Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชารักษ์ท้องถิ่น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

วิชารักษ์ท้องถิ่น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

Published by nichakon7545, 2020-04-30 11:57:39

Description: รักษ์ท้องถิ่น ม.ปลาย

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการเรยี นวชิ า รกั ษ์ทอ้ งถิน่ (พว32018) สาระความรู้พนื้ ฐาน ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 จดั ทาโดย นายชษิ ณพุ งศ์ เข็มนาค ครู กศน.ตาบลสวนพรกิ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอพระนครศรอี ยธุ ยา สานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา

คาอธบิ ายรายวิชา พว32018 รักษ์ท้องถ่นิ จานวน 2 หน่วยกติ ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรู้ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะ และเห็นคุณค่าเก่ยี วกับกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สงิ่ มชี วี ติ ระบบนเิ วศ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม ในทอ้ งถ่นิ ประเทศและโลก สาร แรง พลงั งาน กระบวนการ เปลยี่ นแปลงของโลก และดาราศาสตร์ มจี ติ วิทยาศาสตรแ์ ละนาความรไู้ ปใชป้ ระโยชนใ์ นการดาเนินชีวิต ศกึ ษาและฝึกทกั ษะเกีย่ วกบั เรือ่ งต่อไปนี้ รกั ษ์ทอ้ งถ่ิน ความหมาย ระบบนิเวศ กลมุ่ สิง่ มีชีวติ ประชากร ทีอ่ ย่อู าศยั องค์ประกอบของระบบนิเวศ ความสมั พันธ์และการปรบั ตัวของสิ่งมีชีวติ การถ่ายทอดพลงั งานในระบบนเิ วศ ระบบ นเิ วศปา่ ไม้ ระบบนเิ วศน้า จดื ระบบนิเวศในนาข้าว ระบบนิเวศนา้ เคม็ การวางแผนเขยี นโครงการและวธิ กี ารสารวจระบบนิเวศในทอ้ งถิน่ แนวทางการอนรุ กั ษ์และเฝ้าระวังระบบนเิ วศในท้องถิ่น การจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ ใหผ้ ้เู รียน ศึกษา คน้ คว้า ทดลอง อธบิ าย อภิปรายและนาเสนอด้วยการจัดกระบวนการเรยี นรู้โดยการพบ กลุ่ม การเรียนรแู้ บบทางไกล แบบชัน้ เรยี น ตามอธั ยาศัย การสอนเสรมิ การเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง การทารายงาน การศกึ ษาจากแหลง่ เรยี นรู้ ประสบการณ์โดยตรง ใช้สถานการณ์จริง ปรากฏการณ์ธรรมชาติ ประสบการณก์ าร เรยี น และการเรียนรดู้ ้วยโครงงาน การวัดและประเมนิ ผล การสงั เกต การอภปิ ราย การสัมภาษณ์ ทักษะปฏิบตั ิ รายงานการทดลอง การมสี ่วนร่วมในกจิ กรรมการ เรียนรู้ ผลงาน การทดสอบ การประเมิน การนาไปใชป้ ระโยชน์ในชวี ติ

สารบัญ เรอ่ื ง หนา้ บทท่ี 1 ความหมาย ระบบนิเวศ กลมุ่ สง่ิ มีชวี ติ ประชากรทอ่ี ยอู่ าศัย 1 บทที่ 2 องคป์ ระกอบ ความสัมพันธ์ การปรับตัวของสงิ่ มชี ีวิต การถ่ายทอดพลงั งานในระบบนเิ วศ 2-8 บทที่ 3 การวางแผนเขยี นโครงการ วิธีการสารวจระบบนเิ วศในทอ้ งถิน่ การอนรุ ักษ์ระบบนเิ วศ 9-13 บรรณานุกรม 14

บทที่ 1 ความหมาย ระบบนเิ วศ กลุ่มสง่ิ มีชีวติ ประชากรทอี่ ยูอ่ าศัย ความหมายของระบบนิเวศ กลุ่มสิง่ มชี ีวิต ประชากรทีอ่ ย่อู าศัย ระบบนิเวศ ( ecosystem) เป็นโครงสร้างความสมั พันธ์ระหวา่ งสงิ่ มชี ีวิตต่าง ๆ กับบริเวณแวดลอ้ มท่ี สงิ่ มชี ีวิตเหลา่ นด้ี ารงชวี ิตอยู่ ระบบนิเวศหนง่ึ ๆ นั้นประกอบดว้ ยบรเิ วณทส่ี ิง่ มชี ีวิตดารงอยู่และกล่มุ ประชากรท่มี ี ชีวติ อยใู่ นบรเิ วณดังกล่าวพืชและโดยเฉพาะสัตวต์ า่ งๆก็ต้องการบรเิ วณท่ีอยู่อาศัยทีม่ ขี นาดอย่างน้อยทีส่ ุดท่ี เหมาะสม ทั้งนเี้ พือ่ วา่ การมชี ีวิตอยรู่ อดตลอดไปในกรณีใกล้เคียงกนั หากมแี รธ่ าตไุ หลเข้ามาเพ่ิมขึ้น ก็จะทาให้การ เจรญิ เตบิ โตของพืชเพมิ่ มากขนึ้ เช่น ไฟโตแพลงตนั หรือพชื นา้ ทอ่ี ยกู่ ้นสระ เมอ่ื ปริมาณของพชื เพ่ิมมากขึน้ จะส่งผล ใหป้ ริมาณสตั วเ์ พิม่ มากขึ้นด้วยเพราะมีอาหารอุดมสมบูรณแ์ ตเ่ ม่ือปริมาณสัตวเ์ พ่มิ ปริมาณของพืชท่เี ปน็ อาหารก็จะ ค่อยๆ นอ้ ยลง ทาให้ปริมาณสัตวล์ ดลงตามไปดว้ ยเนอื่ งจาก อาหารมีไม่พอ ดังน้นั สระน้าจึงมีความสามารถในการท่ี จะควบคุมตัวของมนั ( self-regula-tion)เองไดก้ ลา่ วคอื จานวนและชนิดของสิ่งมชี วี ิตทั้งหลายท่ีอยูใ่ นสระนา้ จะมี จานวนคงที่ ซง่ึ เราเรียกวา่ มี ความสมดุล (equilibrium) คณุ สมบัตทิ ่สี าคญั ประการหนง่ึ ของระบบนิเวศ คอื มกี ลไกในการปรบั สภาวะตัวเอง ( selfregulation) โดย มีรากฐานมาจากความสามารถของ สงิ่ มชี วี ิตแต่ละชนิด ซึ่งเป็นองค์ประกอบของระบบนเิ วศนนั้ ๆ คือ ผผู้ ลติ ผบู้ รโิ ภค และผูย้ อ่ ยสลายในการทาให้ เกิดการหมนุ เวียนของธาตอุ าหารผา่ นสิง่ มชี ีวติ ถา้ ระบบนิเวศนนั้ ได้รบั พลังงานอย่างพอเพียง และไมม่ ีอปุ สรรคขัดขวางวฏั จักรของธาตุอาหาร แลว้ ก็จะทาใหเ้ กดิ ภาวะสมดลุ equilibrium ข้นึ มาในระบบนิเวศนน้ั ๆ โดยมอี งค์ประกอบและความสัมพันธ์ ของสิง่ มีชีวิตแตล่ ะชนิดทาให้แร่ธาตุ และสสารกับสง่ิ แวดลอ้ มนน้ั ไม่มกี ารเปลีย่ นแปลง มาก ซึ่งทาให้ระบบนเิ วศน้นั มคี วามคงตวั ท้ังนเี้ พราะการผลิต อาหารสมดลุ กับการบริโภคภาย ในระบบนเิ วศนนั้ การปรบั สภาวะตัวเองน้ี ทาใหก้ ารผลติ อาหารและการเพ่มิ จานวนของ สิ่งมีชีวติ อนื่ ๆ ในระบบน้นั มีความพอดกี ัน กลา่ วคือจานวนประชากรชนดิ ใด ๆ ในระบบนเิ วศจะไม่ สามารถเพม่ิ จานวนอยา่ งไม่มีขอบเขตได้

