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นวัตกรรมการนำหลักสูตรต้านสุจริตศึกษาไปใช้โรงเรียนปทุมานุกูล สพป.นศ.4

นวัตกรรมการนำหลักสูตรต้านสุจริตศึกษาไปใช้โรงเรียนปทุมานุกูล สพป.นศ.4

Published by krunat, 2022-08-27 09:20:28

Description: นวัตกรรมการนำหลักสูตรต้านสุจริตศึกษาไปใช้โรงเรียนปทุมานุกูล สพป.นศ.4

Search

Read the Text Version

นวตั กรรมการนำหลักสูตรตา้ นทุจริตศกึ ษาไปใช้ ชื่อผลงาน นวัตกรรมการนำหลกั สตู รต้านทุจรติ ศึกษาไปใช้ ชอื่ ผนู้ ำเสนอ นายณฏั ฐพ์ ีรพล มีบุญมาก โรงเรยี นปทมุ านกุ ูล สงั กดั สำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 4 โทรศัพท์ 0839154629 e-mall : [email protected] รปู แบบการใชห้ ลักสูตรต้านทุจริตศกึ ษาของโรงเรียน รูปแบบการใช้หลกั สตู รตา้ นทจุ ริตศึกษาของโรงเรยี น (เลอื กได้มากกว่า 1 แนวทาง)  เปิดรายวชิ าเพ่มิ เติม  บูรณาการการเรียนการสอนกบั กลุม่ การเรียนรูส้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม  บูรณาการการเรียนการสอนกบั กลุ่มการเรียนรอู้ ื่น ๆ  จัดในกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน  จัดเปน็ กจิ กรรมเสริมหลกั สตู ร  การบูรณาการกบั วิถีชวี ติ ในโรงเรยี น

ชอ่ื ผลงาน นวัตกรรมการนำหลกั สูตรตา้ นทจุ รติ ศึกษาไปใช้ 1. การบริหารจดั การหลกั สตู ร เหตุผลความจำเปน็ ปัจจุบันปัญหาการทุจริตคอรัปชั่นถือได้ว่าเป็นปัญหาใหญ่ที่เกิดขึ้นในประเทศต่างๆ ทั่วโลกรวมทั้ง ประเทศไทย ซึ่งปัญหานี้ยังไม่มีทีท่าว่าจะหมดไป อีกทั้งยังทวีความรุนแรงและซับซ้อนมากขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง แม้ว่าประเทศไทยจะก้าวเข้าสู่ความทันสมัย มีระบบการบริหารราชการสมัยใหม่มีการรณรงค์จากองค์กรของ รัฐหรือองค์กรอิสระต่างๆที่เห็นพ้องกันว่าการทุจริตคอรัปชั่นเป็นปัญหาที่นำไปสู่ความยากจน และเป็น อปุ สรรคทีข่ ดั ขวางการพฒั นาประเทศอยา่ งแทจ้ รงิ สำหรับประเทศไทยนนั้ เป็นท่ที ราบกนั ทว่ั ไปว่า ปัญหาเรื่อง การทุจริตคอรัปชั่นเป็นปัญหาสำคัญลำดับต้น ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศเป็นอย่างมาก ปัญหา ดังกล่าวเกิดขึน้ มาช้านานจนฝังรากลึก และพบเกือบทุกกลุ่มอาชีพในสังคมไทยเกี่ยวพันกับวิถีชีวิตของคนไทย มาอย่างยาวนาน โรงเรียนปทุมานุกูล ได้เล็งเห็นความสำคัญของสถานศึกษาและผลเสียของการป้องกันการทุจริต คอรัปชั่น จึงได้ขบั เคลื่อนนำเอกลักษณ์ของโรงเรยี น “วิชาการเด่น เนน้ กจิ กรรม คณุ ธรรมเป็นเลิศ” โดยการนำ หลักสูตรต้านทุจริตมาจัดกิจกรรมต่างๆร่วมกับโครงการโรงเรียนทุจริตให้นักเรียนระดับอนุบาลบูรณาการแต่ หนว่ ยการจดั ประสบการณแ์ ละจัดรายวชิ าเพิม่ เติมใหแ้ กน่ ักเรียนระดับช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 1 – 6 ซ่งึ ในการจัด กระบวนการเรียนรู้โรงเรียนสร้างความตระหนัก สร้างความรู้ความเข้าใจ ที่ถูกต้องเกี่ยวกับ การกระทำทุจริต ตลอดจนให้ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับประโยชน์ส่วนรวม มี ความละอายและไม่ทนต่อการทุจริตทุกรูปแบบ มีคุณธรรมอันเป็นผลให้นักเรียนเป็นพลเมืองที่ดี มีความ รับผิดชอบต่อสังคมโดยผ่านกระบวนการเรียนการสอนและกิจกรรมต่างๆภายใต้โครงการสร้างแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ โครงการส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ นักเรียนและโครงการโรงเรียนสุจริต ที่ ส่งเสริมทักษะการคิดมีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต อยู่อย่างพอเพียง และมีจิตสาธรณะ สามารถดำรงชีวิตได้อย่างมี ความสุขมีภูมิคุ้มกันในยุคที่พบเจอปัญหาการทุจริต คอรัปชั่นได้อย่างดีมีความสุขต่อไป หวังเป็นอย่างยิ่งว่า หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา : Anti-Corruption Education จะสร้างความรู้ความเข้าใจและทักษะให้แก่ผู้เรียน ในเรื่องการคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน กับผลประโยชน์ส่วนรวม ความอายและความไม่ทนต่อ การทุจริต STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต และพลเมือง กับความรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อร่วมกันป้องกัน หรอื ต่อตา้ นการทุจรติ มิให้มีการทจุ รติ เกดิ ข้ึนในสงั คมไทย รว่ มสร้างสงั คมไทยท่ีไม่ทนต่อการทจุ ริตต่อไปโดยมี ข้ันตอนการดำเนินงานดังต่อไปนี้ 1.1 ประชุมครูเพื่อสร้างการรับรู้และความตระหนัก ในการนำหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปใช้มีการ วางแผนการนำหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปใช้โดยการประชุมหัวหน้ากลุ่มสาระต่างๆสาระทั้ง 8 สาระรวมถึง หวั หน้าระดับปฐมวัยช้แี จงแนวทางในการดำเนนิ การหลกั สูตรตา้ นทุจรติ เพ่ิมเป็นรายวิชาเพ่มิ เติม 1.2 มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานตามกลุ่มสาระและมอบหมายให้หัวหน้ากลุ่มสาระสังคม เป็นผ้ดู ำเนินการจดั ทำหลักสตู รการปอ้ งกนั การทจุ รติ เปน็ กลุ่มสาระเพ่ิมเติม 1.3 มีประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน เพือ่ ขอความเห็นชอบเกยี่ วกับการนำหลักสูตรต้านทุจริต ศกึ ษาไปใช้ตามบันทึกการประชมุ