บทที่ 2 องค์ประกอบ ความสัมพันธ์ การปรบั ตวั ของส่งิ มีชวี ิต การถ่ายทอดพลงั งานในระบบนิเวศ องคป์ ระกอบของระบบนิเวศ ระบบนิเวศทกุ ๆ ระบบจะมีโครงสรา้ งทีก่ าหนดโดยชนิดของส่ิงมีชีวติ เฉพาะอยา่ ง ท่ีอยู่ในระบบน้ัน ๆ โครงสรา้ งประกอบดว้ ยจานวนและชนิดของส่ิงมชี วี ติ ตา่ ง ๆ เหล่านี้ และการกระจายตัวของมนั ถงึ แมว้ า่ ระบบนเิ วศ บนโลกจะมีความหลากหลายแตม่ ีโครงสรา้ งท่คี ลา้ ยคลงึ กนั คอื ประกอบไปดว้ ยส่วนสาคัญ 2 ส่วนคือ 1. ส่วนประกอบทีไ่ ม่มชี วี ิต (Abiotic component) แบง่ ไดเ้ ป็น 3 ประเภท คือ 1.1 อนินทรียสาร เชน่ คารบ์ อนไนโตรเจน คาร์บอนไดออกไซด์ นา้ และออกซเิ จน เป็นต้น 1.2 อนิ ทรยี สาร เช่น โปรตนี คารโ์ บไฮเดรต และฮิวมัส เป็นตน้ 1.3 สภาพแวดล้อมทางกายภาพ เชน่ แสง อุณหภูมิ ความเปน็ กรดเปน็ ดา่ ง ความ เคม็ และความชน้ื เป็น ตน้ 2. สว่ นประกอบท่ีมชี ีวติ (Biotic component) แบง่ ออกได้เปน็ 2.1 ผู้ผลิต (producer) คอื พวกท่สี ามารถนาเอาพลงั งานจากแสงอาทิตย์มาสงั เคราะห์ อาหารข้นึ ไดเ้ อง จากแร่ธาตุและสารท่มี อี ย่ตู ามธรรมชาติ ได้แก่ พชื สีเขียว แพลงค์ตอนพชื และแบคทีเรยี บางชนดิ พวกผูผ้ ลติ นม้ี ี ความสาคญั มาก เพราะเปน็ สว่ นเร่มิ ต้นและเช่ือมต่อระหวา่ งส่วนประกอบที่ไม่มชี ีวติ กบั ส่วนท่ีมชี วี ิตอนื่ ๆ ในระบบ นิเวศ 2.2 ผบู้ ริโภค ( consumer) คือ พวกทีไ่ ด้รบั อาหารจากการกนิ สิง่ ท่มี ีชวี ติ อื่น ๆ อกี ทอด หน่งึ ไดแ้ กพ่ วก สตั ว์ต่าง ๆ แบง่ ได้เปน็ ผบู้ ริโภคปฐมภูมิ (primary consumer) เป็นสิง่ มีชีวิตที่กินพชื เปน็ อาหาร เช่น กระตา่ ย วัว ควาย และปลาท่กี นิ พืชเลก็ ๆ ฯลฯ ผู้บริโภคทตุ ิยภูมิ (secondary consumer) เปน็ สัตว์ทไี่ ดร้ บั อาหารจากการกนิ เนือ้ สตั ว์ที่ กินพืช เป็นอาหาร เช่น เสอื สนุ ัขจ้งิ จอก ปลากนิ เนอื้ ฯลฯ ผู้บรโิ ภคตตยิ ภมู ิ (tertiauy consumer) เป็นพวกท่กี ินท้ังสัตว์กินพชื และสตั ว์กนิ สัตว์ นอกจากน้ี ยงั ได้แก่สิ่งมชี ีวิตที่อยู่ในระดับข้นั การกินสูงสุดซ่ึงหมายถึงสัตว์ท่ีไม่ถกู กนิ โดยสัตวอ์ ่นื ๆ ตอ่ ไป เปน็ สตั วท์ ่ีอยใู่ น อนั ดบั สดุ ทา้ ยของการถกู กินเป็นอาหาร เชน่ มนุษย์ 2.3 ผูย้ อ่ ยสลาย ( decomposer) เป็นพวกไมส่ ามารถปรงุ อาหารได้ แตจ่ ะกินอาหารโดย การผลิตเอน ไซน์ออกมาย่อยสลายแร่ธาตุต่าง ๆ ในสว่ นประกอบของสิง่ ท่มี ชี ีวิตใหเ้ ป็นสารโมเลกลุ เล็กแลว้ จงึ ดดู ซึมไปใช้เป็น สารอาหารบางสว่ น สว่ นท่ีเหลอื ปลดปลอ่ ยออกไปส่รู ะบบนเิ วศ ซ่ึงผผู้ ลิตจะสามารถเอาไปใช้ต่อไป จึงนับวา่ ผู้ย่อย สลายเป็นส่วนสาคญั ทที่ าให้สารอาหารสามารถหมนุ เวยี นเปน็ วัฏจักรได้ การถา่ ยทอดพลงั งานในระบบนเวศ ดวงอาทติ ย์นบั เป็นแหล่งท่ีใหพ้ ลงั งานกับระบบนิเวศโลกได้รับพลังงานน้ีในรปู ของการแผร่ ังสี แตร่ งั สี ทง้ั หมดท่ีสง่ มาจากดวงอาทิตยน์ ั้น จะผ่านบรรยากาศของโลกลงมาเพอ่ื ใชใ้ นการสังเคราะห์แสงเพียงประมาณ 1% เทา่ น้ัน ผผู้ ลิตในระบบนิเวศจะเปน็ พวกแรกท่ีสามารถจบั พลังงานจากดวงอาทติ ยไ์ ว้ได้ ในขบวนการสงั เคราะห์แสง

ผ้ผู ลิตซึง่ เป็นพชื ทมี่ คี ลอโรฟลิ นี้ จะเปลี่ยนพลังงานแสงใหเ้ ป็นพลังงานเคมี แล้วนาพลงั งานเคมี น้ไี ปสังเคราะห์ สารประกอบ ทมี่ โี ครงสรา้ งอย่างงา่ ย คอื คาร์บอนไดออกไซด์ ( CO2) ใหเ้ ป็นสารประกอบท่ีมโี ครงสร้างซบั ซ้อน และมพี ลงั งานสูง คือ คารโ์ บไฮเดรท (CH 2n) พลังงานท่ผี ผู้ ลติ รับไวไ้ ดจ้ ากดวงอาทติ ย์ และเปลยี่ นไปอยใู่ นรปู ของ สารอาหารนี้จะมกี ารถ่ายทอดไปตามลาดบั ขั้น ของการกนิ อาหารภายในระบบนิเวศ คอื ผบู้ ริโภคจะได้รับพลังงาน จากผูผ้ ลิต โดยการกินต่อกันเป็นทอด ๆ ในแต่ละลาดับขนั้ ของการถา่ ยทอดพลงั งานน้ี พลงั งงานจะค่อย ๆ ลดลงไป ในแต่ละลาดบั เรอื่ ย ๆ ไปเนือ่ งจากได้สญู เสยี ออกไปในรปู ของความรอ้ น การรับพลงั งานจากดวงอาทติ ย์ โดยผู้ผลิต เป็นจุดแรกทม่ี คี วามสาคญั ยง่ิ ตอ่ ระบบนิเวศนน้ั ระบบนเิ วศใดรบั พลังงานไว้ไดม้ ากยอ่ มแสดงใหเ้ ห็นวา่ ระบบนิเวศ นัน้ มีความอดุ มสมบูรณม์ าก การเคล่ือนย้ายหรอื ถา่ ยทอดพลงั งานในระบบนิเวศในรูปของอาหารจากผผู้ ลติ ไปสู่ ผบู้ รโิ ภค และจากผู้บริโภคไปสู่ผ้บู รโิ ภคอันดับต่อไปเป็นลาดบั ขน้ั มลี กั ษณะเปน็ \"ลกู โซอ่ าหาร\" หรอื \"หว่ งโซอ่ าหาร\" (food chain)ในสภาพธรรมชาติจรงิ ๆแลว้ การกนิ กันอาจไมไ่ ดเ้ ปน็ ไปตามลาดบั ทแ่ี น่นอน เชน่ ท่ีกลา่ วมาเพราะผ้ลู ่า ชนิดหนึง่ อาจจะล่าเหยื่อไดห้ ลายชนิดและขณะเดียวกนั น้ี อาจจะตกเปน็ เหย่อื ของผู้ล่า เน่ืองจากทุก ๆ ลาดบั ข้ัน ของการถา่ ยทอดจะมพี ลงั งานสูญไปในรปู ของความรอ้ นประมาณ 80-90% ดงั นนั้ ลาดับของการกินในลูกโซ่ อาหารน้จี ึงมีจานวนจากัด โดยปกติจะส้ินสดุ ในลาดบั สีถ่ ึงหา้ เท่าน้ันลกู โซอ่ าหาร สายใดมีลักษณะสั้นกจ็ ะยงิ่ มี ประสิทธภิ าพดเี ท่าน้ันเพราะมพี ลังงานรวั่ ไหลไปจากลกู โซ่ไดน้ ้อย เช่นชนดิ อ่ืน ๆ อกี หลายชนิดเชน่ กัน การ ถา่ ยทอดพลังงาน จึงมีความซับซอ้ นมากข้นึ และสัมพันธ์เกยี่ วโยงกัน ไปมาในลักษณะ \"ข่ายใยอาหาร\" หรือ \"สายใยอาหาร\" (food web) ระบบนิเวศปา่ ไม้ ป่าไม้อาจแบง่ ได้ 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ ป่าไม้ผลดั ใบ( Deciduous forest) และปา่ ไม้ไม่ผลดั ใบ (Evergareen forest) 1. ปา่ ไม้ผลดั ใบ คือ ปา่ ไมท้ ต่ี น้ ไม้สว่ นใหญต่ ่างผลัดใบหมดในฤดูแล้งและเรม่ิ ผลิใบใหมใ่ นตน้ ฤดูฝน ป่าไม้ ผลดั ใบในเขตอบอุน่ พบเขตฝง่ั ตะวันออกของทวปี อเมรกิ าเหนือ ยุโรปท้ังหมด บางส่วนของญีป่ ุ่น และออสเตรเลยี ใต้สดุ ของทวปี อเมริกาใต้ ปรมิ าณฝนตก 30-60 น้ิวต่อปี ภูมิอากาศโดยทั่วไปอยู่ในระดับปานกลาง ฤดูร้อนและ ฤดูหนาวของแตล่ ะปีแตกตา่ งกันมาก พชื ทีพ่ บได้แก่ ตน้ โอ๊ค ฮัคคอรี เชสทน์ ัท พชื ดังกล่าวมีใบกว้างพ้นื ปา่ ปกคลมุ ด้วยไม้พุ่มและไม้ล้มลุก สตั วท์ ี่พบได้แก่ สนุ ับจ้ิงจอก สก๊งั แรคคูน ตุ่น หนผู ี กวางเวอรจ์ เิ นยี ปา่ ไม้ผลัดใบเขตรอ้ น เช่น ปา่ ไม้ในประเทศไทยแบง่ เป็น 2 ชนดิ ไดแ้ ก่ 1.1 ปา่ เบญจพรรณ หรอื ป่าผสมผลดั ใบ (Mixed deciduous forest) มอี ยู่ทัว่ ไปตามภาค ตา่ ง ๆ ของประเทศ ท่ี เป็นท่รี าบหรือตามเนินเขาที่สูงจากระดับน้าทะเล ระหว่าง ๕๐-๖๐๐ เมตร ดนิ เป็นไดต้ ้ังแตด่ นิ เหนียว ดนิ ร่วน จนถงึ ดนิ ลกู รงั ปริมาณน้าฝนไม่เกิน ๑ ,๐๐๐ มิลลเิ มตร ต่อปี เป็นสังคมพืชทีม่ ีความหลากหลายทางมวลชวี ะมาก สงั คมหน่งึ พรรณไมจ้ ะผลดั ใบมากในฤดูแลง้ เปน็ เหตใุ หพ้ รรณไมเ้ หล่านม้ี วี งปีในเนอื้ ไม้หลายชนิด พรรณไมข้ ึ้นคละ ปะปนกัน ที่เปน็ ไมห้ ลกั ก็มี สัก แดง ประดู่ มะคา่ โมง พยุง ชงิ ชนั พฤกษ์ถอ่ น ตะเคียนหนู หามกราย รกฟ้า พีจ้ ัน่ และไผข่ ้นึ เปน็ ปา่ หนาแนน่ ต้นไม้ท่เี ด่นของป่าเบญจพรรณ คือ ต้นไผ่

1.2 ปา่ แพะ หรือ ป่าแดง หรอื ป่าโคก ( Dry dipterocarpus forest) ป่าชนิดนีเ้ กดิ ที่ราบสูงและตามสนั เขาท่เี ป็นดนิ ปนทราย หรอื ปนกรวด ลักษณะของป่าคอ่ นขา้ งเป็นปา่ โปรง่ ต้นไม้ขึ้นกระจัดกระจายมกั มลี าตน้ เลก็ เตยี้ ไมพ้ ื้นลา่ งมักเป็นหญา้ แฝกหรอื ไม้พุ่ม 2. ป่าไมไ้ ม่ผลัดใบ คือ ปา่ ไม้ทีม่ ีต้นไม้มีใบเขียวชอ่มุ ตลอดปี ไม่มีระยะเวลาสาหรับผลัดใบทีแ่ นน่ อน เมือ่ ใบเก่าร่วงหล่นไปใบ ใหมก่ ผ็ ลอิ อกมาแทนทีท่ นั ที แบ่งออกเปน็ 6 ชนิด คอื 2.1 ป่าสนหรือปา่ สนเขา( coniferous forest หรือ Pine forest) เป็นปา่ ทพ่ี บทว่ั ไปตามภูเขาที่สูงกว่า 700-1,000 เมตร อย่รู ะหวา่ งเส้นรุ้ง 50-60 องศาเหนือ เชน่ บรเิ วณ อลา สกา แคนาดา สแกนดเิ นเวยี ไซบีเรีย และบางส่วนของประเทศไทย สว่ นบริเวณปา่ สนในแถบซกี โลกเหนอื อาจมี ชื่อเรยี กไดอ้ ีอยา่ งหนง่ึ ว่า ไทกา( Taiga) สภาพอากาศบริเวณทม่ี ีความเยน็ สงู (ชว่ งฤดรู อ้ นสนั้ แตช่ ่วงฤดหู นาวยาว) ฝนตกคอ่ นข้างมาก การสลายตวั ของสารเปน็ ไปอยา่ งช้า ๆ ทาใหเ้ กิดดินแบบพอดซอล( Podsol) คือมีสภาพเป็น กรดและขาดธาตอุ าหารเนื่องจากมีอัตราการชะลา้ งสูง แม้กระน้นั ผลผลิตในรอบปขี องป่าสนกย็ ังมอี ตั ราค่อนข้างสงู ยกเวน้ ในช่วงอุณภมู ติ ่า 2.2 ป่าดิบช้ืน หรอื ปา่ ดงดบิ ( Tropical rain forest หรอื Tropical evergreen forest) มอี ยตู่ ามภาค ตะวนั ออกเฉียงใตแ้ ละภาคใต้ของประเทศ ท่มี รี ะดับสงู ตั้งแต่ระดบั เดียวกันกับน้าทะเล จนถงึ ระดบั ๑๐๐ เมตร มี ปริมาณน้าฝนตกไม่น้อยกวา่ ๒ ,๕๐๐ มลิ ลิเมตร ตอ่ ปี พรรณไมท้ ่ีขน้ึ มมี ากชนดิ เชน่ พวกไม้ยางตา่ ง ๆ พืชช้ันล่าง จะเตม็ ไปด้วยพวกปาล์ม หวาย ไผ่ต่าง ๆ และเถาวลั ยน์ านาชนิด 2.3 ป่าดิบภเู ขา ( Hill evergreen forest) เป็นปา่ ดงดิบทพี่ บอย่บู นภูเขาสูงกวา่ ระดบั นา้ ทะเล 1,000 เมตรขึ้นไป สภาพป่าแตกตา่ งจาก ป่าดบิ ชื้นอย่างเหน็ ได้ชัด คอื ไม่มพี ันธ์ไุ ม้วงศ์ยางแต่มพี ันธไ์ุ มจ้ าพวกพญาไม้ มะขามป้อมดง สนสามพันปี และไม้ก่อ ชนิดต่าง ๆ ไมช้ ั้นรองไดแ้ ก่ ส้มแปะ หวา้ ไมช้ ้นั ลา่ งเป็นพวกไม้พมุ่ รวมทง้ั ข้าวดอกฤาษี มอส สามรอ้ ยยอด เป็นต้น 2.4 ป่าชายเลนหรือปา่ โกงกาง (Mangrove forest หรือ Littoral forest) เป็นป่าน้าทะเลท่วมถงึ พบตามชายฝ่งั ท่เี ปน็ แหลง่ สะสมดนิ เลนท่วั ๆ ไป นบั เปน็ เอกลกั ษณ์น้อยชนิดและขึ้นเป็น กล่มุ กอ้ น เทา่ ท่ีสารวจพบมี ๗๐ ชนิด พรรณไม้หลักมีโกงกางใบเลก็ และโกงกางใบใหญเ่ ปน็ พื้น นอกนั้นเปน็ พวก แสม ไม้ถั่ว ประสกั หรอื พังกา โปรง ฝาก ลาพู-ลาแพน เป็นตน้ ผวิ หนา้ ดนิ เปน็ ท่ีสะสมของมวลชวี ภาพ ถอบแถบ นา้ ปรงทะเล และจาก เปน็ ตน้ 2.5 ป่าพรุและปา่ บึงนา้ จดื (Swamp forest) เป็นปา่ ตามทล่ี ่มุ และมนี ้าขงั อยูเ่ สมอ พบกระจายทั่วไปและพบมากทางภาคใต้ อยูร่ ะดับเดยี วกบั นา้ ทะเลเป็น สว่ นมาก เปน็ ปา่ อกี ประเภทหน่งึ ท่มี คี วามหลากหลายทางชวี ภาพสูง เท่าทีม่ กี ารสารวจพบว่ามีพรรณไมไ้ มน่ ้อยกว่า ๔๗๐ ชนดิ และในจานวนน้ีเป็นชนดิ ที่พบคร้ังแรกของประเทศถึง ๕๐ ชนดิ ปรมิ าณนา้ ฝนระหวา่ ง ๒,๓๐๐-๒,๖๐๐ มิลลเิ มตร ตอ่ ปี พรรณไมห้ ลักมพี วกมะฮงั สะเตยี ว ยากา ตารา อา้ ยบา่ ว หว้านา้ หวา้ หิน ชา้ งไห้ ตีนเปด็ แดง จิก นม เปน็ ตน้ พืชชนั้ ล่างเปน็ พวกปาลม์ เชน่ หลุมพี คอ้ หวายนา้ ขวน ปาล์มสาคู รัศมีเงิน กระจดู เตยต่าง ๆ เปน็ ต้น