1.4 ประชาสัมพันธ์แนวทางการนำหลกั สูตรต้านทจุ ริตศึกษา ไปใช้ให้ผู้ปกครองและผู้มีส่วนเกี่ยวขอ้ ง ทราบ ผ่านช่องทางต่าง ๆ โดยมีการประชุมผู้ปกครองก่อนเปิดเรียนในภาคเรียนที่ 1/2564 แบบออนไลน์ และทางเพจของโรงเรียน 1.5 จดั ทำคำสง่ั มอบหมายใหค้ รนู ำหลักสูตรต้านทจุ ริตศกึ ษา ไปใชใ้ นการจัดการเรียนรูแ้ ต่ละระดับช้ัน เรยี นโดยหวั หน้าฝ่ายวิชาการ 1.6 แต่งตง้ั ผ้นู ิเทศภายในสถานศึกษาทำหน้าท่ี นิเทศการนำ หลักสูตรตา้ นทจุ ริตศึกษาไปใช้ 1.7 จัดทำรายงานผลการขับเคลื่อนหลักสูตร โดยให้ครูมีการประเมินหลักสูตรและประเมินผลการ จดั การเรียนการสอนรวมถงึ การจัดประสบการณ์ 2.แนวทางการนำหลักสตู รไปใช้ 2.1 รหัสวิชาตามกลุ่มสาระการเรียนรทู้ ีเ่ พิม่ เตมิ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ รหัส ส 1๑๒01 รายวิชา การป้องกันการทุจรติ ๑ เวลา ๑ ชวั่ โมง/สัปดาห์ ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 2 รหสั ส 12๒01 รายวิชา การป้องกันการทจุ รติ 2 เวลา ๑ ชว่ั โมง/สัปดาห์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 3 รหสั ส 13๒01 รายวิชา การป้องกนั การทุจริต 3 เวลา ๑ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4 รหัส ส 14๒01 รายวชิ า การป้องกนั การทุจริต 4 เวลา ๑ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 รหัส ส 15๒01 รายวชิ า การปอ้ งกันการทุจริต 5 เวลา ๑ ชว่ั โมง/สปั ดาห์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 รหสั ส 16๒01 รายวิชา การป้องกันการทจุ รติ 6 เวลา ๑ ชว่ั โมง/สัปดาห์

2.2โครงสรา้ งหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนปทมุ านุกลู โครงสร้างเวลาเรียน ระดบั ประถมศกึ ษา กล่มุ สาระการเรียนรู้/รายวชิ า/กจิ กรรม ป.๑ เวลาเรยี น : ชั่วโมง/ปี ป.๖ ระดบั ประถมศึกษา  กลุม่ สาระการเรียนร/ู้ วชิ าพื้นฐาน ๒๐๐ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ๑๖๐ ภาษาไทย ๒๐๐ ๑๖๐ คณติ ศาสตร์ ๘๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๘๐ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๔๐ ประวัตศิ าสตร์ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ สุขศึกษาและพลศึกษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ศลิ ปะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ การงานอาชีพ 120 ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ภาษาตา่ งประเทศ ๘๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๔๐ รวมเวลาเรียน (รายวชิ าพน้ื ฐาน) 120 120 ๘๐ ๘๐ 80 ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๔๐  รายวิชาเพมิ่ เติม ๔๐ ๔๐ ภาษาองั กฤษเพ่ือการสอ่ื สาร 120 80 80 ๔๐ ๔๐ ๘๐ การปอ้ งกันการทจุ รติ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ รวมเวลาเรยี น (รายวชิ าเพม่ิ เตมิ ) ๔๐ 120 120 ๘๐ ๘๐ ๔๐  กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐  กิจกรรมแนะแนว ๓๐ ๓๐  กิจกรรมนักเรยี น ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐  ลกู เสือ/เนตรนารี ๑๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๑๐  ชมุ นุม  กจิ กรรมเพือ่ สงั คม ๑๒๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๒๐ และสาธารณประโยชน์ รวมเวลา (กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน) ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ รวมเวลาทั้งหมด ๑,๐8๐ ชว่ั โมง ๑,๐4๐ ชว่ั โมง หมายเหตุ สำหรับอนุบาลใช้บูรณาการจำนวน 40 ชวั่ โมงตอ่ ปีโรงเรียนปทุมานุกูลจดั ช่วั โมง PLC ไว้สำหรบั ครผู ู้สอน จำนวน 40 ช่วั โมง/สปั ดาหจ์ ำนวนช่วั โมงท่จี ดั ใหน้ กั เรียนระดบั ประถมศึกษา (ป.1 – ป.3) เรยี นทง้ั ปี เท่ากับ 1,080 ชั่วโมงและ(ป.4 – ป.6) เรยี นทัง้ ปี เท่ากับ 1,040 ชวั่ โมง รายวิชาเพ่มิ เติมตามจุดเน้นการ พฒั นาผ้เู รียนทีต่ ้องการเน้นเป็นพเิ ศษ คอื กล่มุ สาระการเรียนรู้ต่างประเทศ เพ่ือพัฒนาการสื่อสาร โดยมกี าร จดั การเรยี นการสอนและวดั ผลประเมนิ ผลเปน็ รายปี และจดั ชว่ั โมง PLC ไวส้ ำหรบั ครผู สู้ อน จำนวน 40 ชว่ั โมง/ปี เพือ่ ใหค้ รู ผูบ้ รหิ ารโรงเรยี น และหน่วยงานการศึกษาทีเ่ กย่ี วข้อง ร่วมปรึกษาหารอื เพ่ือพัฒนาการ เรียนรู้ทางวชิ าชพี โดยมงุ่ ผลสัมฤทธ์ิไปทีผ่ ู้เรียน เพอ่ื ใหผ้ ้เู รยี นสามารถ พฒั นาการเรยี นรูไ้ ดด้ ้วยตนเอง ผา่ นการ

วางแผน การมวี ิสยั ทศั น์รว่ มกัน การแลกเปลย่ี นเรยี นรูซ้ ่ึงกันและกนั จนเกิดเปน็ วฒั นธรรมหรอื ชุมชนของการ แลกเปลยี่ นเรียนรใู้ นโรงเรยี น 2.3 โครงสรา้ งหลักสตู รช้นั ปี เป็นโครงสรา้ งทแี่ สดงรายละเอยี ดเวลาเรยี นของรายวชิ าพ้นื ฐาน รายวิชากิจกรรมเพ่มิ เติม และกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นจำแนกแต่ละชัน้ ปี 2.3.1 ยกตัวอยา่ งระดับประถมศึกษา ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๑ รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรยี น (ชัว่ โมง/ปี) (ชว่ั โมง/สปั ดาห)์ รหสั วชิ า รายวิชาพ้ืนฐาน ๘๔๐ ๒๑ ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐ ๕ ค๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๕ ว๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๘๐ ๒ ส๑๑๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 8๐ 2 ส๑๑๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๔๐ ๑ พ๑๑๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ๔๐ ๑ ศ๑๑๑๐๑ ศลิ ปะ ๔๐ ๑ ง๑๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐ ๑ อ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑2๐ 3 รหัสวิชา รายวชิ าเพ่ิมเติม 120 3 อ๑๑๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร ๑ ๘๐ 2 ส๑๑๒๐๑ การปอ้ งกันการทจุ ริต ๑ ๔๐ 1 รหัสกิจกรรม กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน 120 3 ก๑๑๙๐๑  กจิ กรรมแนะแนว ๔๐ ๑  กิจกรรมนกั เรียน (๘๐) (๒) ก๑๑๙๐๒  ลกู เสอื /เนตรนารี ๔๐ ๑ ก๑๑๙๐๓  ชมุ นุม ๓๐ ๑ ก๑๑๙๐๔  กิจกรรมเพ่ือสงั คม ๑๐ ผนวก และสาธารณประโยชน์ ในกจิ กรรมชุมนุม รวมเวลาเรยี นทั้งหมดตามโครงสร้างหลักสตู ร 1,080 27