2.6 ปา่ ชายหาด ( Beach forest) เปน็ ปา่ ท่อี ยู่ตามชายฝง่ั ทะเลทม่ี ีดนิ เป็นกรวด ทราย และโขดหนิ พรรณไมน้ ้อยชนดิ และผิดแผกไปจากป่าอนื่ อย่าง เดน่ ชดั ถา้ เปน็ แหลง่ ดนิ ทรายจะมพี วกสนและพรรณไม้เล้ือยอ่ืน ๆ บางชนดิ ถา้ ดินเปน็ กรวดหิน พรรณไมส้ ว่ นใหญ่ จะเปน็ พวกกระทงิ ไม้เมา หูกวาง และเกด เปน็ ต้น ระบบนิเวศน้าจดื ระบบนเิ วศนา้ จืดแบง่ ตามลกั ษณะของแหล่งนา้ เป็น 2 ประเภท คอื 1. แหล่งนา้ นิ่ง เช่น ทะเลสาบ บึง ถา้ เป็นแหล่งน้าขนาดใหญ่ สามารถแบ่งเขตแหล่งน้านิ่งได้ 3 เขต คอื 1.1 เขตชายฝ่ัง ( Litoral zone) เป็นบรเิ วณรอบๆ แหล่งน้าแสงส่องไดถ้ งึ กน้ น้า เปน็ เขตท่ีมผี ผู้ ลิตและ ผู้บริโภคมากกวา่ เขตอื่นๆ ผูผ้ ลิตบริเวณชายฝง่ั ไดแ้ ก่ พืชที่มีรากยดึ อยู่ในพน้ื ดินใตท้ อ้ งน้า บางสว่ นของลาตน้ ฝังอยู่ ใต้ดนิ และบางส่วนโผล่ข้นึ เหนือนา้ เพื่อรบั แสง สว่ นใหญเ่ ป็นพืชทมี่ ีเมลด็ เช่น กก บวั แหว้ ทรงกระเทยี ม กระจูด เปน็ ตน้ พชื อกี ชนดิ ใจเขตชายฝง่ั เป็นพวกท่ีมีโครงสรา้ งอย่ใู ตน้ า้ ท้งั หมด โผล่เฉพาะส่วนของดอกขึ้นเหนือน้า เชน่ สาหร่ายข้าวเหนยี ว สาหร่ายหางกระรอก ดปี ลนี า้ นอกจากนผ้ี ูผ้ ลิตในเขตชายฝ่ังยังประกอบด้วยแพลงกต์ อนพืช และพชื ลอยน้า แพลงก์ตอนพืช ไดแ้ ก่ สาหร่ายสเี ขยี ว สาหร่ายสีเขียวแกมนา้ เงนิ และไดอะตอม พืชลอยนา้ ได้แก่ จอก แหนไข่น้า จอกหูหนู แหนแดง ผ้บู ริโภคในเขตชายฝั่งมีจานวนมากเพราะมผี ผู้ ลิตอุดมสมบูรณส์ าหรับใช้เปน็ อาหาร แหลง่ อาศยั และท่หี ลบซอ่ นศตั รู พวกท่เี กาะกับวัตถใุ นน้า ได้แก่ หอยขม หอยโขง่ ตัวอ่อนแมลงปอเขม็ ไฮดรา พลานาเรีย โรติเฟอร์ ส่วนพวกทเี่ กาะพักตวั ตามพื้นท้องน้า ไดแ้ ก่ แมลงปอยกั ษ์ ชีปะขาว กงุ้ ก้ามกราม หอยกาบเดยี ว หอบสองกาบ หนอนตัวกลมชนดิ ต่างๆ ยุง ฯลฯ พวกที่วา่ ยน้าอสิ ระ ไดแ้ ก่ แมลงต่างๆ เต่า ปลา แพ ลงกต์ อนท่ีพบ ไดแ้ ก่ ไรนา้ โคพีพอด พวกทลี่ อยตามผิวนา้ ไดแ้ ก่ ดว้ งตะพาบ ด้วงสี่ขา จิงโจ้น้า 1.2 ผวิ น้าหรือเขตกลางนา้ ( Limnetic zone) นบั จากชายฝ่ังเขา้ มาจนถงึ ระดบั ลกึ ท่แี สงสอ่ งถึง มคี วาม เข้มของแสงประมาณ 1 เปอร์เซน็ ต์ของแสงจากดวงอาทติ ย์ ท่ีระดับน้อี ตั ราการสงั เคราะหแ์ สงมีคา่ เท่ากบั อตั ราการ หายใจ ในแหล่งนา้ ขนาดเล็ก หรือแหล่งน้าตน้ื ๆ จะไมป่ รากฎเขตน้ี สงิ่ มชี ีวิตสว่ นใหญ่เปน็ แพลงกต์ อนและพวก ที่ว่ายนา้ อิสระ มจี านวนชนดิ และจานวนสมาชกิ นอ้ ยกว่าเขตชายฝง่ั แพลงก์ตอนพชื ได้แก่ สาหรา่ ยสเี ขียว ได อะตอม สาหร่ายสเี ขียวแกมนา้ เงนิ ซ่ึงเป็นชนิดเดียวกับเขตชายฝง่ั ไดโนแฟลกเจลเลต ยกู ลีนา วอลวอกซ์ แพลงก์ ตอนสตั ว์ ไดแ้ ก่ โคพีพอด โรติเฟอร์ ไรน้า สตั วเ์ หลา่ นเ้ี ป็นสตั ว์ตา่ งชนดิ กับเขตชายฝั่ง นอกจากนสี้ ัตว์อนื่ ๆ ในเขต กลางสระ ไดแ้ ก่ พวกทีว่ า่ ยน้าได้ เชน่ ปลา 1.3 เขตก้นนา้ (Profundal zone) เป็นสว่ นที่อยูล่ ่างสดุ จนถึงหน้าดนิ ของพื้นทอ้ งน้า กลา่ วไดว้ ่า แหลง่ นา้ ขนาดเลก็ จะไมม่ ใี นเขตทสี่ ามน้ี แสงส่องไม่ถึง จงึ ไม่มผี ผู้ ลิต สิ่งมชี ีวติ ทพ่ี บ ไดแ้ ก่ รา แบคทีเรยี ท่ไี ม่ใช้ออกซิเจน หนอนเลอื ด ตัวออ่ นยงุ หอยสองกาบ หนอนตวั กลม เปน็ ตน้ สิง่ มีชวี ิตเหลา่ นจ้ี ะตอ้ งปรับตัวใหเ้ ขา้ กบั สภาพท่มี ี ออกซิเจนตา่ เชน่ ตัวออ่ นของยุงนา้ ชนิดหนง่ึ ( Phantom) มถี งุ ลมสาหรับช่วยในการลอยตัวและสาหรับเกบ็ ออกซิเจนไวใ้ ช้

2. แหลง่ น้าไหล เช่น แม่น้า ลาธาร โครงสร้างของกลุ่มสง่ิ มชี วี ติ น้าไหลข้ึนอยูก่ ับความเร็วของน้า แหล่งนา้ ไหลนี้จึง แบง่ ออกเปน็ 2 ชนดิ คอื 2.1 เขตน้าเช่ยี ว เป็นเขตท่ีมีกระแสน้าไหลแรง จงึ ไม่มตี ะกอนสะสมใต้นา้ สง่ิ มชี วี ิตในบริเวณนมี้ กั เป็น พวกทส่ี ามารถเกาะติดกับวัตถใุ ต้นา้ หรอื คบื คลานไปมาสะดวก พวกท่วี ่ายนา้ ไดจ้ ะตอ้ งเป็นพวกทที่ นทานตอ่ การ ตา้ นกระแสนา้ แพลงก์ตอนแทบจะไมป่ รากฎในบรเิ วณน้ี 2.2 เขตนา้ ไหลเออ่ื ย เปน็ ช่วงทม่ี คี วามลกึ ความเร็วของกระแสนา้ ลดลง อนภุ าคต่างๆ จงึ ตกตะกอนทบั ถมกันหนาแนน่ ในเขตนี้ มกั ไมม่ ีสัตวเ์ กาะตามทอ้ งน้า เขตนเ้ี หมาะกับพวกท่ขี ุดรูอยู่ เช่น หอยสองกาบ ตวั อ่อนของ แมลงปอ ชปี ะขาว แพลงก์ตอนและพวกทวี่ า่ ยนา้ ได้ การปรบั ตวั ของสัตว์ในแหล่งนา้ ไหลโดยเฉพาะเขตน้าเชี่ยว สัตวม์ กี ารปรบั ตวั พิเศษเพอ่ื การอยู่รอดหลายวธิ ี เชน่ > มีโครงสรา้ งพเิ ศษสาหรับเกาะหรอื ดูดพน้ื ผิว เพ่ือใหต้ ิดแน่นกับพนื้ ผวิ สิ่งมชี ีวิตท่ีมีอวยั วะ พิเศษเช่นนี้ ได้แก่ แมลงหนอนปลอกนา้ > สร้างเมือกเหนียว เพือ่ ใช้ยดึ เกาะ เช่น พลานาเรีย หอยกาบเดียว > มรี ูปรา่ งเพรยี ว เพ่อื ลดความตา้ นทานตอ่ กระแสน้า เชน่ ปลา > ปรับตัวให้แบน เพอื่ ยดึ ตดิ กบั ท้องนา้ ไดแ้ นบสนิทหรือเพอ่ื ให้สามารถแทรกตัวอยูใ่ น ซอกแคบๆ หลกี เลี่ยงกระแสนา้ แรงๆ 3. ปากนา้ ปากนา้ เป็นบริเวณท่นี า้ มาบรรจบกันระหวา่ งนา้ จืดและน้าเคม็ ทาใหเ้ ปน็ บริเวณท่ีมนี ้ากร่อยเกดิ เป็น ชมุ ชนรอยต่อระหว่างชมุ ชนน้าจดื และน้าเคม็ ลักษณะพิเศษท่เี กดิ ขึน้ คือ มสี ภาพทางชีววิทยาทีเ่ ออ้ื อานวยทีจ่ ะให้ ผลผลิตอย่างสงู ต่อสังคมมนุษย์ ปากนา้ ที่เกิดขนึ้ มีหลายชนิด มภี มู ิประเทศต่างจากทอี่ ่นื ๆ และมีลกั ษณะทางธรณีท่ี สาคญั เกดิ ข้ึน มีการเจรญิ เตบิ โตไปจากฝงั่ ทะเลและจมลงไปจากปากนา้ เช่น ปากน้าเจ้าพระยา ปากน้าเดลาแวร์ (Delaware Bay) บางแห่งการเจริญเตบิ โตไปจากฟยอรด์ ทล่ี ึก เช่น แมโ่ ขง ปากแม่นา้ ไนล์ลักษณะที่สาคัญของ ปากน้ามดี ังน้ี 1. ส่วนประกอบของน้าคงท่ี มกี ารเปลีย่ นแปลงไปบ้างตามกระแสนา้ ข้ึนน้าลงและการไหลของแมน่ า้ ท่ีมา จากแผน่ ดนิ ความแตกต่างของปากน้านน้ั มีความเค็มของเกลือท่ีละลายในนา้ อยรู่ ะหว่าง 1/100 ถงึ 34/1000 ppm. (นา้ ทะเลมี 35 ppm.) 2. ระดับของแรธ่ าตุต่างๆ มสี ูง เนือ่ งจากความสัมบรู ณข์ องสารอินทรยี ์และการสะสมของสารเคมีทใี่ ช้ใน การเกษตรซงึ่ มาจากแผ่นดนิ ไหลลงมาในนา้ 3. อุณหภมู แิ ละกระแสนา้ เปลีย่ นแปลงไปตามฤดูกาล วัน และช่ัวโมง 4. ออกซเิ จนท่ลี ะลายในนา้ และระดับคารบ์ อนไดออกไซดจ์ ะเปล่ยี นแปลงไปอยา่ งชัดเจนลกั ษณะตา่ งๆ เหล่านี้เปน็ เคร่ืองชใ้ี ห้เห็นว่า ปากน้ารองรับการเปลีย่ นแปลงการเคลอื่ นไหวและความไมแ่ นน่ อน อนั เนื่องมาจากมี ความเขม้ ขน้ ของสารอาหารต่างๆ และฟองนา้ ท่ีเกดิ ขนึ้ ทาให้มีผลผลิตสงู ขึ้น จึงมชี ุมชนต่างๆ เกิดขึ้น ซง่ึ ประกอบ ไปดว้ ยสิง่ มชี วี ติ คอื แพลงกต์ อน ปู หอย ปลา เชน่ ปากน้าเดลาแวร์ และกลายเป็นปากนา้ ใหญ่ ปากน้าสว่ นใหญ่ จะเป็นท่เี พาะเล้ยี งดูตวั ออ่ นของปลาทะเล

ผลผลิตข้ันปฐมภูมิของปากนา้ จะมาจาก 4 แหล่งใหญ่ๆ คอื 1. แพลงก์ตอนพืช สว่ นมากจะเป็นสาหรา่ ยเล็กๆ ทลี่ อยอย่ใู นบรเิ วณทมี่ ีแสงสวา่ งสอ่ งไปถงึ 2. พชื ทอ่ี ยูใ่ นน้ามรี ากฝังอย่กู ับพืน้ ดิน 3. พชื ทข่ี ึ้นอย่ใู นนา้ บรเิ วณท่นี า้ ขึ้นน้าลง 4. พืชท่ีลอยอยู่ผวิ น้า สาหร่ายเล็กๆ ท่ตี ดิ อยู่กับกงิ่ ไมห้ รือติดกบั ดนิ ทรายทพ่ี ดั มาทบั ถมดนิ มีใบและลาต้น ของพชื อย่ใู ตน้ ้า ผูผ้ ลิตขัน้ ปฐมภูมิทีส่ าคัญในบริเวณปากน้าคือแพลงก์ตอน ไดแ้ ก่ สาหรา่ ยเลก็ ๆ ไดอะตอมและพวกไดโน แฟลกเจลเลต(dinoflagellate) ซ่งึ พวกน้เี ป็นอาหารของพวกปลาโดยตรง กงุ้ ปู และแพลงกต์ อนสัตว์ พชื ทจี่ มอยู่ ใตน้ ้ามบี ทบาทสาคัญในการทาหน้าที่เปน็ ผ้ผู ลติ ขนั้ แรก ทาใหป้ ากน้านั้นสมบูรณ์ยิง่ ขึ้น ปากนา้ จะมีพวกต้นพืช มากมาย พืชเหลา่ นีจ้ ะมปี ริมาณลดลงถา้ มมี ลพษิ เกดิ ขึ้น หรอื มีการรบกวน โดยเฉพาะถ้ากระแสน้าแรงหรือความ เค็มลดลงชุมช นสัตวใ์ นบรเิ วณปากนา้ เปน็ พวกสัตวท์ ีห่ ากินอยู่กบั พื้นดิน เชน่ พวกปู หอยสองกาบ และหอยนางรม พวกไส้เดือน และพวกปลาทีค่ รบี รวมทัง้ ปลาหมึก ปลาดาว แตงกวาทะเล หอยเม่น สว่ นพวกปลาทะเลนนั้ จะเขา้ มา หากินในปากนา้ เป็นบางครั้ง สัตวท์ ่อี ยู่ในปากนา้ นี้แสดงใหเ้ หน็ ถงึ การปรบั ตวั ต่อสภาวะการท่ไี ม่คงท่ีและการ เปล่ียนแปลงของสภาพแวดลอ้ มอย่างน่าสนใจ กลา่ วคือมีการปรับตวั ในการควบคุมปรมิ าณน้าไหลเขา้ และออกจาก ร่างกายโดยวธิ อี อสโมซิส นั่นคือความสามารถในการรักษาระดับเกลอื และนา้ ที่มกี ารเปลี่ยนแปลง และยังมกี าร ปรบั ตัวเกี่ยวกบั น้าขน้ึ นา้ ลงและสภาพของคลื่นลมต่างๆ สตั ว์ทอี่ ยู่ในนา้ ลกึ ๆ จะหลีกเลยี่ งจากคลนื่ ลมแรงๆ ไดโ้ ดย การขุดรอู ย่ใู นพื้นใต้ทะเล ปลาในบริเวณปากนา้ จะมีเวลาการพฒั นาชา้ ตวั อ่อนของปลาจะยังคงอยู่ในไข่นาน จนกระทัง่ กลา้ มเนื้อเจรญิ ดพี อท่ีจะวา่ ยนา้ ต้านคล่ืนแรงๆได้ ไขข่ องพวกปลาในบริเวณปากนา้ จะมีไขแ่ ดงมากกว่า ปลาทะเลอน่ื ๆ เพื่อใชเ้ ป็นอาหารในขณะที่ระยะพฒั นาการยาวนาน ปากน้าในปจั จบุ นั มีความกดดันจากเร่อื งมลพิษมาก และยงั มีผลผลิตทางการค้าสูง เมืองใหญๆ่ ทีส่ าคัญ หลายเมืองในโลกที่ตง้ั อยู่บริเวณปากน้า เชน่ นวิ ยอร์ค ฟลิ าเดลเฟีย บลั ตมิ อร์ ซาน ฟรานซิสโก กรงุ เทพฯ ไซ่งอ่ น โตเกยี ว ซึ่งมปี ระชากรหนาแนน่ และปากแมน่ ้าเหลา่ นม้ี ผี ลผลติ ของปลา หอย ซงึ่ เป็นอาหารของมนษุ ย์ ปากนา้ หลายแหง่ ได้สูญเสยี ระบบทางชีววทิ ยาไปมาก เช่น เดลาแวร์เคยเปน็ ท่ีซึง่ มีปลาและหอยอดุ มสมบูรณ์ และสามารถ ทาเป็นอุตสาหกรรมได้ แตใ่ นปัจจบุ นั มีแต่พชื และสัตว์บางชนิดท่ีพอเหลอื อยู่เท่าน้นั ดังน้ันจงึ มปี ัญหาว่า ในปัจจบุ นั ปากน้าเปน็ ทร่ี องรับและดูดซึมของเสยี จากโรงงานอุตสาหกรรม และเป็นทีข่ ยายตัวของประชากร โดยการถมท่ี ปากน้าให้เปน็ ทีอ่ ยู่อาศยั ของประชากร เป็นต้น โดยไม่รคู้ ณุ ค่าของปากนา้ ว่าเปน็ ที่ผลิตอาหารเล้ยี งประชากรของ โลกท่สี าคญั มาก ระบบนิเวศต่างๆ ทีไ่ ดก้ ล่าวมาแล้วน้ี เปน็ ระบบทีก่ ว้างใหญ่ ยงั มีระบบนิเวศแคบๆ เฉพาะเจาะจง ทีม่ ี องค์ประกอบทางกายภาพและสงั คมของส่งิ มชี วี ิตที่ต่างไป เชน่ ระบบนิเวศนาข้าว ระบบนเิ วศขอนไม้ผุ ระบบนิเวศ รมิ กาแพง ระบบนิเวศบนตน้ ไม้ ฯลฯ

ระบบนเิ วศน้าเคม็ ไดแ้ ก่บริเวณพื้นน้าทเ่ี ปน็ ทะเล และมหาสมทุ ร ประกอบดว้ ยชายฝั่งทะเลซ่ึงมีทั้งหาดทรายและหาดหิน ชายหาดเป็นบรเิ วณท่ีถูกน้าทะเลซดั ขนึ้ มาตลอดเวลา พ้นื ผิวของหาดทรายและหาดหินจะเปียกและแห้งสลบั กัน ในชว่ งวนั หนึ่งๆ ท่เี ปน็ เวลาน้าขน้ึ น้าลง ทาให้อุณหภูมชิ ่วงวันหนึง่ ๆ ของบรเิ วณดังกลา่ วแตกตา่ งกนั ไปด้วย นอกจากนนี้ า้ ทะเลมสี ารประกอบพวกเกลือละลายอยูห่ ลายชนดิ สัตวท์ ่ีอาศัยอยูใ่ นทะเลจึงต้องมีการปรับสภาพ ทางสรรี ะสาหรับการดารงชพี อย่ใู นน้าเค็มดว้ ยจากชายฝงั่ ทะเลออกไป จะเปน็ บรเิ วณไหล่ทวปี ทะเล และ มหาสมุทร ซงึ่ เป็นแหลง่ ทมี่ ี สงิ่ มชี ีวติ อาศยั อย่เู ปน็ จานวนมาก นบั เป็นแหล่งอาหารใหญท่ ่สี ดุ ของสิ่งมชี ีวติ ประกอบดว้ ย แพลงกต์ อนพชื และแพลงกต์ อนสัตวน์ านาชนดิ หญ้าทะเล สาหรา่ ยทะเลที่สตั ว์นา้ พวก กุ้ง หอย ปู ปลา พะยนู ปลาวาฬ โลมา และอนื่ ๆ อาศัยเปน็ อาหารในการเจริญเตบิ โต ใตท้ ้องทะเลจะมีบริเวณแนวปะการงั หรืออาจเรียกว่า ปา่ ใตท้ ะเล ทีเ่ ทียบไดก้ ับปา่ บนบก แนวปะการงั เกิด จากสตั วพ์ วกปะการงั ซง่ึ มสี ารหนิ ปนู ห่อห้มุ ลาตวั สบื พนั ธ์ุแบบแตกหน่อเชือ่ มติดกนั กับตัวเดิมทาหใเกดิ เปน็ กลุ่ม ก้อนของปะการัง บริเวณดังกล่าวมคี วามสาคญั มาก เพราะเปน็ แหลง่ ทท่ี าให้เกดิ ความอดุ มสมบรู ณด์ า้ นอาหาร ที่ อยอู่ าศยั แหลง่ อนบุ าลลูกออ่ นของสตั วน์ ้าปจั จบุ นั ปะการงั ถูกทาลายลงเปน็ อนั มากและรวดเรว็ จนใกล้ภาวะวิกฤติ นกั วชิ าการที่เกี่ยวขอ้ งได้ชว่ ยกนั คดิ หาแนวทางป้องกนั แก้ไข เช่น จดั ทาแนวปะการงั เทยี ม ศึกษาวิธเี พาะเลี้ยงเพมิ่ จานวนปะการงั ในระยะยาว แต่ตอ้ งใชเ้ วลานานมากจึงจะเกดิ เปน็ แนวปะการังธรรมชาติ บางแห่งแก้ปญั หาโดยวาง ทุ่นรอบๆ แนวปะการัง เพื่อปอ้ งกนั คนเขา้ ไปรบกวนหรือทาลาย