2.3.2 ตวั อยา่ งโครงสร้างหลักสตู รรายวิชาเพ่ิมเตมิ ในระดับประถมศึกษาชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๔ โรงเรียนปทมุ านกุ ูล รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรยี น (ชั่วโมง/ปี) (ชวั่ โมง/สปั ดาห)์ รหสั วิชา รายวชิ าพ้ืนฐาน ๘๔๐ ๒๑ ท๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐ ๔ ๑๖๐ ๔ ค๑๔๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑๒๐ ๓ ๘๐ ๒ ว๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๔๐ ๑ ๘๐ ๒ ส๑๔๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๘๐ ๒ ๔๐ ๑ ส๑๔๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๘๐ ๒ ๘๐ ๒ พ๑๔๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๔๐ ๑ ๔๐ ๑ ศ๑๔๑๐๑ ศลิ ปะ ๑๒๐ ๓ ๔๐ ๑ ง๑๔๑๐๑ การงานอาชีพ (๘๐) (๒) ๔๐ ๑ อ๑๔๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๓๐ ๑ ๑๐ ผนวก รหัสวิชา รายวิชาเพ่มิ เติม ในกจิ กรรมชมุ นุม อ๑๔๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่อื สาร ๔ ๑,๐๔๐ ๒๖ ส๑๔๒๐๑ การปอ้ งกนั การทจุ รติ ๔ รหสั กจิ กรรม กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน ก๑๔๙๐๑  กจิ กรรมแนะแนว  กิจกรรมนักเรียน ก๑๔๙๐๒  ลกู เสือ/เนตรนารี ก๑๔๙๐๓  ชมุ นุม ก๑๔๙๐๔  กจิ กรรมเพ่ือสงั คม และสาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรยี นท้งั หมดตามโครงสรา้ งหลักสูตร 2.4 คำอธบิ าย “รายวิชาเพ่ิมเตมิ การป้องกนั การทุจริต” ไปเพม่ิ ในหลกั สูตรสถานศึกษาในกลมุ่ สาระการ เรยี นร้ทู ่เี พ่ิมเติม คำอธบิ ายรายวชิ า ศึกษาเกี่ยวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอายและ ความไม่ทนต่อการทุจริต STRONG / จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต รู้หน้าที่ของพลเมืองและรับผิดชอบต่อ สังคมในการต่อต้านการทุจริต โดยใช้กระบวนการคิด วิเคราะห์ จำแนก แยกแยะ การฝึกปฏิบัติจริงการทำ โครงงานกระบวนการเรียนรู้ ๕ ขั้นตอน (๕ STEPS) การอภิปราย การสืบสอบ การแก้ปัญหา ทักษะการอ่าน และการเขียน เพื่อใหม้ ีความตระหนกั และเหน็ ความสำคัญของการต่อต้านและการปอ้ งกันการทจุ ริต

2.4.1 จุดมุ่งหมายของรายวชิ า 1. เพอื่ ใหน้ กั เรียนตระหนกั และเห็นความสำคัญของการต่อตา้ นและป้องกนั การทุจรติ 2.2เพ่อื ให้นักเรียนมคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ียวกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนกับ ผลประโยชนส์ ่วนรวม 3. เพื่อให้นักเรยี นมีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกบั ความละอายและความไมท่ นต่อการทุจริต 4. เพอื่ ให้นกั เรียนมคี วามรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั STRONG / จติ พอเพียงต่อต้านการทุจริต 5. เพอ่ื ใหน้ ักเรียนมคี วามรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับพลเมอื งและมีความรับผดิ ชอบต่อสงั คม 6. เพื่อใหน้ ักเรยี นสามารถคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกบั ผลประโยชน์ส่วนรวมได้ 7. เพอ่ื ใหน้ ักเรียนปฏบิ ัตติ นเปน็ ผู้ละอายและไม่ทนต่อการทุจรติ ทกุ รูปแบบ 8. เพ่อื ให้นักเรียนปฏบิ ตั ิตนเป็นผทู้ ี่ STRONG / จติ พอเพยี งตอ่ ต้านการทุจรติ 9. เพื่อใหน้ ักเรยี นปฏบิ ัตติ นตามหน้าท่พี ลเมืองและมคี วามรบั ผิดชอบตอ่ สังคม 2.4.2 ผลการเรยี นรู้ ๑. ตระหนักและเห็นความสำคญั ของการต่อตา้ นและป้องกันการทุจรติ 2. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตน กับผลประโยชน์สว่ นรวม 3. มคี วามรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกับความละอายและความไม่ทนตอ่ การทุจริต 4. มีความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับ STRONG / จิตพอเพียงต่อต้านการทจุ ริต 5. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั พลเมืองและมีความรบั ผิดชอบต่อสงั คม 6. สามารถคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตน กับผลประโยชน์ส่วนรวมได้ 7. ปฏิบตั ิตนเป็นผ้ลู ะอายและไมท่ นต่อการทุจรติ ทุกรปู แบบ 8. ปฏิบตั ติ นเป็นผทู้ ี่ STRONG / จิตพอเพยี งต่อตา้ นการทุจรติ . 9. ปฏิบตั ติ นตามหนา้ ทีพ่ ลเมืองและมีความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม รวมท้ังหมด ๙ ผลการเรยี นรู้ ทางฝ่ายวิชาการมกี ารจัดตามเรียนตารางสอนใหก้ ับนักเรยี นและครผู ้สู อนทร่ี ับผิดชอบตามคำส่งั ทีไ่ ด้รบั มอบหมาย

2.5 กำหนดตารางเรียน/ตารางสอนชวั่ โมงการจัดการเรียนการสอน ประกอบด้วย ๔ หน่วยการเรียนรู้ คือ ๑) การคิดแยกแยะผลประโยชนส์ ว่ นตนกบั ผลประโยชน์ สว่ นรวม ๒) ความไม่ทนและความอายตอ่ การทุจริต ๓) STRONG : จติ พอเพยี งต้านทุจรติ ๔) พลเมอื งกบั ความรับผดิ ชอบต่อสงั คม โดยกำหนดชั่วโมงการจัดการเรียนการสอนดังนี้ ระดบั การศกึ ษา ที่ หน่วยการเรียนรู้ ชน้ั ประถมศึกษา ชัน้ ประถมศกึ ษาตอนปลาย 1 การคดิ แยกแยะผลประโยชนส์ ว่ น ปฐมวัย ตอนต้น ตนกผั ลประโยชน์ ส่วนรวม 14 ช่วั โมง 16 ชั่วโมง 14 ชั่วโมง 2 ความไม่ทนและความอายต่อการ ทจุ รติ 12 ช่ัวโมง 10 ชั่วโมง 10 ชว่ั โมง 3 STRONG : จติ พอเพียงต้านทุจรติ 9 ชว่ั โมง 4 ชว่ั โมง 6 ช่ัวโมง 4 พลเมอื งกับ ความรับผดิ ชอบตอ่ 5 ชวั่ โมง 10 ชั่วโมง 10 ชั่วโมง สงั คม รวม 40 40 40 2.6 ครจู ัดการเรยี นการสอนตามแผนการจัดการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ตามแนวคิดและแนวการสอนกิจกรรมการเรยี นรทู้ ีใ่ ชใ้ นการจัดการเรียนการสอน เน้นการใช้ทฤษฎีการเรียนรู้ การสร้างควรรู้ ได้แก่ 1) ทฤษฎคี อนสตรัคตวิ สิ ต์ (Construction Theory) 2) ทฤษฎีคอนสตรัคตวิ สิ ตเ์ ชิงสังคม (Social Constructivism Theory) 3) ทฤษฎีคอนสตรัคตวิ สิ ต์เชงิ ปัญญา (Cognitive Constructivism) 4) ทฤษฎี ประมวลผลขอ้ มลู (Information Processing Theory) 5) ทฤษฎีพหปุ ัญญา (Theory of Multiple Intelligences) 6) ทฤษฎกี ารเรียนรู้แบบร่วมมอื (Cooperative Learning Theory) ในการจัดการเรียนการสอน โดยภาพรวมจะใช้กลยุทธ์การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ คือจัดตาม ความแตกต่างของเด็กแต่ละคนด้วยการสอนใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ การฝึกปฏิบัติจริง กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน (5 STEPs) การอภิปราย การแก้ปัญหาตลอดจนใช้เทคนิคการสอนที่ หลากหลาย เหมาะกับผู้เรียนแต่ละวัยโรงเรียนปทุมานุกูลขับเคลื่อนหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา โดยจัดวิชา เพิม่ เตมิ ในปกี ารศึกษา2564 นน้ั โรงเรยี นปทุมานกุ ูลได้ มีวธิ ีการดำเนินงาน ดังนี้ แนวคิดหลักการสำคัญในการออกแบบการนำหลกั สูตรต้านทจุ ริตไปใช้ในการขับเคลื่อนหลักสูตรต้าน สุจริตโรงเรียนปทุมานุกูล โดยใช้ TAIPE Model ( Using Patumanukul school Project with TAIPE Model ) เขียนเป็นโมเดลในการดำเนินการ ได้ดังภาพ