บทท่ี 3 การวางแผนเขยี นโครงการ วิธกี ารสารวจระบบนิเวศในท้องถ่ิน การอนุรกั ษร์ ะบบนิเวศ ขัน้ ตอนในการเขียนโครงการ 1. ชอื่ แผนงาน 2. ช่อื โครงการ 3. หลกั การและเหตุผล 4. วตั ถปุ ระสงค์ 5. เปา้ หมาย 6. วิธดี าเนนิ การ 7. ระยะเวลาดาเนินการ 8. งบประมาณ 9. ผรู้ ับผิดชอบโครงการ 10. หนว่ ยงานที่ใหก้ ารสนบั สนุน 11. การประเมินผล 12. ผลประโยชน์ท่คี าดวา่ จะได้รับ การวางแผนและการเขียนโครงการ ความหมายของการวางแผน มผี ู้ให้คาจากดั ความของการวางแผนไว้หลายลักษณะ เช่น การวางแผน คือ การมองอนาคตการเลง็ เห็น จดุ ดหมายทตี่ ้องการ การคาดปญั หาเหล่านน้ั ไว้ลว่ งหนา้ ไวอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ตลอดจนการหาทางแก้ไขปญั หาตา่ งๆ เหลา่ นนั้ การวางแผน เปน็ การใชค้ วามคดิ มองจนิ ตนาการตระเตรยี มวิธกี ารตา่ งๆ เพื่อคดั เลือกทางท่ดี ีท่สี ุดทางหน่งึ กาหนดเป้าหมายและวางหมายกาหนดการกระทานั้น เพ่อื ใหส้ าเร็จลลุ ่วงไปตามจดุ ประสงค์ทต่ี ้ังไว้ การวางแผน เปน็ กจิ กรรมอย่างหน่งึ ทเ่ี กย่ี วกับการกาหนดสิง่ ท่จี ะกระทาในอนาคต การประเมินผลของส่ิง ท่ีกาหนดวา่ จะกระทาและกาหนดวิธีการทีจ่ ะนาไปใช้ในการปฏิบัติ ถ้าจะกล่าวโดยสรุป การวางแผนก็คือการคิดการหรือกะการไว้ล่วงหนา้ วา่ จะทาอะไร ทาไม ทาทีไ่ หน เมือ่ ไร อยา่ งไร และไครทา การวางแผนจงึ เปน็ เรอื่ งทีเ่ กีย่ วกับ - อนาคต - การตดั สนิ ใจ - การปฏิบัติ ความสาคญั ของการวางแผน ถ้าจะเปรียบเทียบระบบการศึกษากับคน การวางแผนก็เปรยี บเสมือนสมองของคน ซึง่ ถ้ามองในลักษณะน้ี แล้ว การวางแผนกม็ ีความสาคญั ไมน่ อ้ ยทเี ดยี ว เพราะถา้ สมองไมท่ างานส่วนอืน่ ๆของร่างกาย เช่น แขน ขา ก็จะ ทาอะไรไมไ่ ด้ หรือถ้าคนทางานไม่ใชส้ มอง คือทางานแบบไม่มหี ัวคิดกล็ องนกึ ภาพดกู ็แลว้ กันวา่ จะเป็นอย่างไร คน

ทุกคนต้องใชส้ มองจึงจะทางานได้ ระบบการศึกษาหรือการจดั การศึกษาก่็เชน่ เดียวกัน ต้องมีการวางแผน คือ อย่างนอ้ ยต้องมคี วามคิด การเตรยี มการวา่ จะจดั การศกึ ษาเพอื่ อะไร เพอื่ ใคร อย่างไร การวางแผนมปี ระโยชนใ์ นหลายเร่อื งด้วยกัน เชน่ 1. การวางแผนเป็นเครอ่ื งชว่ ยให้มีการตดั สินใจอย่างมีหลกั เกณฑ์ เพราะไดม้ กี ารศกึ ษาสภาพเดิมใน ปจั จบุ ันแล้ว กาหนดสภาพใหม่ในอนาคต ซ่ึงได้แก่การต้งั วตั ถุประสงค์ หรือเปา้ หมาย แล้วหาลู่ทางทจ่ี ะทาใหส้ าเร็จ ตามทม่ี ุง่ หวัง นกั วางแผนมหี น้าทจ่ี ดั ทารายละเอยี ดของงานจดั ลาดบั ความสาคัญพร้อมท้ังข้อเสนอแนะที่ควรจะ เปน็ ตา่ งๆ เพ่ือให้ผมู้ ีหนา้ ทีต่ ดั สินใจพจิ ารณา 2. การวางแผนเปน็ ศนู ย์กลางประสานงานเชน่ ในการจัดการศึกษาเราสามารถใชก้ ารวางแผนเพ่ือ ประสานงานการศึกษาทุกระดบั และทุกสาขาใหส้ อดคล้องกนั ได้ 3. การวางแผนทาใหก้ ารปฏบิ ตั ิงานต่างๆเปน็ ไปโดยประหยัดมีประสิทธิภาพและประสทิ ธิผลเพราะการ วางแผนเป็นการคดิ และคาดการณไ์ วล้ ่วงหน้าและเสนอทางเลือกท่ีจะก่อใหเ้ กดิ ผลทด่ี ที ส่ี ุด 4. การวางแผนเปน็ เครื่องมือในการควบคุมงานของนกั บรหิ ารเพ่ือติดตามตรวจสอบการปฏิบัตงิ านของ ฝ่ายตา่ งๆใหเ้ ป็นไปตามนโยบายและเปา้ หมายทีต่ อ้ งการ ประเภทของแผน เมือ่ กล่าวมาถึงตอนน้ีน่าจะพูดถึงประเภทของแผนเสยี เล็กนอ้ ยเพือ่ ความเข้าใจลักษณะของแผนแตล่ ะอยา่ ง ถ้าจะมองในแง่ของระยะเวลาอาจจะแบ่งแผนออกเปน็ 4 ประเภทใหญ่ๆดังนค้ี อื 1. แผนพฒั นาระยะยาว (10 - 20 ป)ี กาหนดเค้าโครงกวา้ งๆ วา่ ประเทศชาติของเราจะมที ิศทางพัฒนา ไป อยา่ งไร ถ้าจะดงึ เอารัฐธรรมนญู และ/หรือแผนการศึกษาแหง่ ชาตมิ าเป็นแผนประเภทนี้ก็พอถไู ถไปได้แต่ ความจรงิ แผนพัฒนาระยะยาวของเราไม่มี 2. แผนพฒั นาระยะกลาง (4 - 6 ป)ี แบ่งช่วงของการพัฒนาออกเป็น 4 ปี หรอื 5 ปี หรอื 6 ปี โดย คาดคะเนว่าในช่วง 4 - 6 ปี นี้ จะทาอะไรกนั บา้ ง จะมีโครงการพัฒนาอะไร จะงบประมาณใช้ทรัพยากรมากน้อย เพียงไร แผนดงั กล่าวไดแ้ กแ่ ผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาตนิ ่ันเองในส่วนของการศึกษาก็มีแผนพฒั นา การศึกษาแห่งชาติ(ไมใ่ ช่แผนการศึกษาแหง่ ชาติ)ในเรอ่ื งของการเกษตรก็มแี ผนพัฒนาเกษตร เปน็ ต้น 3. แผนพฒั นาประจาปี (1 ป)ี ความจริงในการจดั ทาแผนพัฒนาระยะกลาง เชน่ แผนพัฒนาการศกึ ษาได้ มีการหนดรายละเอยี ดไว้เป็นรายปีอยแู่ ล้ว แต่เน่ืองจากการจัดทาแผนพัฒนาระยะกลางไดจ้ ัดทาไวล้ ่วงหน้า ข้อมลู หรอื ความตอ้ งการทเ่ี ขยี นไว้อาจไม่สอดคล้องกบั สภาพทแ่ี ทจ้ ริงในปัจจบุ ัน จึงตอ้ งจัดทาแผนพฒั นาประจาปีขึน้ นอกจากนั้น วธิ กี ารงบประมาณของเราไม่ใช้แผนพัฒนาระยะกลางขอตั้งงบประมาณประจาปี เพราะมีรายละเอยี ด น้อยไป แตจ่ ะตอ้ งใชแ้ ผนพัฒนาประจาปี เปน็ แผนขอเงิน 4. แผนปฏิบัติการประจาปี (1 ป)ี ในการขอตั้งงบประมาณตามแผนพฒั นาประจาปใี นข้อ 3 ปกติมักไม่ได้ ตามท่ีกระทรวง ทบวง กรมตา่ งๆขอไป สานกั งบประมาณหรอื คณะกรรมาธกิ ารของรัฐสภามักจะตัดยอดเงนิ งบประมาณท่ีส่วนราชการตา่ งๆขอไปตามความเหมาะสมและจาเปน็ และสภาวการณก์ ารเงินงบประมาณของ ประเทศท่ีจะพงึ มีภายหลังทสี ่วนราชการตา่ งๆ ไดร้ ับงบประมาณจริงๆแลว้ จาเปน็ ทีจ่ ะต้องปรบั แผนพัฒนา ประจาปที จ่ี ดั ทาข้นึ เพอื่ ขอเงนิ ใหส้ อดคลอ้ งกบั เงนิ ทไ่ี ด้รับอนมุ ตั ิ ซึ่งเรยี กว่าแผนปฏบิ ตั ิการประจาปขี นึ้

ความหมายของโครงการ พจนานกรมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของคาโครงการว่า หมายถึง \"แผนหรอื เคา้ โครงการตามที่กะกาหนดไว้\"โครงการเป็นสว่ นประกอบส่วนหนง่ึ ในการวางแผนพัฒนาซึง่ ชว่ ยใหเ้ หน็ ภาพ และ ทศิ ทางการพัฒนา ขอบเขตของการทส่ี ามารถตดิ ตามและประเมินผลได้ โครงการเกิดจากลักษณะความพยายามทีจ่ ะจัดกิจกรรม หรอื ดาเนนิ การให้บรรจวุ ัตถุประสงค์เพือ่ บรรเทา หรอื ลดหรือขจัดปญั หา และความต้องการทัง้ ในสภาวการณป์ จั จบุ ันและอนาคต โครงการโดยท้ัวไป สามารถแยกได้ หลายประเภท เชน่ โครงการเพือ่ สนองความตอ้ งการ โครงการพัฒนาทวั่ ๆไป โครงการตามนโยบายเรง่ ด่วน เป็น ตน้ องค์ประกอบของโครงการ องคป์ ระกอบพนื้ ฐานในโครงการแตล่ ะโครงการนัน้ ควรจะมดี งั น้ี 1.ชื่อแผนงาน เปน็ การกาหนดช่ือใหค้ รอบคลมุ โครงการเดยี วหรอื หลายโครงการท่มี ีลักษณะงานไปใน ทิศทางเดยี วกนั เพอื่ แกไ้ ขปัญหาหรือสนองวตั ถุประสงค์หลักทีก่ าหนดไว้ 2.ชอ่ื โครงการ ใหร้ ะบุชือ่ โครงการตามความเหมาะสม มคี วามหมายชดั เจนและเรยี กเหมอื นเดิมทุกครง้ั จนกว่าโครงการจะแลว้ เสร็จ 3.หลักการและเหตผุ ล ใชช้ แ้ี จงรายละเอยี ดของปัญหาและความจาเป็นทีเ่ กดิ ขน้ึ ทจ่ี ะต้องแกไ้ ข ตลอดจน ชีแ้ จงถึงประโยชน์ที่จะได้รบั จากการดาเนินงานตามโครงการและหากเป็นโครงการท่ีจะดาเนินการตามนโยบาย หรือสอดคล้องกบั แผนจังหวดั หรอื แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ หรอื แผน อนื่ ๆ กค็ วรช้แี จงดว้ ย ท้ังน้ี ผู้เขยี นโครงการ บางทา่ นอาจจะเพมิ่ เตมิ ขอ้ ความวา่ ถา้ ไมท่ าโครงการดงั กล่าวผลเสียหายโดยตรง หรือผลเสยี หาย ในระยะยาวจะเปน็ อยา่ งไร เพ่อื ให้ผู้อนุมัตโิ ครงการได้เห็นประโยชนข์ องโครงการกว้างขวางขึ้น 4.วัตถุประสงค์ เปน็ การบอกใหท้ ราบวา่ การดาเนินงานตามโครงการน้นั มคี วามต้องการใหอ้ ะไรเกดิ ข้นึ วตั ถปุ ระสงคท์ ค่ี วรจะระบไุ ว้ควรเปน็ วตั ถุประสงคท์ ี่ชัดเจน ปฏบิ ตั ิไดแ้ ละวัดและประเมนิ ผลได้ ในระยะหลัง ๆ น้ี นักเขียนโครงการทีม่ ผี ู้นยิ มชมชอบมักจะเขยี นวตั ถปุ ระสงคเ์ ป็นวตั ถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม คอื เขียนใหเ้ ปน็ รูปธรรม มากกว่าเขียนเปน็ นามธรรม การทาโครงการหนึ่ง ๆ อาจจะมีวัตถุประสงค์ มากกว่า 1 ข้อได้ แตท่ ้ังน้กี ารเขียน วัตถปุ ระสงค์ไว้มาก ๆ อาจจะทาใหผ้ ูป้ ฏิบตั ิมองไม่ชัดเจน และอาจ จะดาเนินการใหบ้ รรลุวตั ถุประสงค์ไม่ได้ ดังนัน้ จึงนยิ มเขียนวัตถุประสงคท์ ี่ชดั เจน-ปฏบิ ัติได-้ วัดได้ เพยี ง 1-3 ขอ้ 5.เป้าหมาย ใหร้ ะบุว่าจะดาเนินการสิง่ ใด โดยพยายามแสดงให้ปรากฏเปน็ รูปตัวเลขหรือจานวนท่จี ะทาได้ ภายในระยะเวลาท่กี าหนด การระบเุ ปา้ หมาย ระบุเป็นประเภทลกั ษณะและปรมิ าณ ให้สอดคลอ้ งกับวตั ถุ ประสงค์และความสามารถในการทางานของผู้รับผิดชอบโครงการ 6.วิธดี าเนนิ การหรอื กจิ กรรมหรือขน้ั ตอนการดาเนินงาน คอื งานหรอื ภารกิจซ่ึงจะต้องปฏบิ ัตใิ นการดาเนนิ โครงการให้บรรลุตามวตั ถุประสงค์ ในระยะการเตรยี มโครงการจะรวบรวมกิจกรรมทกุ อยา่ งไวแ้ ลว้ นามาจัดลาดับ ว่าควรจะทาสิ่งใดก่อน-หลงั หรอื พรอ้ ม ๆ กนั แล้วเขยี นไว้ตามลาดบั จนถึงข้นั ตอนสดุ ท้ายทท่ี าใหโ้ ครงการบรรลุ วตั ถุประสงค์ 7.ระยะเวลาการดาเนินงานโครงการ คือการระบรุ ะยะเวลาตั้งแต่เร่ิมตน้ โครงการจนเสรจ็ สิ้นโครงการ ปจั จุบนั นิยมระบุ วัน-เดือน-ปี ทเี่ ร่ิมตน้ และเสรจ็ ส้ิน การระบจุ านวน ความยาวของโครงการเชน่ 6 เดอื น 2 ปี โดย ไมร่ ะบุเวลาเริ่มต้น-ส้ินสดุ เปน็ การกาหนดระยะเวลาทีไ่ มส่ มบูรณ์

8.งบประมาณ เปน็ ประมาณการคา่ ใช้จ่ายทง้ั สนิ้ ของโครงการ ซึ่งควรจาแนกรายการคา่ ใช้จ่ายไดอ้ ย่าง ชัดเจน งบประมาณอาจแยกออกได้เป็น 3 ประเภท คือ - เงินงบประมาณแผน่ ดิน - เงนิ กแู้ ละเงินช่วยเหลอื จากตา่ งประเทศ - เงินนอกงบประมาณอนื่ ๆ เชน่ เงินเอกชนหรือองคก์ ารเอกชน เปน็ ตน้ การระบยุ อดงบประมาณ ควรระบแุ หล่งทีม่ าของงบประมาณดว้ ย นอกจากน้ีหวั ขอ้ น้ีสามารถระบุ ทรพั ยากรอนื่ ทตี่ ้องการ เชน่ คน วัสดุ ฯลฯ 9. เจา้ ของโครงการหรอื ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ เปน็ การระบเุ พอื่ ให้ทราบว่าหน่วยงานใดเปน็ เจ้าของหรือ รับผดิ ชอบโครงการ โครงการยอ่ ย ๆ บางโครงการระบเุ ป็นชือ่ บุคคลผรู้ ับผิดชอบเปน็ รายโครงการได้ 10.หน่วยงานทใ่ี ห้การสนบั สนนุ เป็นการให้แนวทางแกผ่ ู้อนมุ ตั ิและผ้ปู ฏิบัติว่าในการดาเนนิ การโครงการ น้นั ควรจะประสานงานและขอความรว่ มมอื กบั หน่วยงานใดบ้าง เพอื่ บรรลุวตั ถปุ ระสงค์ทต่ี ้ังไว้ 11.การประเมนิ ผล บอกแนวทางวา่ การติดตามประเมนิ ผลควรทาอย่างไรในระยะเวลาใดและใช้วธิ ีการ อยา่ งไรจงึ จะเหมาะสม ซึ่งผลของการประเมนิ สามารถนามาพจิ ารณาประกอบการดาเนินการ เตรยี มโครงการท่ี คลา้ ยคลึงหรือเก่ยี วขอ้ งในเวลาตอ่ ไป 12.ผลประโยชนท์ ีค่ าดวา่ จะไดร้ ับ เมือ่ โครงการน้ันเสรจ็ ส้นิ แลว้ จะเกดิ ผลอย่างไรบ้างใครเปน็ ผไู้ ด้รบั เรอ่ื ง น้สี ามารถเขยี นทั้งผลประโยชนโ์ ดยตรงและผลประโยชนใ์ นดา้ นผลกระทบของโครงการด้วยได้ ลักษณะโครงการท่ดี ี โครงการทดี่ ีมลี กั ษณะดงั นี้ 1. เปน็ โครงการท่สี ามารถแก้ปญั หาของทอ้ งถน่ิ ได้ 2. มรี ายละเอียด เน้อื หาสาระครบถ้วน ชดั เจน และจาเพาะเจาะจง โดยสามารถตอบคาถามตอ่ ไปนี้ไดค้ อื - โครงการอะไร = ชือ่ โครงการ - ทาไมจงึ ตอ้ งริเร่มิ โครงการ = หลักการและเหตุผล - ทาเพ่ืออะไร = วัตถุประสงค์ - ปรมิ าณท่ีจะทาเท่าไร = เป้าหมาย - ทาอยา่ งไร = วธิ ีดาเนินการ - จะทาเมอ่ื ไร นานเทา่ ใด = ระยะเวลาดาเนนิ การ - ใชท้ รพั ยากรเท่าไรและได้มาจากไหน = งบประมาณ แหลง่ ที่มา - ใครทา = ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ - ตอ้ งประสานงานกบั ใคร = หนว่ ยงานท่ใี หก้ ารสนับสนุน - บรรลุวัตถุประสงคห์ รือไม่ = การประเมนิ ผล - เมื่อเสรจ็ สน้ิ โครงการแลว้ จะได้อะไร = ผลประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รบั 3. รายละเอียดของโครงการดงั กล่าว ตอ้ งมคี วามเกยี่ วเนือ่ งสมั พนั ธ์กัน เชน่ วตั ถุประสงคต์ ้องสอดคลอ้ ง กับหลักการและเหตผุ ล วิธดี าเนนิ การตอ้ งเปน็ ทางที่ทาใหบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ได้ ฯลฯ เป็นต้น