หลกั สูตรต้านทุจรติ การจดั ขบั เคลอื่ น โรงเรยี น ปฏญิ ญา หลกั สตู รสถานศกึ ษา กิจกรรม กระบวนการ สุจรติ โรงเรียน เรียนรู้ เรียนรู้ด้วย สจุ รติ 3 ขอ้ 5 กจิ กรรม (TAIPE MODLE) คุณลกั ษณะ โรงเรียน สจุ ริต 5 ขอ้ T=Thinking and A=Attention I=Inventive P=Practice E=Evaluate knowledge review คณุ ภาพผู้เรยี น TAIPE Model

การดำเนินการ ในการขับเคลื่อนหลักสูตรต้านทุจริต โรงเรียนได้ดำเนินการตาม TAIPE Model มี 5 ขั้นตอน ดังน้ี 1.ข้นั การทบทวนความรเู้ ดิม T=Thinking and knowledge review ประเมินความรู้ที่จำเป็นสำหรับบทเรียนใหม่เพื่อให้นักเรียนไม่เกิดปัญหาในการเรียนรู้วิธีการปฏิบัติ โดยทั่วไป คือ การทดสอบก่อนบทเรียน ซึ่งเป็นการประเมินความรู้ของนักเรียน เพื่อทบทวนเนื้อหาเดิมที่ได้ ศึกษามาแลว้ และเพื่อเตรยี มความพร้อมในการรบั เน้ือหาใหม่ 2.ขน้ั สร้างความเขา้ ใจ A=attention ในขนั้ นีจ้ ะเปน็ การทำความเข้าใจในบทเรยี นเช่ือมโยงความรู้เดิมและความรใู้ หม่ ครูมีหน้าทสี่ รา้ งส่งิ เรา้ ภายนอกเพื่อช่วยส่งเสริมความเข้าใจแก่นักเรียน เช่น การบอกข้อความสำคัญ คำนิยาม คำอธิบาย เปรียบเทียบความเหมอื นหรือความแตกตา่ งของส่ิงที่เรียน 3.ข้ันการสร้างความคดิ สร้างสรรค์ I=Inventive ขั้นนี้ครูต้องมีการจัดการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กำหนดมาตรฐานตัวชี้วัดด้านความคิดสร้างสรรค์ไว้ในกลุ่มสาระ การเรยี นรตู้ า่ ง ๆ ซ่ึงความคดิ สรา้ งสรรคค์ วรประกอบไปดว้ ย 3 ประการ คอื 1.สิ่งใหม่ 2.ใชก้ ารได้ 3.มีความเหมาะสม 4.ขน้ั ลงมือปฏบิ ัตจิ รงิ P=Practice ในขั้นนี้ครูต้องจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนเกิดทักษะกระบวนการคิด มีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต อยู่ อย่างพอเพียง และมจี ิตสาธารณะ แล้วให้นกั เรยี นลงมือปฏบิ ตั ิหรือทำงานจริงเปน็ รายบคุ คลหรอื รายกลมุ่ 5.ขน้ั การประเมนิ ผล E=Evaluate เป็นการนำผลของการเรียนรู้มาเทียบกับเป้าหมายที่ต้องการเพื่อให้ทราบความแตกต่างของระดับ ความรู้ ทักษะ และพฤตกิ รรมมากน้อยเพยี งใดสามารถวัดไดจ้ ากการแสดงออกของนักเรยี นทัง้ 3 ด้าน คอื ดา้ น พุทธิพิสัย ด้านทักษะพิสัย และด้านจิตพิสัย นำผลการประเมินไปกำหนดแนวทางการแก้ไข ปรับปรุง และ พฒั นาต่อไป รวมทั้งตัดสินผลการเรียน (ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด)ครูนำผลการวัดและประเมินผลลงใน โปรแกรมการวัด และประเมินผลของสถานศึกษาครูมีการจัดทำหลักฐานแสดงผลการเรียนรายวิชาเพิ่มเติม การป้องกันการทุจริต (ป.พ.๕) และลงในแบบระเบียนแสดงผลการเรียน (ป.พ.๑)การประเมินเป็นการเรียนรู้ โดยใช้เครอื่ งมือประเมินการเรียนร้ใู นดา้ น 1) ความร้คู วามเขา้ ใจ 2) การปฏิบัติ 3) คุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ เครอ่ื งมอื ท่ใี ช้ประเมิน 1) แบบสอบ 2) แบบประเมนิ การปฏบิ ัตงิ าน 3)แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ตั ิงาน 2. การประเมินผล นักเรียนผา่ นการประเมินทกุ กจิ กรรม ร้อยละ 80 ขนึ้ ไป จึงจะถอื ว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน

3. การนเิ ทศติดตามผลการนำหลักสูตรตา้ นทุจริตศึกษาไปใช้ มีการจัดทำเครื่องมือนเิ ทศเป็นรายภาคและมีการทำปฏิทนิ การนิเทศ แผนการนเิ ทศดำเนินการนิเทศตาม ปฏิทนิ และหรอื แผนการนิเทศสะทอ้ นผลการนิเทศนำผลการนิเทศไปปรบั ปรงุ และหรือพัฒนา โดยมีปฎิทินการส่งงานดังนี้ กำหนดการสอน ส่งก่อนเปิดเรียนของภาคเรียน ส่วนแผนการจัดการเรียนรู้ หรอื แผนการจัดประสบการณ์ส่งทกุ วนั ศกุ ร์ก่อนสอน 4. ผลการใช้หลักสูตรตา้ นทุจรติ ศึกษา รายวิชาเพ่ิมเตมิ การปอ้ งกันการทจุ รติ ปีการศกึ ษา 2564 โรงเรียนปทุมานกุ ูล ผลการศกึ ษาการวดั และประเมนิ ผลการเรียนร้ตู ามเกณฑ์ท่ีกำหนดในแผนการจดั การเรียนรขู้ องผเู้ รียน ในโรงเรยี นปทมุ านุกูล ดงั ตาราง ร้อยละของนักเรยี นทผ่ี ่านการวัดและประเมินผลการเรียนรูต้ ามเกณฑท์ ี่ กำหนดในแผนการจดั การ ที่ ระดับชน้ั จำนวนนักเรียน จำนวนนักเรยี นทม่ี ีผลผลสัมฤทธิ์การเรียน ระดับ 3 ขึ้นไปร้อยละ 1 ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1 162 89.51 2 ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 2 187 98.22 3 ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 176 88.95 4 ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 187 86.79 5 ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 5 169 92.9 6 ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6 130 86.34 รวม 1,121 90.45 หมายเหตุ ระดับชน้ั อนบุ าล จำนวน 110 คน ผา่ นระดบั ดี 35 คน คดิ เป็นร้อยละ 31.82 ผ่านระดบั ดีเย่ียมจำนวน 75 คน 68.18 จำนวนนักเรยี นทมี่ ผี ลสัมฤทธิก์ ำรเรยี นระดบั 3 ขึน้ ไปร้อยละ 100 98 96 94 92 90 88 86 84 82 80 ป1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6

ผลกำรประเมินระดับอนุบำล ดี ดีเย่ยี ม 32% 68% ผลการจัดการเรียนรู้หลักสูตรต้านทจุ ริตศึกษา ในทกุ ระดับชัน้ นกั เรียนผา่ นเกณฑ์การประเมินผลการ เรียนในระดับ 3 ขึ้นไป มากกว่าร้อยละ 80 และผ่านการประเมินคุณลักษณะอันพึงปะสงค์ระดับดีถึงดีเยี่ยม ขน้ึ ไปมากกวา่ ร้อยละ 80 ผเู้ รยี นมคี ุณธรรมในการป้องกนั การทจุ รติ ผา่ นการประเมนิ ผลตามเกณฑ์ท่ีกำหนดตง้ั แต่รับดับอนุบาล ถึงช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ดา้ น จำนวนนักเรยี นทผี่ า่ นระดับดี-ดเี ยี่ยมร้อยละ ทกั ษะกระบวนการคิด 95.73 อยอู่ ย่างพอเพยี ง 97.25 มีวินยั 98.67 ซอ่ื สัตยส์ ุจริต 99.00 มจี ิตสาธารณะ 91.74 จานวนนักเรยี นท่ีผา่ นระดบั ดี-ดเี ย่ียมรอ้ ยละ 98.67 99 95.73 97.25 91.74 ผลจากการปฏิบัตงิ านโดยใช้หลักสูตรต้านทจุ ริต TAIPE Model เพ่อื ปลูกฝังคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ความ ดงี าม ปอ้ งกันการทจุ ริตทกุ รูปแบบ อย่างต่อเนือ่ งตามข้นั ตอนการดำเนนิ งานแลว้ นักเรียนโรงเรียนปทุมานุกูลมี คุณลกั ษณะ 5 ประการของโรงเรียนสุจริตในระดับดีเยีย่ ม

5. การประเมนิ ผลการใชห้ ลักสูตรตา้ นทุจรติ ศกึ ษาของ สถานศึกษา ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ตอนที่ ๑ ขอ้ มลู เกี่ยวกับสถานภาพของผตู้ อบแบบสอบถาม วิเคราะหโ์ ดยการแจกแจง ความถี่ (frequency) และค่าร้อยละ (percentage) ตารางที่ ๑ สถานะภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม สถานะภาพ กลุ่มตวั อยา่ ง รอ้ ยละ จำนวน ครูผสู้ อน 45 100 จากตารางท่ี ๑ พบวา่ สถานะภาพของผ้ตู อบแบบสอบถาม พบว่า ครู คิดเปน็ ร้อยละ 100 ตอนท่ี ๒ ผลการวิเคราะห์ความคดิ เหน็ ของผเู้ กย่ี วขอ้ งเกยี่ วกบั องคป์ ระกอบของหลักสูตร ตารางท่ี 2 องคป์ ระกอบของหลกั สตู ร การประเมิน N=45 ระดับ ������̅ มากทส่ี ุด ๑.๑ ความนำแสดงความเชื่อมโยงระหว่างหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น 3.73 มากทส่ี ดุ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กรอบหลักสตู รระดับท้องถ่นิ จุดเน้น และความ มากทีส่ ุด มากท่สี ดุ ตอ้ งการของโรงเรียน ๑.๒ วสิ ยั ทศั น์ แสดงภาพอนาคตที่พึงประสงค์ของผเู้ รียนท่ีสอดคลอ้ งกบั วสิ ัยทัศน์ 3.82 ของหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ อยา่ งชดั เจน สอดคลอ้ งกบั กรอบหลกั สตู รระดับท้องถ่ิน ครอบคลมุ สภาพความต้องการของ โรงเรียน ชมุ ชน ท้องถนิ่ มีความชดั เจนสามารถปฏิบตั ิได้ ๑.๓ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนมคี วามสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง 3.82 การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ๑.๔ คุณลักษณะอนั พึงประสงคม์ ีความสอดคล้องกบั หลกั สูตรแกนกลางการศึกษา 3.97 ขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สอดคล้องกบั เปา้ หมาย จุดเนน้ กรอบหลกั สูตร ระดบั ท้องถ่นิ สอดคล้องกบั วสิ ัยทัศน์ ของโรงเรียน จากตารางที่ 2 องค์ประกอบของหลักสูตรการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนปทุมากูลสังกัด สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 โดยรวมอยู่ใน ระดับมากที่สุด เม่ือ พิจารณารายข้อแล้วเรียงอันดับ จากมากไปน้อย 3 อันดับแรก ได้แก่ คุณลักษณะอันพึงประสงค์มีความ สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ รองลงมา วิสัยทัศน์ แสดงภาพ อนาคตที่พึงประสงค์ของผู้เรียนที่สอดคล้องกับกับวิสัยทัศน์ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

ตอนที่ ๒ ผลการวิเคราะห์ความคิดเหน็ ของผูเ้ กีย่ วข้องเก่ยี วกบั โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ตารางท่ี 3 โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา การประเมนิ N=45 ระดบั ������̅ ๒.๑ โครงสรา้ งเวลาเรยี นมกี ารระบุเวลาเรยี นตลอดหลักสตู ร จำนวน ๘ กล่มุ 3.91 มากทส่ี ดุ สาระการเรยี นรู้ ท่เี ป็นเวลาเรยี นพ้ืนฐาน และเพิม่ เติมจำแนกแตล่ ะชั้นปี อย่างชัดเจน ระบเุ วลาการจัดกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี นจำแนกแต่ละชั้นปอี ย่าง ชดั เจน เวลาเรยี นรวมของหลกั สูตรสถานศึกษาสอดคล้องกับโครงสรา้ งเวลา เรียนตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ๒.๒ โครงสรา้ งหลกั สูตร มีการระบรุ ายวิชาพืน้ ฐาน รายวิชาเพิม่ เตมิ ระบุ 3.95 มากท่สี ุด รหสั วิชา ชือ่ รายวิชา พรอ้ มทัง้ ระบเุ วลาเรียน และ/หรือหน่วยกติ มีการระบุ กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน พร้อมทั้งระบเุ วลาเรยี นไว้อยา่ งถูกต้อง ชดั เจน รายวิชาเพิ่มเตมิ / กิจกรรมเพิ่มเตมิ ที่กำหนดสอดคล้องกบั วิสัยทศั น์ จดุ เนน้ ของโรงเรียน จากตารางที่ 3 โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาองค์ประกอบของหลักสูตรการประเมินหลักสูตร สถานศึกษาโรงเรียนปทุมากูลสังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 โดยรวมอยู่ใน ระดบั มากท่สี ดุ ตอนที่ ๒ ผลการวเิ คราะหค์ วามคดิ เห็นของผูเ้ กีย่ วข้องเกยี่ วกับ คำอธิบายรายวชิ า ตารางที่ 4 คำอธิบายรายวิชา การประเมิน N=45 ระดับ ������̅ 1) มีการระบุรหัสวิชา ชื่อรายวิชา และชื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้ ช้ันปีท่ี 3.93 มากทส่ี ดุ สอน จำนวนเวลาเรียน และ/หรือหน่วยกิต ไว้อย่างถูกต้องชัดเจน 2) การเขียนคำอธิบายรายวิชาได้เขียนเป็นความเรียงโดยระบุ องค์ 3.80 มากทส่ี ดุ ความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะ หรือเจตคติ ที่ต้องการและ ครอบคลุมตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 3) ระบุรหัสตัวช้ีวัด ในรายวิชาพื้นฐานและจำนวนรวมของตัวชี้วัดและ 3.97 มากท่ีสดุ ระบุผลการเรียนรู้ ในรายวิชาเพิ่มเติมและจำนวนรวมของผลการเรียนรู้ ถูกต้อง 4) มีการกำหนดสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น สอดแทรกอยู่ในคำอธิบาย 3.80 มากที่สุด รายวิชาพื้นฐานหรือรายวิชาเพิ่มเติม จากตารางที่ 4 คำอธิบายรายวิชาสถานศึกษาองค์ประกอบของหลักสูตรการประเมินหลักสูตร สถานศึกษาโรงเรียนปทุมากูลสังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 โดยรวมอยู่ใน ระดับมากที่สุดพิจารณารายข้อแล้วเรียงอันดับ จากมากไปน้อย 3 อันดับแรก ได้แก่ระบุรหัส ตัวชี้วัด ในรายวิชาพื้นฐานและจำนวนรวมของตัวช้ีวัดและระบุผลการเรียนรู้ รองระบุรหัสตัวชี้วัด ในรายวิชา พ้ืนฐานและจำนวนรวมของตัวช้ีวัดและระบุผลการเรียนรู้และการเขียนคำอธิบายรายวิชาได้เขียน

ตอนที่ ๒ ผลการวิเคราะหค์ วามคดิ เห็นของผ้เู กยี่ วขอ้ งเกีย่ วกับ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตารางท่ี 5 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การประเมนิ N=45 ระดับ ������̅ มากที่สุด 1) ในโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาและโครงสร้างหลักสูตรช้ันปี ได้ 3.84 มากทีส่ ดุ ระบุกิจกรรม และจัดเวลาสอน ตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพื้นฐานและสอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน 2) ในส่วนที่ 4 ของหลักสูตรสถานศึกษามีการจัดทำโครงสร้างและแนว 3.80 การจัดกิจกรรม แนวทางการวัดและประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนทั้ง 3 กิจกรรมที่ชัดเจน จากตารางท่ี 5 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนสถานศึกษาองคป์ ระกอบของหลักสตู รการประเมินหลักสตู ร สถานศึกษาโรงเรียนปทมุ ากลู สังกัดสำนักงานเขต พ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 โดยรวมอยใู่ น ระดบั มากทีส่ ดุ ตอนท่ี ๒ ผลการวเิ คราะห์ความคิดเหน็ ของผเู้ กย่ี วข้องเกีย่ วกบั เกณฑ์การจบการศึกษา ตารางท่ี 6 เกณฑ์การจบการศึกษา การประเมิน N=45 ระดับ ������̅ 1) ระบุเวลาเรียน/หน่วยกิต ท้ังรายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพ่ิมเติม ตามเกณฑ์การจบการศึกษาของโรงเรียน ชัดเจน 3.93 มากที่สุด 2) ระบุเกณฑ์การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนไว้อย่าง ชัดเจน 3.89 มากที่สดุ 3) ระบุเกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้อย่างชัดเจน 4) ระบุเกณฑ์การผ่านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนไว้อย่างชัดเจน 3.91 มากที่สุด 3.89 มากทส่ี ุด จากตารางที่ 6 เกณฑ์การจบการศึกษาสถานศึกษาองค์ประกอบของหลักสูตรการประเมินหลักสูตร สถานศึกษาโรงเรียนปทุมากูลสังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 โดยรวมอยใู่ น ระดับมากท่สี ุดพิจารณารายข้อแลว้ เรยี งอันดบั จากมากไปน้อย 3 อนั ดบั แรก ได้แก่ ระบุเกณฑ์ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้อย่างชัดเจน รองลงมาระบุเวลาเรียน/หน่วยกิต ท้ังรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชาเพิ่มเติมตามเกณฑ์การจบการศึกษาของโรงเรียน ชัดเจนและระบุเกณฑ์การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนไว้อย่างชัดเจนรวมถึงระบุเกณฑ์การผ่านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนไว้อย่างชัดเจน

ตอนท่ี 3 ผลการวิเคราะหค์ วามคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้องเกีย่ วกบั การนำหลกั สูตรสถานสถานศึกษาสู่การจดั การ เรยี นรู้ (หลกั สตู รระดบั ชัน้ เรยี น) โครงสร้างรายวิชา ตารางท่ี 7 โครงสร้างรายวิชา การประเมนิ N=45 ระดบั ������̅ 1.1 การจัดกลุ่มมาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้วี ัด 3.89 มากทส่ี ุด 1.2 การจัดทำสาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด 3.87 มากทส่ี ดุ 1.3 การตั้งช่ือหน่วยการเรียนรู้ของแต่ละหน่วยการเรียนรู้ 3.80 มากทส่ี ดุ 1.4 การกำหนดสัดส่วนเวลาเรียน 3.89 มากท่ีสดุ 1.5 การกำหนดสัดส่วนน้ำหนักคะแนน 3.93 มากทส่ี ุด จากตารางที่ 7 โครงสร้างรายวิชาสถานศึกษาองค์ประกอบของหลักสูตรการประเมินหลักสูตร สถานศึกษาโรงเรียนปทุมากูลสังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 โดยรวมอยู่ใน ระดบั มากท่สี ุดพิจารณารายข้อแล้วเรียงอนั ดบั จากมากไปน้อย 3 อันดับแรก ได้แก่การกำหนด สัดส่วนน้ำหนักคะแนน รองลงการจัดกลุ่มมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวัดและการกำหนดสัดส่วนเวลาเรียน ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นของผู้เก่ียวข้องเกี่ยวกับ การนำหลักสูตรสถานสถานศึกษาสู่การจดั การ เรยี นรู้ (หลักสตู รระดบั ชัน้ เรียน) หน่วยการเรียนรู้ ตารางท่ี 8 หน่วยการเรียนรู้ การประเมนิ N=45 ระดบั ������̅ 2.1 การวางแผนจัดทำหน่วยการเรียนรู้ 3.87 มากที่สุด 2.2 การจัดทำหน่วยการเรียนรู้ : การกำหนดเป้าหมาย 3.87 มากทส่ี ดุ 2.3 การจัดทำหน่วยการเรียนรู้ : การกำหนดหลักฐานการเรียนรู้ 3.84 มากที่สดุ 2.4 การจัดทำหน่วยการเรียนรู้ : ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ 3.84 มากที่สุด จากตารางที่ 8 โครงสร้างรายวิชาสถานศึกษาองค์ประกอบของหลักสูตรการประเมินหลักสูตร สถานศึกษาโรงเรียนปทุมากูลสังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 โดยรวมอยู่ใน ระดับมากที่สุดพิจารณารายข้อแล้วเรียงอันดับ จากมากไปน้อย 3 อันดับแรก ได้แก่ การ วางแผนจัดทำหน่วยการเรียนรู้ และการจัดทำหน่วยการเรียนรู้ : การกำหนดเป้าหมายสุดท้ายการจัดทำ หน่วยการเรียนรู้ : การกำหนดหลักฐานการเรียนรู้การจัดทำหน่วยการเรียนรู้ : ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้

ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้องเกี่ยวกับ การนำหลกั สูตรสถานสถานศึกษาสู่การจดั การ เรียนรู้ (หลักสตู รระดบั ช้ันเรยี น)แผนการจัดการเรียนรู้ ตารางที่ 9 แผนการจัดการเรยี นรู้ การประเมิน N=45 ระดับ ������̅ 3.1 เขยี นแผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ครบตามองค์ประกอบท่สี ำคัญ 3.78 มากที่สดุ 3.2 การประเมินแผนการจดั การเรียนรู้ 3.67 มากท่สี ดุ 3.3 การนำแผนไปสูก่ ารปฏิบัติ 3.73 มากทสี่ ดุ จากตารางที่ 9 แผนการจัดการเรียนรู้สถานศึกษาองค์ประกอบของหลักสูตรการประเมินหลักสูตร สถานศึกษาโรงเรียนปทุมากูลสังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 โดยรวมอยใู่ น ระดับมากท่สี ุด ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้องเกี่ยวกับ การนำหลักสตู รสถานสถานศึกษาสู่การจัดการ เรียนรู้ (หลักสตู รระดับช้ันเรยี น) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ระดับชั้นเรียน ตารางท่ี 10 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ระดับช้ันเรียน การประเมิน N=45 ระดบั ������̅ 4.1 การวางแผนการประเมินรายวิชาและตรวจสอบการใช้ตัวช้วี ัด 3.93 มากที่สดุ 4.2 การออกแบบการวัดและประเมินผลในหน่วยการเรียนรู้ 3.87 มากท่ีสุด 4.3 มีการออกแบบการวัดและประเมินผลปลายป/ี ปลายภาค 3.91 มากทส่ี ุด จากตารางที่ 10 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ระดับชั้นเรียนสถานศึกษาองค์ประกอบของ หลักสูตรการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนปทุมากูลสังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 4 โดยรวมอยูใ่ น ระดับมากทส่ี ดุ ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้องเกี่ยวกับ การนำหลกั สูตรสถานสถานศึกษาสู่การจดั การ เรยี นรู้ หลกั สตู รระดับชั้นเรยี นพัฒนาหลักสูตรการศึกษาอย่างยั่งยืน ตารางที่ 11 หลกั สูตรระดับช้ันเรยี นพัฒนาหลักสูตรการศึกษาอย่างยั่งยืน การประเมิน N=45 ระดบั ������̅ 5.1 มีการนิเทศการใช้หลักสูตรสถานศึกษาอย่างต่อเน่ือง 3.71 มากทส่ี ดุ 5.2 มีการประเมินการใช้หลักสูตรสถานศึกษาอย่างต่อเน่ือง 3.42 มากทีส่ ุด 5.3นำผลการประเมินการใช้หลักสูตรสถานศึกษามาวางแผนในการ 3.73 มากทสี่ ุด พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา จากตารางที่ 11 หลักสูตรระดับชั้นเรียนพัฒนาหลักสูตรการศึกษาอย่างยั่งยืนสถานศึกษา องค์ประกอบของหลักสูตรการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนปทุมากูลสังกัดสำนักงานเขต พื้นท่ี การศกึ ษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 4 โดยรวมอยูใ่ น ระดับมากทสี่ ดุ

6. ปัจจัยความสำเรจ็ ผลการดำเนินงานที่ประสบผลสำเร็จ มาจากบุคคล / หน่วยงาน / องค์กรต่าง ๆ ที่ส่งเสริมสนับสนุน สง่ ผลให้รูปแบบการปฏิบตั ดิ งั กลา่ ว ประสบผลสำเรจ็ ตามจดุ ประสงค์ การดำเนินงานทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ สง่ ผลต่อ คณุ ภาพของผลงาน สรุปไดด้ ังนี้ 1. วิสยั ทศั น์ของคณะกรรมการสถานศึกษาผ้ปู กครอง ผบู้ รหิ าร ครู และบุคลากร เลง็ เห็นความสำคัญ ของหลักสูตรต้านทจุ ริต TAIPE Model สนับสนุนและให้ความรว่ มมือในการดำเนนิ กจิ กรรม 2. ความร่วมมอื ของนักเรียนโรงเรยี นปทมุ านุกูลที่มคี วามตัง้ ใจ ใสใจ ให้ความสำคญั และต้ังใจเรียนรู้ 3. กระบวนการการทำงานทเ่ี ปน็ ระบบ ความมุ่งมั่นในการพฒั นาการจัดการเรยี นการสอนของครู และ บุคลากรทางการศกึ ษาโรงเรยี นปทมุ านุกลู 6.1 ปัจจยั ภายในดา้ นตัวบคุ คล - บุคลากรในโรงเรยี นเรม่ิ ตง้ั แตต่ ัวผู้บริหารมอบหมายนโยบายและวธิ ีการปฏิบัติทช่ี ดั เจน - ครูผู้ปฏิบตั ิศึกษาหาความรู้และพฒั นางานอยา่ งต่อเน่ือง และด้วยความม่งุ มนั่ - การจัดการความรู้ของบุคลากรทุกคนในลักษณะการถอดบทเรียนจากการปฏิบัติงาน สามารถสร้างบุคลากรในการปฏิบัติกิจกรรมจากรุ่นสู่รุ่นได้ แม้จะเกิดการเคลื่อนย้ายตัวบุคคลก็ตาม ดา้ นวธิ กี ารบริหารจัดการ - การดำเนินงานอย่างมีขั้นตอน มีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง และมีการนิเทศติดตาม อย่างต่อเนื่องรายงานและการปรับปรุงแก้ไขปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นเป็นระยะ ทำให้เกิดเป็น ระบบการดำเนนิ การท่ีชัดเจน สง่ ผลใหก้ ารดำเนนิ การมคี วามสำเร็จ บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ - การประชาสัมพันธ์กจิ กรรมตา่ งๆโดยโรงเรียน บคุ ลากรในโรงเรยี น นักเรียน ผปู้ กครองและ ชุมชน รวมท้ังบคุ คลทมี่ าเย่ยี มโรงเรียน ทัง้ ทางสือ่ ออนไลนแ์ ละการพูดต่อๆกนั - นักเรียน มีคุณลักษณะ 5 ประการของโรงเรียนปทุมานุกูล มีทักษะกระบวนการคิดมีวินัย ชื่อสัตย์สุจริต อยู่อย่างพอเพียง และมีจิตสาธารณะ และสามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุข มี ความสามารถในการคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม มีความ ละอายและไม่ทนต่อการทุจริตทุกรูปแบบ รู้จักความพอดี และเป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบต่อ สังคม 6.2 ปจั จัยภายนอก - การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา เครือข่ายครูเก่าที่เคยปฏิบัติหน้าที่ ที่โรงเรียนปทุมานุกูล เครือข่ายผู้ปกครอง เครือข่ายศิษย์เก่า และชุมชน ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการ ดำเนินงานของโรงเรียนปทุมานกุ ูล 7. ประโยชนท์ ่ไี ด้รับจากการนำหลกั สตู รตา้ นทุจรติ ไปใช้ จากผลการดำเนินงานการใช้หลักสูตรต้านทุจริต TAIPE Model เชื่อมโยงรูปแบบการดำเนินงานผ่าน กิจกรรมตา่ งๆ เพือ่ ปลกู ฝังคุณธรรม จริยธรรมความดปี อ้ งกนั การทุจริตด้วยหลักสูตรต้านทุจริต TAIPE Model จากต้นทุนที่ดีของนักเรียนที่มีอยู่ในตนเอง โดยสร้างการเรียนรู้ให้กับนักเรียนจาก การลงมือปฏิบัติจริงผ่าน กจิ กรรมทง้ั 5 กจิ กรรม เพื่อใหน้ ักเรยี นเกิดแนวคิด และแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง มคี ณุ ธรรมจริยธรรม มีวินัย มี ความซื่อสัตย์สุจริต มีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง มีจิตอาสา มีความสามารถในการคิดแยกแยะระหว่าง ผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม มีความละอายและไม่ทนต่อการทุจริตทุกรูปแบบ รู้จักความ พอดีและเป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบต่อสังคมหลักสูตรต้านทุจริตTAIPE Modelนักเรียนสามารถ

บูรณาการนำไปใช้ได้ นำไปสู่คุณลักษณะ 5 ประการของโครงการโรงเรียนสุจริต คือ ทักษะการคิด มีวินัย ช่ือสัตย์สุจริต อยู่อยา่ งพอเพียง และมจี ิตสาธารณะและสามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุข และสอดคล้องกับ หน่วยการเรียนรู้ตามที่หลักสูตรต้านทุจริตต้องการคือ มีความสามารถในการคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมมีความละอายและไม่ทนต่อการทุจริตทุกรูปแบบ รู้จักความพอดี และเป็น พลเมอื งทีม่ คี วามรับผิดชอบต่อสงั คมหลักสูตรตา้ นทจุ ริต TAIPE Model เนน้ ให้นกั เรียนตระหนักรู้ เขา้ ใจ และ คิดอย่างมีเหตุผล ซึมซับคุณค่าความดี สร้างความรู้สึกรับผิดชอบชั่วดี ภูมิใจในการทำความดี เป็นคนเก่งที่ไม่ โกง โดยเร่มิ จากการฝึกให้นักเรียนเคารพกฎกติกาพนื้ ฐานง่ายๆ เช่น การตอ่ ควิ การไม่พดู ปด การไม่ขีดเขียน ฝาผนงั ต้องอาศยั กระบวนการทำงานเป็นทีม การมีส่วนรว่ มจากทกุ ฝา่ ยการพัฒนานักเรยี นให้มคี ุณลักษณะอัน พึงประสงค์ 5 ประการตามหลักการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม ธรรมาภิบาลในสถานศึกษา คือมีทักษะ กระบวนการคิดที่ดี มีระเบียบวินัย มีความซื่อสัตย์ ใช้ชีวิตอย่างพอเพียง และเป็นผู้มีจิตสาธารณะ สามารถ ดำเนนิ การได้หลายรปู แบบทั้งผา่ นการจัดการเรยี นรู้ การทำกิจกรรม หลักสตู รตา้ นทุจรติ ใหผ้ ้เู รยี นไดเ้ รยี นรู้โดย การลงมือปฏิบัติจริงในการทำกิจกรรมต่างๆสามารถสร้างปฏิญญาโรงเรียนสุจริตและคุณลักษณะโรงเรียน สุจริตได้ง่ายกว่าและมากกว่าการเรียนรู้ที่สอนแต่เนื้อหาต้านทุจริตเพราะการลงมือทำสามารถวัดและ ประเมินผลไต้จริงโดยวัดจากพฤติกรรมที่ทำอยู่ทุกวันซึ่งไม่ได้เกิดจากการเสแสร้ง นักเรียนมีความสามารถใน การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม มีความละอายและไม่ทนต่อการทุจริต ทกุ รปู แบบ รู้จักความพอดี และเปน็ พลเมอื งที่มีความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม 7.1 จดุ เดน่ ของสถานศกึ ษาจากการใช้หลักสตู รตา้ นทุจริตศกึ ษา รายวิชาเพิ่ม การป้องกันการ 1. โรงเรยี นปทมุ านกุ ูลใช้หลักสูตรตา้ นทุจริตศึกษา โดยกำหนดเป็นรายวชิ าเพ่ิมเตมิ การป้องกนั การ ทุจริต ใชเ้ วลา 40 ชว่ั โมง/ต่อปี ในทกุ ระดับชั้น 2. สถานศึกษาทุกโรงจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนรายวชิ าเพ่มิ เติม \"การป้องกันการทจุ ริต\"โดยใช้ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ีสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจรติ แห่งชาติกำหนดข้ึน 3. ครูผสู้ อนทกุ คนมีการวดั และประเมินนกั เรียนตามแผนการจัดการเรียนรู้ทก่ี ำหนด 4. ในกรณที ม่ี นี กั เรียนไมผ่ ่านเกณฑ์การประเมนิ ครูผู้สอนมีการซอ่ มเสรมิ จนผา่ นทุกคน 5. ผบู้ รหิ าร/ผูไ้ ดร้ ับมอบหมายมกี ารกำกับ ติดตามและนเิ ทศตามระยะเวลาที่กำหนด 6. สถานศกึ ษามีการรายงานผลการประเมินนักเรียนตามแผนการจดั การเรยี นรูใ้ นระดบั หอ้ งเรียนช้นั เรียนและระดบั สถานศึกษาตามระยะเวลาท่กี ำหนดทุจริต 7.2 จดุ เดน่ ดา้ นผลงานท่ไี ดร้ บั 1. โรงเรยี นได้รับรางวัลยวุ ทูตความดี 2. โรงเรยี นคณุ ธรรมตน้ แบบ 3. นกั เรยี นไดร้ ับรางวลั รองชนะเลิศอนั ดบั 2 การแขง่ ขนั ยอดอจั ฉริยะสงั คมศึกษา ชัน้ ป.6 8. ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานการใช้หลกั สตู รตา้ นทุจริตศกึ ษา รายวชิ าเพิ่มเตมิ “การป้องกนั การทุจรติ ” ดา้ นเน้อื หา 1. เน้อื หาบางเรือ่ งยากเกินกว่าระดบั ชั้นของนกั เรยี น 2. ควรเรยี งลำดบั ของเน้ือหาจากงา่ ยไปหายาก 3. เน้ือหาบางเรื่องยากในการทำความเข้าใจท้งั ของครูผู้สอนและนักเรียน 4. การจดั กจิ กรรมการเรียนรูใ้ นบางเนอื้ หาครูผ้สู อนมีการปรบั เปลยี่ นเพือ่ ใหส้ อดคล้องกับบริบท ใกล้ตัวนักเรยี น เนอื่ งจากขน้ั นตอน/กระบวนการจัดการเรยี นรยู้ งุ่ ยาก ซับซ้อนเกินไป

สื่อการเรยี นรู้ 1. สอื่ ทใี่ ชบ้ างอยา่ งไกลตวั นักเรียนมากเกนิ ไป นักเรยี นเข้าใจไดย้ าก ครผู ้สู อนจึงตอ้ งมกี ารปรบั เปลี่ยน สอื่ ให้สอดคล้องกบั บรบิ ทของนักเรยี นมากขนึ้ 2. สอื่ ทต่ี ้องเปดิ ด้วยโปรแกรม You tube บางชิน้ ไม่สามารถเปดิ ได้ 3. ใบความร้บู างอย่างขาดความชดั เจน ครผู สู้ อนตอ้ งค้นคว้าเพิ่มเติมจากอินเตอรเ์ นต็ 4. เอกสาร ใบงานต่าง ๆ ของนกั เรยี นต้องพิมพ์ออกมา ซึ่งทำใหส้ ้ินเปลืองเปน็ อย่างมาก 5. สอ่ื ที่ใชค้ วรมคี วามหลากหลายมากกว่าน้ี ให้นอกเหนือจากรปู แบบออนไลนบ์ า้ ง นกั เรียนเกดิ ความ เบ่ือหนา่ ย และไม่สามารถเข้าถงึ ได้ทุกชน้ั เรียน ขอ้ เสนอแนะ 1. ควรบรู ณาการกบั วิถีชีวิตในโรงเรยี น 2. เนน้ การปฏิบตั จิ ริง

ภาคผนวก (ร่องรอย หลกั ฐาน ภาพถา่ ย ชิ้นงาน)

ภาคผนวก ก ๑.การบรหิ ารจัดการหลกั สูตรต้านทจุ ริต เอกสาร/หลกั ฐานอา้ งอิง บนั ทกึ การประชุม คำสัง่ แต่งต้ังคณะกรรมการดำเนินงาน บนั ทึกการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา

ประชาสัมพันธผ์ ่าน website สถานศกึ ษา คำส่งั มอบหมายงาน คำสง่ั แตง่ ต้ังผ้นู ิเทศภายในสถานศกึ ษา รายงานผลการนำหลกั สูตรต้านทุจรติ ศกึ ษาไปใช้

ภาคผนวก ข ๒. แนวทางการนำหลกั สูตรต้านทุจรติ ศกึ ษาไปใช้ เอกสาร/หลักฐานอา้ งอิง หลักสตู รสถานศกึ ษา แผนการจัดการเรยี นรู้ เครอ่ื งมอื วดั ผลประเมินผล ตารางเรยี น/ตารางสอน

บันทึกหลังสอนของแต่ละชัน้ บนั ทกึ ผลการเรยี น ประจำรายวชิ าหรือผลการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น ปพ.5 ระเบยี นแสดงผลการเรียน ปพ.1

ภาคผนวก ค ๓.การนเิ ทศติดตามผลการนำหลกั สูตรตา้ นทจุ ริตศกึ ษาไปใช้ เอกสาร/หลกั ฐานอา้ งอิง เครื่องมอื นิเทศภายในโรงเรียน ปฎิทินการนเิ ทศภายใน ภาพถา่ ยการนเิ ทศ / ภาพถ่ายการสะท้อนผล บนั ทกึ การนเิ ทศ

ภาคผนวก ง ๔.ผลทเ่ี กิดจากการนำหลักสูตรต้านทจุ ริตศึกษาไปใช้ เอกสาร/หลกั ฐานอา้ งอิง เครื่องมือประเมิน คณุ ลกั ษณะ ๕ ประการของโครงการโรงเรียนสุจริต สรปุ ผลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะ ๕ ประการของโครงการโรงเรียนสจุ ริต

ภาคผนวก จ ๕.การประเมินผลการใช้หลกั สตู รต้านทุจริตศึกษาของสถานศึกษา เอกสาร/หลกั ฐานอา้ งอิง แบบประเมินการใช้ หลกั สูตรต้านทจุ ริตศกึ ษา รายงานผลการประเมิน การใช้หลักสตู รต้านทจุ ริตศึกษา