4. โครงการท่รี เิ ร่มิ ข้ึนมาต้องมผี ลอย่างนอ้ ยทส่ี ุดอยา่ งใดอยา่ งหนึ่งในหวั ข้อตอ่ ไปน้ี - สนองตอบ สนับสนุนต่อนโยบายระดบั จังหวดั หรือนโยบายสว่ นรวมของประเทศ - กอ่ ให้เกดิ การพัฒนาทง้ั เฉพาะส่วนและการพฒั นาโดยสว่ นรวมของประเทศ - แก้ปญั หาทเ่ี กิดข้นึ ไดต้ รงจุดตรงประเด็น 5. รายละเอียดในโครงการมพี อทจี่ ะเป็นแนวทางให้ผอู้ ืน่ อา่ นแลว้ เข้าใจ และสามารถดาเนนิ การตาม โครงการได้ 6. เป็นโครงการทป่ี ฏิบตั ิได้และสามารถติดตามและประเมนิ ผลได้ แนวทางการอนรุ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาติ การเพิม่ ประชากรอยา่ งรวดเร็ว (Exponential) ทาใหม้ ีการนาทรัพยากรธรรมชาตมิ าใชส้ นองความต้องการ ในการดารงชวี ิตมากยิ่งขนึ้ ท้ังทางด้านปริมาณและคุณภาพ ซ่งึ บางครงั้ เกินความจาเป็น จนทาใหร้ ะบบนเิ วศตา่ ง ๆ เสียสมดุล ทรัพยากรธรรมชาติบางอยา่ งเสอื่ มโทรม ร่อยหรอหรือเกดิ การเปล่ยี นแปลงจนไมส่ ามารถเออื้ ประโยชน์ ไดเ้ ช่นเดิม จึงมคี วามจาเป็นอยา่ งยิง่ ทจ่ี ะต้องหาวธิ กี าร หรอื มาตรการในการใช้ทรพั ยากรธรรมชาตอิ ยา่ งเหมาะสม และมเี หตผุ ลเพียงพอ ท้ังนีร้ วมไปถึงการควบคุมขนาดประชากรโลกใหม้ คี วามเหมาะสมกับทรัพยากรของโลก ขณะเดียวกนั ก็ต้องอนรุ ักษ์สง่ิ แวดลอ้ มควบคไู่ ปด้วย ในการอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาตติ ามหัวขอ้ ที่ 3.1.3น้ัน ควร เน้นทรพั ยากรธรรมชาติประเภทท่ี 1 และ2 โดยมมี าตรการท่ีทาใหส้ ามารถใช้ประโยชนไ์ ดต้ ลอดไปท้งั ดา้ นปริมาณ และคณุ ภาพ ส่วนทรพั ยากรธรรมชาตปิ ระเภทที่ 3 และ 4 ควรใชก้ ันอยา่ งประหยัดและเหมาะสม ทรัพยากรธรรมชาตทิ ี่ใช้แลว้ หมดส้ินไปควรใช้อย่างประหยดั ทสี่ ดุ แนวคดิ การพฒั นาแบบย่ังยนื (Sustainable Development-S.D.) WCED World Commission on Environment and Development ไดใ้ ห้ความหมายของการพัฒนา แบบย่ังยนื ไว้ว่า เปน็ การพฒั นา ท่สี ามารถตอบสนอง ต่อความต้องการขั้นพ้นื ฐาน ของคนในรุน่ ปัจจุบนั เชน่ อาหาร เคร่ืองนงุ่ ห่ม ยารักษาโรค ท่อี ยอู่ าศยั ฯลฯ โดยไมท่ าให้ ความสามารถ ในการตอบสนอง ความต้องการ ดังกล่าว ของคนรนุ่ ตอ่ ไปต้องเสียไป (\" Development that meets the needs of the present without compromising the ability of Future generation to meet their own needs\") ซ่งึ เพือ่ พิจารณาแล้ว จะเหน็ ว่า S.D เป็นเร่อื งเกยี่ วขอ้ ง กบั ความเทา่ เทียมกัน ของคนในปัจจบุ นั รุ่นเดียวกัน และความเท่าเทียมกนั ของคนระหว่างรุ่นปัจจุบัน และรุ่นต่อไป เปน็ ความเท่าเทยี มกัน ท่มี ุง่ ให้เกดิ ความยุตธิ รรม ในการกระจายความมัง่ คง่ั (รายได้) และการใหท้ รัพยากร ตลอดจนการอนุรักษ์ สิง่ แวดลอ้ มโดย S.D. จะเกย่ี วขอ้ ง กบั ความสมั พนั ธ์ของระบบ 3 ระบบ คือ ระบบนเิ วศ/ส่งิ แวดลอ้ ม ระบบเศรษฐกจิ และระบบสังคม มเี ป้าหมายคอื การทาใหบ้ รรลุเปา้ หมายทง้ั 3 ระบบนใ้ี หม้ ากท่สี ุด เพ่ือให้มคี วามเจรญิ เติบโต พร้อมกนั จากคนในร่นุ ปจั จุบนั และ มีความย่ังยนื ไปจนถึงลกู หลานในอานาคต แนวทางการพัฒนาทรพั ยากรมนุษยเ์ พ่อื ส่ิงแวดลอ้ ม มนษุ ยเ์ ป็นผูใ้ ช้ทรัพยากรโดยตรง ซ่งึ ยอ่ มจะตอ้ งไดร้ ับผลกระทบ อันเนือ่ งมาจากการเปล่ียนแปลง ของ สิ่งแวดล้อม ถ้าหากพจิ ารณา ถงึ ปญั หาส่ิงแวดล้อมแลว้ จะเหน็ ไดว้ ่า ลว้ นเป็นเหตุมาจาก การเพิ่มจานวนประชากร และการเพ่ิมปริมาณ การบรโิ ภคทรัพยากร ของมนษุ ย์เอง โดยม่งุ ยกระดบั มาตรฐาน การดารงชีวติ และมกี ารผลิต เครื่องอปุ โภคมากขน้ึ มีการนาใช้ ทรัพยากรธรรมชาตมิ ากขน้ึ กอ่ ให้เกิดสารพษิ อยา่ งมากมาย ส่ิงแวดล้อมหรอื

ธรรมชาติ ไม่สามารถจะปรบั ตวั ไดท้ นั และทาใหธ้ รรมชาติ ไมส่ ามารถรักษาสมดุลไวไ้ ด้ อันจะสง่ ผลตอ่ มนษุ ยแ์ ละ โลกในทสี่ ดุ ปญั หาสิง่ แวดล้อมทีเ่ กิดขึน้ น้ี จะเหน็ ไดว้ ่า เกิดจากการขาดความรู้ ความเข้าใจในความเป็นจรงิ ของ ส่งิ แวดล้อม และธรรมชาติ ขาดความรคู้ วามเข้าใจ ในความเปน็ จริงของชีวติ และองค์ประกอบอ่ืน ของความเปน็ มนุษย์ โดยท่มี นษุ ย์เอง กเ็ ป็นสว่ นหนง่ึ ของส่ิงแวดล้อม และธรรมชาติ ดังนน้ั การนาความรู้ ความเขา้ ใจ มา ปรับปรงุ พฒั นาการดารงชวี ติ ของมนุษยใ์ หก้ ลมกลืน กบั สง่ิ แวดล้อม จึงน่าจะเป็น มาตราการท่ดี ีทส่ี ดุ ในการที่จะ ทาใหม้ นุษย์ สามารถท่จี ะดารงชวี ติ อยูไ่ ด้ อยา่ งมน่ั คง มคี วามสอดคลอ้ ง และสามารถกลมกลืน กับสิ่งแวดลอ้ มได้ ทงั้ ในปัจจบุ ัน และอนาคต แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพอ่ื สิง่ แวดลอ้ มควรมดี งั นี้ 1. การให้การศกึ ษาเกย่ี วกบั สงิ่ แวดล้อม โดยเนน้ ให้ผเู้ รยี น ได้รจู้ ักธรรมชาติ ทอ่ี ยู่รอบตวั มนษุ ย์อยา่ ง แท้จรงิ โดยให้มกี ารศกึ ษาถึง นิเวศวิทยา และความสมั พนั ธ์ ระหว่างมนษุ ย์ และส่งิ แวดลอ้ ม เพอ่ื ใหม้ คี วามรู้จรงิ ใน การดารงชีวติ ใหผ้ สมกลมกลืน กบั ธรรมชาติที่อยูโ่ ดยรอบ ไดม้ ่งุ สอน โดยยึดหลักศาสนา โดยสอนให้คนมชี ีวิต ความเปน็ อยู่อยา่ งเรยี บง่าย ไมท่ าลายชีวิตอน่ื ๆ ทอ่ี ยู่ในธรรมชาติดว้ ยกัน พิจารณาถึง ความเปน็ ไปตามธรรมชาตทิ ี่ เป็นอยู่ ยอมรับความเปน็ จริง ของธรรมชาติ และยอมรบั ความจรงิ น้นั โดยไมฝ่ ืนธรรมชาติ ใช้ประโยชนจ์ าก ธรรมชาติ อย่างสิ้นเปลอื งนอ้ ยทสี่ ดุ ทาให้เกิดทรพั ยากรมนษุ ย์ ทม่ี ีคุณภาพเป็นท่ตี อ้ งการ ของสังคมและ ประเทศชาติ ในการพฒั นา 2. การสร้างจติ สานึกแห่งการอนุรักษส์ งิ่ แวดล้อม เป็นการทาให้บคุ คล เหน็ คุณคา่ และตระหนัก ใน สิ่งแวดลอ้ มและธรรมชาติ รวมทั้งผลกระทบ จากการทากจิ กรรม ทีส่ ง่ ผลตอ่ สงิ่ แวดล้อม สร้างความรสู้ กึ รบั ผดิ ชอบตอ่ ปญั หาท่ีเกิดขึ้น ระหวา่ งสง่ิ แวดลอ้ ม และการพัฒนา การสรา้ งจิตสานึก โดยการให้การศกึ ษา เกี่ยวกับส่ิงแวดล้อม จะเป็นพืน้ ฐานในการพฒั นาจติ ใจ ของบคุ คล และยงั มผี ลตอ่ พฤตกิ รรม ของบคุ คล ใหม้ ีการ เปล่ียนแปลง การดาเนินชวี ิต ไดอ้ ย่างเหมาะสม สอดคล้องกลมกลนื กบั ธรรมชาติ 3. การส่งเสริมใหม้ กี ารปรับเปลย่ี นพฤติกรรมโดยให้เอื้อตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม ดารงชวี ิต โดยสอดคลอ้ งกบั ธรรมชาติ ซ่ึงการปรบั เปล่ยี น พฤติกรรม ที่เออ้ื ตอ่ ส่งิ แวดล้อมนี้ จะเป็นสิ่งทเี่ กดิ ตามมา จากการให้การศกึ ษา และ การสร้างจติ สานึก ทาให้มีการดารงชีวติ โดยไม่เบยี ดเบยี นธรรมชาติ

บรรณานกุ รม http://www.kiriwong.net/nakhonsawan/km5.htm http://galyani.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8 %9A%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0 http://www.rmuti.ac.th/user/thanyaphak/Web%20EMR/Web%20IS%20Environment%20gr.3/pa ge13_tem.htm


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook