Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย 2564-2568-1-38

แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย 2564-2568-1-38

Published by blackcat2529, 2021-10-18 04:10:07

Description: แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย 2564-2568-1-38

Search

Read the Text Version

แผนพัฒนามหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลยั พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๘

อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบญั ญัติมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๐ ประกอบกับมตทิ ปี่ ระชมุ สภามหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลยั ในคราวประชุมครั้งที่ ๑๒/๒๕๖๓ เมอ่ื วันที่ ๒๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ จึงประกาศแผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๘ โดยมีผลบังคับใช้ ต้งั แตว่ นั ท่ี ๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๖๓ เปน็ ต้นไป (สมเดจ็ พระมหาวีรวงศ)์ อปุ นายกสภามหาวทิ ยาลยั ปฏิบัติหนา้ ทแ่ี ทนนายกสภามหาวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลัย

ก คานา แผนพฒั นามหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลัย ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๘) ฉบบั น้ี จัดทาข้ึน เพื่อใช้เป็นกรอบในการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เพื่อให้การปฏิบัติการของ แต่ละหน่วยงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นรูปธรรมในระยะเวลา ๕ ปีข้างหน้า โดยคานึงถึงเป้าหมาย การพัฒนาประเทศในระยะยาวภายใต้กรอบยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี และมีความสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ ด้านอน่ื ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง ตามสถานการณ์ท่มี กี ารเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเร็วในสังคมโลกยุคปัจจุบนั ม ห า วิ ท ย า ลั ย ม ห า ม กุ ฏ ร า ช วิ ท ย า ลั ย ไ ด้ ก า ห น ด ทิ ศ ท า ง ใ น ก า ร พั ฒ น า ม ห า วิ ท ย า ลั ย อ อ กเ ป็ น ๕ ยุทธศาสตร์ ๒๙ เป้าหมาย และ ๓๘ ตัวชี้วัด เพ่ือให้สามารถก้าวเป็นมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนา ในระดับนานาชาติ เป็นการเปิดโอกาสให้พลเมืองโลกอันมีความหลากหลายทางชาติพันธ์ุและวัฒนธรรม สามารถเข้าถึงหลักธรรมของพระพุทธศาสนา สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต และสามารถบูรณาการ องค์ความรู้จากสหวิทยาการให้เกิดงานวิจัยในระดับสากล โดยเน้นการพัฒนาจิตใจและการน้อมนาปรัชญา พระพุทธศาสนามาประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาคนให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ด้วยภูมิปัญญา (Human Wisdom) รวมทั้ง การเยียวยาฟื้นฟูจิตใจให้มีคุณธรรมจริยธรรมมากขึ้น ทั้งนี้เพ่ือพัฒนามหาวิทยาลัยสู่วิสัยทัศน์ท่ีว่า “ร่วมพัฒนา พลเมืองโลก ด้วยการผสานแก่นแท้ของพระพุทธศาสนา ที่ม่ันคง ให้ดารงอยู่ในฐานะโครงสร้างพ้ืนฐานทางปัญญา ของมนษุ ย์ในอนาคต” แผนพัฒนามหาวิทยาลัยฉบับนี้ ได้มีการดาเนินการตามแนวคิด \"ร่วมพัฒนา มมร. ไปด้วยกัน\" ผา่ นการรับฟังข้อเสนอแนะของบุคลากรมหาวิทยาลยั ทุกภาคส่วน รวมไปถึงกรรมการสภามหาวิทยาลัยและผทู้ รงคุณวุฒิ ในด้านต่าง ๆ ที่ได้ให้คาแนะนาแก่มหาวิทยาลัยด้วยดีตลอดมาจนสัมฤทธิผล และมหาวิทยาลัยจะได้นาไปเป็น แนวทางแห่งการพฒั นาให้บรรลุวัตถปุ ระสงคต์ ง้ั แต่ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ เป็นต้นไป (พระราชปฏิภาณโกศล, ผศ.ดร.) อธกิ ารบดี มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย

สารบญั ข คานา หนา้ สารบัญ ประวตั ิและความเป็นมาของมหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลัย ก การดาเนินการในปี ๒๕๖๒ – ๒๕๖๓ เพอ่ื เตรียมการประกาศใช้แผนพัฒนามหาวิทยาลยั ฉบับใหม่ ข กระบวนการดาเนินการจัดทาแผนพฒั นามหาวทิ ยาลัยฉบับใหม่ พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๘ ๑-๒ สาระสาคัญแผนพฒั นามหาวิทยาลัย ๓-๘ วถิ ีแห่งการพฒั นา ๘-๙ ปริยตั ิ : วิถีที่ ๑ สบื สาน ส่งตอ่ ต่อยอด ๑๐-๑๔ ประยุกต์ : วถิ ที ่ี ๒ ผสาน สรา้ งสรรค์ อยา่ งลึกซ้งึ ๑๕-๑๖ ปฏิบตั ิ : วถิ ีท่ี ๓ ค้นหา “ตน” เตมิ “คน” เสริมสร้าง “สังคม” ๑๗-๒๐ ปฏิบถ : วิถีท่ี ๔ ฟ้ืนฟู เยียวยา นาพากลับสู่ ความสว่าง สงบ ๒๑-๒๔ ปฏริ ปู : วถิ ที ี่ ๕ พลกิ เปลย่ี น ปรบั รบั การเปลีย่ นแปลง ๒๕-๒๘ ภาคผนวก ๒๙-๓๑ ๓๒-๓๔ ๓๕-๕๖

๑ ประวัติและความเปน็ มาของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประวัติความเป็นมาของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย อาจจาแนกตามระยะเวลาที่ได้พัฒนามาจนถึง ปัจจบุ นั (พ.ศ. ๒๕๖๓) ได้ ๓ ยคุ ดังน้ี ยคุ ท่ี ๑ : ยคุ เปน็ วิทยาลัย (พ.ศ. ๒๔๓๖ – ๒๔๘๘) “มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย” เดิมเป็นวิทยาลัยเรียกว่า “มหามกุฏราชวิทยาลัย” ได้รับการสถาปนา (จดั ตง้ั ) ขึน้ โดยพระบรมราชานุญาตในพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั รชั กาลท่ี ๕ เม่ือวันท่ี ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๓๖ (ร.ศ.๑๑๒) ซ่งึ เปน็ วนั คลา้ ยกบั วันสวรรคตของพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยูห่ ัว พระสยามเทวมหามกฏุ วทิ ยมหาราช รัชกาลที่ ๔ และได้พระราชทานนามว่า “มหามกุฏราชวิทยาลัย” เพื่อถวายเป็นพระบรมราชานุสรณ์เฉลิมพระเกียรติแด่ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระสยามเทวมหามกุฏวิทยมหาราช ผู้ทรงเป็นปราชญ์ทางพระพุทธศาสนา ท่ีสาคัญพระองค์หน่ึงของไทย และทรงต้ังวัตถุประสงค์ของการสถาปนา “มหามกุฏราชวิทยาลัย” ไว้ตอนหนึ่งว่า “เพ่ือเป็นที่ เล่าเรียนศึกษาพระปริยัติธรรมของภิกษุสามเณร” ดังแจ้งความของกระทรวงธรรมการ ลงวันท่ี ๒๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๓๖ (ร.ศ.๑๑๒) ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ๑๐ หน้า ๕๒๖ ยคุ ท่ี ๒ : ยุคเป็นมหาวทิ ยาลยั พระพุทธศาสนา (พ.ศ. ๒๔๘๘ – ๒๕๔๐) ในยุคนี้เร่ิมจากปี พ.ศ. ๒๔๘๘ โดยกรรมการมหามกุฏราชวิทยาลัย ซึ่งมีสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ ขณะทรงดารงสมณศักด์ิเป็นสมเด็จพระวชิรญาณวงศ์ สมเด็จพระสังฆราช ทรงเป็นนายกกรรมการ ได้มีมติให้จดั ตัง้ มหาวทิ ยาลัยพระพุทธศาสนาข้นึ เรียกวา่ “สภาการศึกษามหามกุฏราชวิทยาลัย มหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนา แห่งประเทศไทย” กล่าวได้ว่า มหามกุฏราชวิทยาลัยพัฒนาขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนาเป็นไปตามท่ีสมเด็จพระมหา สมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงพระดาริไว้เมื่อคร้ังที่พระองค์ยังทรงพระชนม์อยู่ และได้เปิดทาการสอนในรูปแบบของ มหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนา เม่ือวันท่ี ๑๖ กันยายนพ.ศ. ๒๔๘๙ และมีวัตถุประสงค์ตามท่ีสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส ทรงตัง้ ไว้ ๓ ประการ คอื (๑) เพ่อื เป็นสถานทศ่ี กึ ษาพระปรยิ ตั ธิ รรมของพระสงฆ์ (๒) เพ่อื เปน็ สถานท่ีศึกษาวิทยา ซ่งึ เปน็ ของชาติภมู แิ ละต่างประเทศแห่งกลุ บตุ รทัง้ หลาย (๓) เพ่อื เป็นสถานที่จดั สงั่ สอนพระพุทธศาสนา จากวัตถุประสงค์ดังกล่าวนี้ แสดงให้เห็นว่า สมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ ทรงมีพระดาริ ในเรื่องการศึกษาที่ กว้างไกล ทรงเห็นว่าพระภิกษุสามเณรน้ันควรจะได้ศึกษาทั้งความรู้ทางพระศาสนาและความรู้อ่ืน ๆ ท่ีจะเป็นประโยชน์ ต่อการดาเนนิ ชวี ิตอยู่ในสังคม ซ่งึ ทรงเรยี กวา่ “วทิ ยา” อันเปน็ ของชาติภูมแิ ละตา่ งประเทศ เพราะความรู้ดังกล่าวน้ี แม้จะ ไม่เป็นประโยชน์ต่อการพระศาสนาโดยตรง แต่ก็จะเป็นสื่อกลางและปัจจัยเก้ือหนุนต่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ทั้งใน ระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ และเปน็ ประโยชนต์ ่อบ้านเมือง ไม่ว่าพระภิกษุสามเณรนั้นจะยังคงอยู่ในสมณเพศ หรือลาสิกขา ออกไปเปน็ พลเมอื งของชาติ ในยุคท่ี ๒ (ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๖) เมื่อนักศึกษาเพ่ิมมากขึ้น มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย จึงได้ขยาย การศึกษาจากส่วนกลางออกสสู่ ว่ นภูมภิ าค โดยจดั ต้งั เปน็ วทิ ยาเขต ๗ แห่ง และวิทยาลัย ๑ แหง่ รวมเป็น ๘ แห่ง คอื (๑) วทิ ยาเขตมหาวชริ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ต้ังอยูท่ ่ี จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา (๒) วิทยาเขตสริ ินธรราชวิทยาลัย ต้ังอยทู่ ่ี จงั หวัดนครปฐม (๓) วทิ ยาเขตอสี าน ตง้ั อยู่ที่ จังหวดั ขอนแก่น (๔) วทิ ยาเขตล้านนา ต้ังอย่ทู ี่ จังหวดั เชยี งใหม่

๒ (๕) วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช ตงั้ อยทู่ ี่ จังหวัดนครศรีธรรมราช (๖) วทิ ยาเขตรอ้ ยเอด็ ตัง้ อยทู่ ี่ จังหวดั ร้อยเอ็ด (๗) วิทยาเขตศรีล้านช้าง ตั้งอยทู่ ี่ จังหวัดเลย (๘) มหาปชาบดเี ถรวี ิทยาลยั ตั้งอย่ทู ่ี จังหวดั นครราชสีมา ครัน้ ตอ่ มาในปี พ.ศ. ๒๕๓๐ มหาวทิ ยาลัยไดต้ ระหนกั ว่าวชิ าการทางพระพุทธศาสนา เปน็ สิง่ จาเป็นและ มีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนา และผู้เผยแผ่พระพุทธศาสนาจาเป็นต้องมีความรู้ความสามารถใน การสอนธรรมะที่ทันสมัย และทนั ตอ่ ความเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกและวิทยาการด้านต่าง ๆ จึงอนุมัติให้เปิดดาเนินการ จัดต้งั โครงการบณั ฑติ ศึกษาขน้ึ เพื่อเปดิ สอนในระดบั ปรญิ ญาโท และปริญญาเอก เรียกว่า “บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย มหามกุฏราชวิทยาลัย” เม่ือวันที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๐ โดยได้เปิดสอนในระดับปริญญาโท ครั้งแรกเมื่อวันท่ี ๓ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๓๑ ยุคที่ ๓ : ยคุ เป็นมหาวทิ ยาลยั ของรัฐ (พ.ศ. ๒๕๔๐ - ปจั จบุ ัน) มหาวทิ ยาลัยพระพทุ ธศาสนา อนั มนี ามวา่ “สภาการศกึ ษามหามกฏุ ราชวิทยาลัย” ได้พัฒนามาเป็นมหาวิทยาลัย ของรัฐ ได้นามใหม่ว่า “มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย” โดยพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลท่ี ๙) ทรงมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและ ใหต้ ราพระราชบัญญัติขึ้นเรียกว่า “พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๐” กล่าวได้ว่า มหาวิทยาลัย มหามกฏุ ราชวิทยาลัย จัดต้งั ขนึ้ ตามพระราชบัญญัติดงั กล่าว เปน็ นติ ิบคุ คล และเป็นมหาวทิ ยาลยั ของรัฐ มวี ตั ถปุ ระสงคใ์ นการให้ การศึกษาที่กว้างกว่าเดิม คือ ให้การศึกษา วิจัย ส่งเสริมและให้บริการทางวิชาการพระพุทธศาสนาแก่พระภิกษุสามเณรและ คฤหัสถ์ รวมทั้งทะนบุ ารุงศิลปวฒั นธรรม (มาตรา ๖) ยุคที่ ๓ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยเปิดการสอนระดับปริญญาเอกคร้ังแรก ในวันที่ ๑๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ และปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ได้ขยายการศกึ ษาจากวทิ ยาเขตร้อยเอด็ โดยจดั ตง้ั เป็นวทิ ยาลัยเพ่ิมอกี ๒ แหง่ คอื (๑) วทิ ยาลยั ศาสนศาสตรย์ โสธร ตัง้ อยู่ทจ่ี งั หวดั ยโสธร (๒) วทิ ยาลยั ศาสนศาสตรเ์ ฉลิมพระเกยี รติกาฬสินธุ์ ตงั้ อย่ทู ่จี งั หวดั กาฬสินธ์ุ ปัจจบุ ัน มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลยั ได้เปดิ สอนตามหลกั สูตรสาขาวิชาตา่ ง ๆ ต้ังแต่ระดับปริญญาตรี ปรญิ ญาโท และปริญญาเอก คณะวชิ า ๕ คณะ คอื (๑) บณั ฑิตวิทยาลยั (๒) คณะศาสนาและปรัชญา (๓) คณะมนุษยศาสตร์ (๔) คณะสังคมศาสตร์ (๕) คณะศกึ ษาศาสตร์

๓ การดาเนนิ การในปี ๒๕๖๒ – ๒๕๖๓ เพื่อเตรยี มการประกาศใช้แผนพฒั นามหาวิทยาลัยฉบับใหม่ ในการเตรียมการประกาศใช้แผนพัฒนามหาวิทยาลัยฉบับใหม่ มหาวิทยาลัยได้ดาเนินการเพื่อให้สามารถ ก้าวเป็นมหาวิทยาลัยพระพทุ ธศาสนาในระดบั นานาชาติ และเปิดโอกาสให้พลเมืองโลกหลากหลายชาติพันธุ์และวัฒนธรรม ได้สามารถเข้าถึงหลักธรรมคาสอน รวมท้ังการประยุกต์ใช้ในวิถีชีวิต และการบูรณาการองค์ความรู้สหวิทยาการให้เกิด งานวิจัยและผลสมั ฤทธใ์ิ นระดบั สากล เน้นการพฒั นาจิตใจและการน้อมนาปรชั ญาพทุ ธศาสนามาประยุกต์ใชเ้ พ่ือพัฒนาคน ให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ด้วยภูมิปัญญา (Human Wisdom) และการเยียวยาฟ้ืนฟูจิตใจให้มีคุณธรรมจริยธรรมมากขึ้น อันจะเป็นการเสริมสร้างสังคมให้เข้มแข็งท่ามกลางกระแสวัตถุนิยม บทบาทของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยใน ยุคดิจิทัลนี้ จึงต้องมีการเปลี่ยนผ่าน (Digital Transformation) และทบทวนอย่างเป็นข้ันตอนเพ่ือให้สามารถพัฒนา อยา่ งมน่ั คงและสามารถเปน็ องคก์ รสาคญั ในการเผยแพร่หลกั คาสอนของพระพทุ ธศาสนาในศตวรรษท่ี ๒๑ ได้อยา่ งถกู ต้อง โดยมีการเตรียมความพรอ้ มใน ๑๐ ดา้ น ดังต่อไปนี้ ๑. การพฒั นามาตรฐานดา้ นวิชาการ บุคลากรสายวชิ าการ และมาตรฐานการวิจยั ของบุคลากร ด้านวิชาการและการพัฒนาหลักสูตร ได้มีการปฏิรูประบบการศึกษาของมหาวิทยาลัย ปรับปรุงหลักสูตร พัฒนาหลักสูตรใหม่เพื่อให้ทันต่อความคิดในยุคดิจิทัลที่ไม่ยึดติดในช่วงช้ันอายุ จะเปิดแนวทางบริหารการศึกษาของ มหาวิทยาลัยที่กว้างขวางขึ้นให้เป็นการศึกษาตลอดชีวิต รวมท้ังการบริหารหน่วยงานของมหาวิทยาลัยในส่วนกลาง วิทยาเขต และวิทยาลัย รวมถึงหน่วยงานภายในทุกส่วนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน โดยปีการศึกษา ๒๕๖๓ เป็นต้นไป หน่วยงานระดับคณะ วิทยาเขต และวิทยาลัย สามารถเปิดหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาได้ตามระเบียบ มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย ว่าด้วยการศึกษาในระดับบณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๓ มหาวิทยาลัยได้มอบหมายให้ทุกคณะ วิทยาเขต และวิทยาลัยจัดการเรียนการสอน ในรูปแบบออนไลน์ใน ปีการศึกษา ๒๕๖๓ โดยสอนควบคู่ไปกับระบบปกติในทุกรายวิชาท่ีเปิดสอน มีส่ือการสอนอิเล็กทรอนิกส์และ เป็นมาตรฐานเดียวกันท้ังมหาวิทยาลัยผ่านการกากับดูแลจากหน่วยงานส่วนกลาง และเป็นการปฏิบัติตามมาตรฐาน ทางสาธารณสุขในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแกน่ กั ศกึ ษา มหาวิทยาลัยมีการพัฒนาระบบวารสารของตนเองให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานศูนย์ดัชนีการอ้างอิง วารสารไทย (Thai Journal Citation Index Centre – TCI) อีกท้ังสานักงานประกันคุณภาพการศึกษาได้พัฒนาระบบ ตรวจประเมินคณุ ภาพการศึกษาผ่านระบบปฏบิ ตั ิการอเิ ลก็ ทรอนิกสซ์ งึ่ เรม่ิ ใชต้ งั้ แต่ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ในการประเมินคุณภาพ การศึกษาระดับสาขาวิชา ในการพัฒนาบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ ได้มีการปรับปรุงข้อบังคับมหาวิทยาลัย ว่าด้วยคุณสมบัติ หลักเกณฑ์และวิธีการแต่งตั้งและถอดถอนตาแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ ให้เป็นไปตามมาตรฐานกลางของ กพอ. และเตรยี มการปรบั ปรุงระเบียบข้อบงั คบั อ่ืน ๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ในสว่ นของมาตรฐานการวิจัยของบุคลากรนั้น มหาวิทยาลัยมีการส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรทุกส่วน งานได้ขอทนุ การดาเนนิ การวจิ ยั จากหนว่ ยงานภายนอกและหน่วยงานภายในตลอดมา ซึ่งในช่วงปีน้ีมีบุคลากรในส่วนงาน ต่าง ๆ ได้รบั ทุนสนบั สนนุ การวิจัยเพิ่มขนึ้ กวา่ ปีท่ีผา่ นมาอยา่ งเห็นได้ชดั

๔ ๒. การพัฒนาหลักสูตรและจัดต้งั สถาบันเพ่ือรองรับหลักสูตรใหม่ มหาวิทยาลัยยังได้เตรียมจัดตั้งหน่วยงานระดับสถาบันในมหาวิทยาลัยเน่ืองในโอกาสครบ ๑๐๐ ปีแห่ง การสิ้นพระชนม์ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส โดยจะเป็นหน่วยงานที่มีภารกิจหลักในการพัฒนา งานวิชาการพระพุทธศาสนา และพัฒนาหลักสูตรท่ีตอบสนองกิจการของคณะสงฆ์ การปกครองและกฎหมายของ คณะสงฆ์ การศึกษาทั้งแผนกบาลีและแผนกธรรม ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการศึกษาพระปริยัติธรรม พ.ศ. ๒๕๖๒ รวมท้ังจัดหลักสูตรท่ีเน้นด้านการศึกษา ศาสนาปรัชญา รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ ภาษาศาสตร์ การดูแลอนุรักษ์ บูรณปฏิสังขรณ์พุทธศิลป์ ศาสนสถาน และศาสนวัตถุ เพื่อนาไปบริหารควบคู่กับงานการปกครอง เน้นหลักสูตร ประกาศนยี บัตรระยะสน้ั (Non-degree) เพ่อื การพัฒนาจิตและเตรียมการจดั ตั้งสถาบันพัฒนาจิตในอนาคต นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยได้เตรียมจัดต้ังวิทยาลัยนานาชาติ เพื่อยกระดับการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยให้ก้าวสู่ ระดับนานาชาติ เปิดโอกาสให้พลเมืองโลกทุกเชื้อชาติและวัฒนธรรมท่ีประสงค์จะศึกษา ด้านพระพุทธศาสนา ปรัชญา ศาสนา เปรียบเทียบ ประวัติศาสตร์พุทธศิลป์ การอบรมพัฒนาจิต เข้ามาศึกษาในหลักสูตรนานาชาติหรือการอบรมระยะสั้นที่บรรยายเป็น ภาษาอังกฤษ สร้างเครือข่ายทางวิชาการระดับนานาชาติและจัดกิจกรรมวิชาการขับเคลื่อนแนวทางการประยุกต์ใช้หลักธรรม ทางพระพุทธศาสนา พฒั นาด้านการวิจยั การบรกิ ารวิชาการ และการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม ๓. การสนับสนุนพระภิกษุสามเณรไปศึกษาต่อต่างประเทศเพื่อพัฒนามาตรฐานทางวิชาการ พระพุทธศาสนาอย่างต่อเนื่อง และการประสานความรว่ มมอื กับหนว่ ยงานภายนอก ในโอกาสครบ ๑๒๖ ปีแห่งการสถาปนามหาวิทยาลัยในวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๒ เจ้าพระคุณ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก โปรดประทานทุนการศึกษาสาหรับพัฒนา ศักยภาพของพระภิกษุสามเณรในด้านวิชาการพระพุทธศาสนาตามปรัชญามหาวิทยาลัย “ความเป็นเลิศทางวิชาการตาม แนวพระพุทธศาสนา” และประทานพระอนุญาตเชิญพระนามจัดตั้งเป็น “ทุนสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อมฺพรมหาเถร) ในพระสังฆราชูปถัมภ์” ทุนการศึกษานี้เป็นทุนทรงโปรดประทานและรวบรวมจากสาธุชนที่ร่วมสมทบตามศรัทธา โดยมี วัตถุประสงค์ให้ถวายแด่พระภิกษุสามเณรท่ีไปศึกษาต่อระดับปริญญาโทหรือปริญญาเอกในต่างประเทศ ในสาขา พระพุทธศาสนา ปรัชญา ภาษาบาลีและสันสกฤต หรือสาขาวิชาท่ีเป็นประโยชน์ ในการสืบทอดพระพุทธศาสนา ซึ่งมหาวิทยาลัยจะได้ดาเนินการคัดเลือกพระภิกษุสามเณรท่ีเหมาะสมจะรับประทานทุนการศึกษา และมีโครงการ พัฒนาศักยภาพพระภิกษุสามเณรให้มีความพร้อมในการไปศึกษาต่อ และส่งเสริมการปฏิบัติศาสนกิจภายหลังสาเร็จ การศึกษาให้เกิดประโยชน์สูงสุดแกพ่ ระศาสนาสืบไป นอกจากนี้ มหาวิทยาลยั ได้ร่วมมือกับที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) และสมาคมสถาบันการ ศึกษาขั้นอุดมแห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (The Association of Southeast Asian Institutions of Higher Learning : ASAIHL) ในการประสานความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ท้ังในประเทศและต่างประเทศ โดยได้รับเกียรติจากองค์การ สหประชาชาติสานกั ใหญ่ นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา ให้เป็นองค์ปาฐกหลักในการจัดงานวิสาขบูชาโลก ณ นครนิวยอร์ก ย้อนหลัง และยังได้รับเกียรติจากนครรัฐวาติกันให้เข้าเฝูาสมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิสเป็นการเฉพาะ ในโอกาส เสด็จเยือนประเทศไทยอย่างเป็นทางการในฐานะแขกของรัฐบาล นอกจากน้ัน มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ยังได้ร่วมมือกับอีกหลายมหาวิทยาลัยช้ันนาในภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในการจัดประชุมวิชาการ ระดับนานาชาติอีกดว้ ย

๕ ๔. การพฒั นาระบบบรหิ ารงานบุคคลและการเตรยี มการปรบั โครงสร้างองคก์ ร ม ห า วิท ย า ลัย ไ ด้น้อ ม นา พ ร ะ ดา ริใ น ก า ร พั ฒ น า บุค ล า ก ร ใ ห้เ ป็น ไ ป ต า ม ป รัช ญ า ข อ ง มหาวิทยาลัย และพัฒนาระบบการบริหารทรัพยากรบุคคลอย่างต่อเนื่อง โดยมีการแต่งต้ังคณะกรรมการบริหารงานบุคคล (กบม.) ชุดใหม่ ตามขั้นตอนและวิธีการตามกฎระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย และมีการประชุมเพื่อกากับนโยบายการปฏิรูประบบ บริหารงานบคุ คลใหเ้ ปน็ รูปธรรม ในปีที่ผ่านมา มหาวิทยาลัยได้ดาเนินการพัฒนาระบบบริหารงานบุคคลแล้วเสร็จในหลายส่วน ท้ังการออกแบบ ระบบการสรรหาบุคคลให้เปน็ ไปตามมาตรฐานการสรรหาเพ่อื บรรจแุ ละแต่งต้งั บุคคลเข้ามาปฏิบัติงานในสายวิชาการและ สายปฏิบตั กิ ารวิชาชีพและบริหารท่วั ไป ทั้งน้ี มหาวิทยาลัยได้กาหนดนโยบายในการสรรหาลูกจ้างชั่วคราว เพ่ือให้การสรรหามีทิศทาง การดาเนินการที่เหมาะสม มีการจ่ายค่าตอบแทนท่ีสอดคล้องกับอัตราการจ่ายค่าตอบแทนตามคุณวุฒิ รวมทั้งวางระบบ การสรรหาที่จะช่วยให้การบริหารงานในเรื่องนี้เกิดความคล่องตัว สอดรับกับความจาเป็นกับภาระงานของมหาวิทยาลัย อยา่ งแท้จริง พฒั นาระบบการเลื่อนเงนิ เดือน เพอ่ื ใหร้ ูปแบบการเลอ่ื นเงินเดอื นเปน็ ไปตามมาตรฐานสากล นอกจากน้ี ยังได้วางระบบการจ้างท่ีปรึกษาให้เหมาะสมกับลักษณะความจาเป็นของงานและการจ่าย ค่าตอบแทนท่ีเหมาะสม ออกแบบให้มีการกระจายอานาจในการบริหารงานบุคคลจากคณะกรรมการบริหารงานบุคคล เพ่ือให้ การดาเนินงานเรื่องต่าง ๆ ท่ีเก่ียวกับบุคคลมีความสะดวก คล่องตัว และรวดเร็วมากย่ิงข้ึน โดยอธิการบดีเป็นผู้รับมอบอานาจ น้ันมาดาเนินการแทน และวางระบบการประชุมคณะกรรมการบริหารงานบุคคล ให้มีการประชุมอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่อง เพ่อื ให้การตัดสินใจดาเนินงานด้านการบริหารงานบุคคลมคี วามรอบคอบและรัดกมุ ๕. การพัฒนาระบบบริหารงบประมาณ มหาวิทยาลัยได้ดาเนินการปรับปรุงข้ันตอนในการของบประมาณให้มีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น รวมถึงพัฒนา กระบวนการพจิ ารณางบประมาณใหม้ ีความละเอียดรอบคอบ โดยกาหนดมาตรฐานข้อมูลเก่ียวกับอาคารสถานท่ีและครุภัณฑ์ เพ่ือประกอบการพิจารณา นอกจากนี้ ยังกาหนดมาตรฐานข้อมูลสาหรับโครงการก่อสร้าง และการปรับปรุงอาคาร สถานที่เป็นระยะเวลา ๕ ปีล่วงหนา้ พรอ้ มรายละเอยี ดความจาเป็นและแผนการในการดาเนนิ งานโครงการดงั กล่าว การพิจารณาจัดสรรงบประมาณ ในส่วนงบประมาณดาเนินงานและงบประมาณรายโครงการได้มี การนาเข้าสู่การพิจารณาของคณะกรรมการหรือคณะทางานที่แต่งตั้งจากผู้ที่เกี่ยวข้องได้ร่วมกันพิจารณา โดยเป็น การกระจายอานาจการบริหารจากกองแผนงานไปสู่หน่วยงานต่าง ๆ อย่างเป็นรูปธรรม ในส่วนของการอนุมัติโครงการต่าง ๆ ได้มีการปรับปรุงกระบวนการอนุมัติ โดยมีการแต่งตั้งคณะกรรมการท่ีมี ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน เช่น คณะกรรมการบริหารงบประมาณสนับสนุนวิชาการ คณะกรรมการบริหารงบประมาณ โครงสร้างพื้นฐานและภูมิทัศน์ เพื่อพิจารณาแผนงานในการดาเนินโครงการแต่ละด้านของมหาวิทยาลัยด้วยทรัพยากรที่มี จากัดให้เกดิ ประโยชน์สงู สดุ และมีประสิทธภิ าพตามแผนพฒั นามหาวิทยาลยั

๖ ๖. การพัฒนาระบบบัญชแี ละการลงทุน ตามทีก่ ารดาเนนิ การทางบญั ชีของมหาวทิ ยาลยั ได้แสดงให้เห็นถึงรายการท่ีสามารถปรับปรุงแก้ไขให้ดียิ่งขึ้น คอื รายการรายไดค้ ่าบารุงการศกึ ษาคา้ งรบั และรายการหนเ้ี งนิ ยืมทดรองจา่ ย มหาวทิ ยาลัยไดด้ าเนินการอยา่ งเป็นข้ันตอน โดยมีการพิจารณาแนวทางร่วมกันระหว่างผู้บริหารมหาวิทยาลัยและผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอก ทาให้มีการแก้ไขปัญหา อย่างเป็นระบบ อ้างอิงระบบปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์จากส่วนกลาง และเป็นไปตามมาตรฐานทางบัญชี ท้ังในส่วนของ รายการหนเี้ งินยืมทดรองจ่ายและรายไดค้ า้ งรบั นอกจากน้ี ในส่วนของสินทรัพย์ของมหาวิทยาลัย มีการบริหารจัดการในบางส่วนที่มีความเสี่ยงในระดับ ปานกลางข้ึนไป มหาวิทยาลัยจึงได้มีการแก้ไขตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการเงิน และทรัพย์สิน (กบง.) และสภามหาวทิ ยาลัย จนความเสีย่ งดังกลา่ วอยูใ่ นระดับทคี่ วบคมุ ได้ ๗. การพฒั นาทางกายภาพ โครงสร้างพื้นฐาน และภูมทิ ัศน์ ตามที่มหาวิทยาลัยได้ดาเนินการก่อสร้างอาคารหอประชุมเฉลิมพระเกียรติสิรินธรต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ แตป่ ระสบปัญหาในการดาเนินการ มหาวทิ ยาลยั ได้ดาเนนิ การแก้ไขปัญหาอยา่ งเป็นรปู ธรรมโดยนาเสนอต่อคณะกรรมการ การเงินและทรัพย์สินและสภามหาวิทยาลัยโดยลาดับ ในการน้ีสภามหาวิทยาลัยได้แต่งตั้งคณะกรรมการอานวยการ โครงการกอ่ สร้างอาคารหอประชุมฯ ชดุ ใหม่ เพอื่ ขบั เคลอื่ นโครงการให้สาเร็จลุลว่ งตอ่ ไป มหาวทิ ยาลัยได้ดาเนนิ การก่อสร้างอาคารพิพิธภณั ฑ์เจดียว์ ิชาการเฉลมิ พระเกยี รติ ภ.ป.ร. ๘๐ พรรษา ซงึ่ ได้ ดาเนินการมาตง้ั แต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ แต่ประสบปญั หาทาให้การกอ่ สรา้ งหยุดชะงักลงต้ังแต่ปีพ.ศ. ๒๕๕๔ ต่อมาผู้บริหารได้ ดาเนินการแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่องจนในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ สามารถดาเนินการแล้วเสร็จเฉพาะส่วนโครงสร้างภายนอก จึงได้พิจารณาดาเนินการตกแต่งภายในอาคารพิพิธภัณฑ์แห่งน้ี ให้เป็นอาคารพิพิธภัณฑ์ทางพระพุทธศาสนาที่สมบูรณ์ โดยจะจัดสรรพื้นทก่ี ารแสดงนทิ รรศการและผลงานทางพระพทุ ธศาสนาภายใน นอกจากนี้ มหาวิทยาลยั ยังได้ดาเนินการปรับปรงุ และซอ่ มแซมอาคารสถานที่และภูมทิ ัศนข์ องมหาวิทยาลัย ใหม้ ีความสะอาด เรียบร้อย และร่มรื่น เหมาะสมแก่การเป็นมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนา และมีการใช้อาคารสถานท่ีให้ เกดิ ประโยชน์และเป็นไปตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการก่อสรา้ ง ๘. การพัฒนาระบบปฏิบัติการอเิ ล็กทรอนิกสเ์ พอ่ื พัฒนาระบบบรหิ ารงาน มหาวิทยาลัยได้พิจารณาการใช้ระบบปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์ระบบใหม่ และได้จัดให้มีการประสานงาน และฝกึ อบรมบคุ ลากรใหม้ ศี ักยภาพในการใชง้ านระบบ และสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่บุคลากรในส่วนงานที่ยังไม่ สามารถใชง้ านระบบใหเ้ ตม็ ประสทิ ธิภาพ ทาให้ในปัจจุบัน ระบบปฏิบัติการและสนับสนุนวิชาการของมหาวิทยาลัยมีการ พฒั นาไปในแนวทางเดียวกันและมีแนวโน้มเปน็ ไปในทางทด่ี ขี ึ้น นอกจากนี้ ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ มหาวิทยาลัยได้มีการประชุม ออนไลนร์ ะหวา่ งผูบ้ ริหารทจ่ี ัดการศกึ ษาในส่วนกลางและสว่ นวิทยาเขต โดยได้รับคาแนะนาและการสนับสนุนจาก กรรมการสภามหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) พร้อมกับมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ทั้ง ๙ แห่ง เพื่อให้การดาเนินการในวิทยาเขตและวิทยาลัยทุกภูมิภาคสามารถจัดการศึกษาให้แก่ นักศึกษาได้อยา่ งตอ่ เนื่องดว้ ยเทคโนโลยที ีท่ ันสมยั และระบบปฏบิ ตั กิ ารอเิ ลก็ ทรอนิกส์ท่มี ีคณุ ภาพ

๗ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ มหาวิทยาลัยได้ดาเนินการตามแผนพัฒนามหาวิทยาลัยระยะ ๕ ปีตามนโยบายเตรียม ความพร้อมในการเป็นมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนาในยุคดิจิทัล และเริ่มเข้าสู่กระบวนการเปลี่ยนผ่านดิจิทัล (Digital Transformation) โดยมีนโยบายพัฒนาองค์ความรู้ของบุคลากรในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและมีการปรับปรุง ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยและของบุคลากรให้ทันสมัย และมีความปลอดภัยทางไซเบอร์ (Cybersecurity) อยา่ งเปน็ มาตรฐาน ๙. การบริหารตามหลกั ธรรมาภิบาลดว้ ยความโปรง่ ใสและสามารถตรวจสอบได้ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยได้รับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐประจาปี ๒๕๖๒ (Integrity and Transparency Assessment - ITA) เป็นลาดับท่ี ๕ ของมหาวิทยาลัยท้ังประเทศ ผลการประเมินเป็นที่ประจักษ์น้ี เป็นเพราะการดาเนินการอย่าง ต่อเน่ืองในการพัฒนา มาตรฐานการดาเนนิ การตามหลกั ธรรมาภิบาลดว้ ยความโปร่งใสและสามารถตรวจสอบได้ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ มหาวิทยาลัยได้ประกาศนโยบายความโปร่งใสในการบริหารงาน เช่น นโยบายต่อต้าน การทุจริตในองค์กร นโยบายการไม่รับของขวัญ นโยบายความโปร่งใสในการสรรหาบุคลากร เป็นต้น ท้ังน้ีมหาวิทยาลัยได้ขอ ความเหน็ ชอบต่อสภามหาวทิ ยาลยั ในการปรับปรุงระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ บรหิ ารความเสีย่ ง และคณะกรรมการธรรมาภบิ าล และจะประกาศใชใ้ นปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ตอ่ ไป นอกจากน้ี มหาวิทยาลัยยังได้ร่วมประชุมหารือกับสานักงานคณะกรรมการปูองกันและปราบปราม การทจุ รติ แหง่ ชาตใิ นการขบั เคล่ือนยทุ ธศาสตรช์ าตวิ า่ ด้วยการปูองกันและปราบปรามการทุจริตโดยใช้กลไกทางพระพุทธศาสนา อนึง่ มหาวิทยาลัยได้ดาเนินการปรับปรุงกฎระเบียบข้อบังคับให้ระบบการบริหารภายในสอดคล้องกับมาตรฐาน มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ และในการดาเนินการปรับปรุงหรือออกกฎระเบียบข้อบังคับว่าด้วยการดาเนินการทางวินัยของ บคุ ลากร และข้อบงั คับอ่ืน ๆ ท่ีจะสง่ ผลกระทบต่อบุคลากรโดยตรง มหาวิทยาลยั ได้เปดิ ให้มกี ารรับฟังความคิดเห็นจากผู้มี ส่วนไดส้ ่วนเสยี ซ่งึ เปน็ นโยบายท่เี ร่มิ ดาเนนิ การในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ท่ีเปิดโอกาสให้บุคลากรได้มีส่วนร่วมในการบริหารและ พัฒนามหาวิทยาลยั อยา่ งแท้จริง การพัฒนาด้านความโปร่งใสนี้ ได้มีการดาเนินการในส่วนของการปรับปรุงเว็บไซต์ และ ช่องทางประชาสมั พนั ธ์ออนไลน์ของมหาวทิ ยาลัย มีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารและปรับปรุงขอ้ มลู ให้เป็นปัจจุบนั ๑๐. การสาธารณสงเคราะห์และบรกิ ารสังคม จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ เจ้าพระคุณ สมเด็จพระสังฆราช ในฐานะ ประมุขแห่งสังฆมณฑล และนายกสภามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยอันเป็นมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนาจึงได้จัดต้ัง ศนู ย์ประสานภารกจิ สนองพระดาริ โดยเปดิ ใหส้ าธชุ นไดร้ ่วมสมทบทนุ หรอื ร่วมบริจาคในการจดั หาเครือ่ ง อุปโภคบริโภคและอปุ กรณท์ างการแพทย์เพื่อมอบแก่ประชาชนท่ีประสบความยากลาบากและได้ดาเนินการ เรือ่ ยมาจนสถานการณใ์ นระดับประเทศมีแนวโน้มท่ีดีขึ้น จึงได้ปรับเปล่ียนรูปแบบความช่วยเหลือเป็นการจัดมอบถุงยังชีพ ไปยังวิทยาเขตและวิทยาลัยทุกภูมิภาคของประเทศ และได้ดาเนินการจัดมอบถึง เคหสถานให้แก่ผู้ปุวยติดเตียง และประชาชนทไี่ ม่มโี อกาสเขา้ รับมอบในสถานที่ของมหาวทิ ยาลยั อนึ่ง มหาวิทยาลัยได้จัดพิมพ์หนังสือ “เมตตาธรรมพิสุทธ์ิ” ถวายเจ้าพระคุณสมเด็จองค์นายก สภามหาวทิ ยาลยั ในโอกาสวันคล้ายวันประสูติ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๖๓ โดยมีเนื้อหาเก่ียวกับโรงทานตามพระดาริ บทบาท ของคณะสงฆ์ในสถานการณ์โรคระบาดและวิกฤติการณ์ของประเทศในอดีตจนถึงปัจจุบันที่เปล่ียนแปลงไป เพ่ือเฉลิม พระเกยี รติและสามารถใช้เปน็ เอกสารอ้างอิงทางวิชาการแก่ผูส้ นใจ

๘ นอกจากน้ี มหาวิทยาลัยได้คานึงถึงการบริการสังคม ด้วยการดาเนินการตามโครงการตามพระราชดาริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ด้วยการจัดการศึกษาในทัณฑสถานซึ่งมี นักศึกษาท่ีไม่สามารถเข้าศึกษาในระบบปกติได้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่ออบรมคุณธรรมจริยธรรมตามแนวทาง พระพุทธศาสนา เป็นแนวทางวิทยบริการในการเยียวยา ขัดเกลาจิตใจ เปิดโอกาสให้กลับตนเป็นคนดีของสังคม และจะได้รับ ปริญญาทเ่ี ปน็ คณุ วุฒซิ ง่ึ ผ่านการรับรองจากมหาวิทยาลัยด้วย กระบวนการดาเนินการจัดทาแผนพัฒนามหาวิทยาลัยฉบับใหม่ พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๘ มหาวิทยาลัยได้ดาเนินการจัดทาแผนพัฒนามหาวิทยาลัยฉบับใหม่ควบคู่กับการพัฒนาระบบบริหารงาน ภายในในช่วงปี ๒๕๖๒ – ๒๕๖๓ ให้สอดคล้องกัน โดยมีการดาเนินการยกร่างแผนพัฒนาอย่างเป็นลาดับขั้นตอน คร้ันเมื่ออธิการบดีได้รับพระบัญชาแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย รูปที่ ๖ เมื่อวันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ได้มีคาสั่งมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ท่ี ๖๘๐/๒๕๖๒ ลงวันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๒ แตง่ ตั้ง “คณะกรรมการกากบั ดแู ลแผนพฒั นามหาวทิ ยาลยั ” น้นั คณะกรรมการไดม้ ีการดาเนนิ การโดยลาดับดังนี้ ๑. คณะกรรมการในคราวประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๖๒ เม่ือวนั ที่ ๑ สงิ หาคม ๒๕๖๒ ไดม้ มี ติในการมอบหมายให้ มีคณะทางานเพ่ือยกร่างแผนพัฒนามหาวิทยาลัยระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๘) เพื่อประกาศใช้แทนแผนพัฒนา มหาวิทยาลัยเดิมท่ีมีระยะ ๑๐ ปี โดยให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ในปัจจุบันท่ีเปล่ียนแปลงไปอย่างรวดเร็ว เมื่อดาเนินการแล้ว ให้นาเสนอต่อสภามหาวิทยาลัยเพื่อพิจารณาอนุมัติก่อนสิ้นปีงบประมาณพ.ศ. ๒๕๖๓ เพื่อประกาศใช้ต่อไป ท้ังน้ี ให้มีการ ดาเนินการรับฟังความคิดเห็นจากบุคลากรภายในมหาวิทยาลัย และจัดกิจกรรมระดมความคิดเห็นเพ่ิมเติมตามความ เหมาะสม เพอ่ื ใหบ้ คุ ลากรในมหาวทิ ยาลัยไดม้ สี ่วนรว่ มในการกาหนดแนวทางการพฒั นามหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย ๒. รองอธิการบดี (พระมหาฉัตรชัย สุฉตฺตชโย,ผศ.ดร.) ได้มีบันทึกข้อความ ท่ี อว ๗๙๐๑/๐๒๕๔ ลงวันที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๖๒ เรื่อง ขอข้อมูลเพื่อร่วมพัฒนามหาวิทยาลัย เชิญชวนให้บุคลากรในทุกส่วนงานเสนอ ความคิดเห็นและแนวทางการพัฒนามหาวทิ ยาลัยตอ่ คณะผบู้ ริหาร ๓. เม่ือวนั ท่ี ๑๐ สงิ หาคม ๒๕๖๒ เจ้าประคณุ สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ อุปนายกสภามหาวิทยาลัย เป็นประธาน ในการประชุมระดมความคิดเพื่อพัฒนามหาวิทยาลัยตามนโยบาย “ร่วมพัฒนามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ไปด้วยกัน” ณ ห้องประชุมอาคารสุชีพ ปุญญานุภาพ โดยมีบุคลากรจากทุกส่วนงานเข้าร่วมในการรับฟังและแสดง ความคดิ เหน็ ๔. เจ้าพระคุณ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก นายก สภามหาวิทยาลยั ลงพระนามในคาสั่งสภามหาวทิ ยาลัย ที่ ๕๒/๒๕๖๒ ลงวันท่ี ๑๑ ธันวาคม ๒๕๖๒ มีพระบัญชาแต่งต้ัง คณะกรรมการนโยบายและกากบั การพัฒนามหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั ๕. ต่อมาในวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๒ เจ้าพระคุณ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก นายกสภามหาวิทยาลัย เสด็จออก ณ ตาหนักอรุณ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม ประทาน พระวโรกาสให้ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม และคณะเฝูาถวายสักการะและกราบทูลรายงานการดาเนินงานของกระทรวงในการส่งเสริมและการสนับสนุนการ จัด การศึกษาระดับอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร์ การวิจัยและนวตั กรรม เพื่อพัฒนาประเทศให้ก้าวไกลในศตวรรษท่ี ๒๑ ในการน้ี มีพระดารัสประทานแนวทางการบริหารมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยตามปรัชญาของพระพุทธศาสนา และ ทรงอนุโมทนาทีก่ ระทรวงการอุดมศกึ ษาฯ ไดส้ นับสนุนกิจการของมหาวทิ ยาลัย

๙ ๖. จากนั้นมีพระบัญชาให้เจ้าประคุณ สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ อุปนายกสภามหาวิทยาลัยปฏิบัติหน้าที่แทนใน การประชุมร่วมระหว่างรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษาฯ และคณะ กับกรรมการสภาและผู้บริหารมหาวิทยาลัย ณ อาคารภุชงค์ประทานวิทยาสิทธ์ิ ๓ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม เพ่ือหารือและแลกเปล่ียนความคิดเห็นเก่ียวกับ การพัฒนามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยอันเป็นมหาวิทยาลัยเฉพาะทางด้านพระพุทธศาสนาให้เป็นศูนย์กลาง การเผยแผ่พระพุทธศาสนาของประเทศไทยและของโลก ๗. คณะทางานได้พิจารณาความคิดเห็นและข้อเสนอแนะท่ีได้มีการดาเนินการตามข้อ ๒ - ๖ ตามลาดับ เพ่ือปรับปรุงแผนพัฒนามหาวิทยาลัยให้มีความเหมาะสมย่ิงข้ึน ประกอบกับมีสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ จึงได้มีการเพ่ิมเติมในส่วนของการปรับเปล่ียนแนวทางการจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ และ ปลอดภัย และคณะทางานได้มีการประชุมเพื่อสรุปและเห็นชอบร่างแผนพัฒนา เมื่อวันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๖๓ ทั้งยังมี การรบั ฟังความคิดเหน็ จากคณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยในวันที่ ๒๑ และ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๓ อีกทั้งรับฟังความคิดเห็น จากประชาคมและสาธารณชน ผา่ นช่องทางออนไลน์ในชว่ งเดือนพฤษภาคม ๒๕๖๓ จากนนั้ นาผลความคดิ เหน็ มารวบรวม เพ่อื ปรบั ปรงุ ร่างแผน และนาเข้าสู่การพจิ ารณากลนั่ กรอง ตอ่ คณะทางาน และคณะกรรมการ อกี ๒ ชดุ ในชว่ งปลายเดือน พฤษภาคม ถงึ ตน้ เดอื นมิถนุ ายน ๒๕๖๓ ๘. เน่ืองในวันอุดมศึกษาของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เมื่อวันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๖๓ ศาสตราจารย์พเิ ศษ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการอุดมศึกษาฯ คนปัจจุบันได้ให้ปาฐกถาพิเศษใน หัวข้อ “มหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนากับบทบาทในการพัฒนาประเทศ” ณ หอประชุมอาคารสุชีพ ปุญญานุภาพ ดังมี ใจความสาคัญว่า มหาวทิ ยาลัยพระพทุ ธศาสนาจะมบี ทบาทสาคัญตอ่ การพัฒนาประเทศ เพือ่ ช่วยบรรเทาปญั หาทางสังคม ผ่านงานวิจัยและนวัตกรรม สนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อรองรับสังคมผู้สูงวัย พัฒนาทักษะ ทางด้านเทคโนโลยีแก่นักศึกษาเพ่ือรองรับความต้องการทักษะอาชีพในโลกยุคดิจิทัล และสนับสนุนทุนการศึกษาแก่ นักศึกษาบรรพชิตที่ต้องการศึกษาต่อในต่างประเทศ นอกจากนี้ ยังเห็นสมควรให้จัดมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนาเป็น มหาวิทยาลัยประเภทที่ ๑ คือ มหาวิทยาลัยท่ีใช้ธรรมะและปัญญานาไปสู่การพัฒนา ท่ีมุ่งเน้นพัฒนาการวิจัย ทางพระพทุ ธศาสนาระดับแนวหน้าของโลก โดยจัดประเภทมหาวทิ ยาลัยใหม่เปน็ ๕ ประเภท ๙. คณะทางานได้นาร่างแผนพัฒนามหาวิทยาลัยขึ้นเว็บไซต์เพ่ือรับฟังความคิดเห็นต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เป็นระยะเวลา ๑๕ วัน ต้ังแต่วันท่ี ๑๘ กันยายน ๒๕๖๓ ถึง วันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๖๓ และได้รวบรวมความคิดเห็นเพื่อ นาเสนอต่อคณะกรรมการนโยบายและกากับการพัฒนามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยเม่ือวันท่ี ๑๔ ตุลาคม ๒๕๖๓ เพื่อขอความเหน็ ชอบกอ่ นเสนอตอ่ สภามหาวิทยาลัยต่อไป ๑๐. เมื่อวันที่ ๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ คณะกรรมการนโยบายและกากับการพัฒนามหาวิทยาลัย มหามกุฏราชวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๖๓ ได้มีมติเห็นชอบ (ร่าง) แผนพัฒนามหาวิทยาลัย และมีมติให้ นาเสนอต่อสภามหาวิทยาลัยต่อไป ๑๑. เมื่อวันท่ี ๒๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ ๑๒/๒๕๖๓ ไดม้ มี ติเห็นชอบ (ร่าง) แผนพัฒนามหาวทิ ยาลัยโดยจะดาเนนิ การประกาศเป็นการตอ่ ไป

๑๐ สาระสาคญั แผนพฒั นามหาวทิ ยาลัย วิสยั ทัศน์ (Vision) “ร่วมพัฒนาพลเมืองโลก ด้วยการผสานแก่นแท้ของพระพุทธศาสนาท่ีมั่นคง ให้ดารงอยู่ในฐานะ โครงสร้างพ้นื ฐานทางปญั ญาของมนษุ ยใ์ นอนาคต” พนั ธกิจ (Mission) ให้การศึกษา วิจยั ส่งเสรมิ และใหบ้ ริการวชิ าการทางพระพทุ ธศาสนาแก่พระภิกษุสามเณร และคฤหัสถ์ รวมทั้งการทานบุ ารุงศิลปวัฒนธรรม วัตถปุ ระสงค์ (Objectives) ๑. ผลิตบัณฑิตท่ีเป็นคนดี มีความเป็นเลิศทางวิชาการตามแนวทางพระพุทธศาสนาทั้งในระดับชาติและ นานาชาติ มีความเป็นผู้นาและสร้างสังคมไทยให้เป็น “สังคมแห่งภูมิปัญญา การเรียนรู้ และเป็นศูนย์กลาง ทางวิชาการพระพุทธศาสนาเถรวาท” ๒. พัฒนาองค์ความรู้ ผลิตผลงานวิจัย และวิชาการ สร้างสรรค์นวัตกรรม บูรณาการศิลปวัฒนธรรมเพื่อ นาพาสังคมด้วยองคค์ วามรบู้ นวิถธี รรมตามศาสตร์สาขาของตน อันจะเป็นประโยชน์ตอ่ สงั คมโลกในทีส่ ดุ ๓. เผยแผ่ องคค์ วามรู้ ภูมิปัญญา ด้านพระพทุ ธศาสนาที่แทจ้ รงิ ใหแ้ ก่พลเมืองโลก สบื สาน ส่งต่อ โดยศาสนทายาท ที่เข้มแข็ง แตกฉานในพระธรรมขององค์สมเด็จพระผู้มพี ระภาคเจ้า ให้ดารงทรงไวใ้ นฐานะสมบัติท่ลี า้ คา่ ของโลก ๔. บริการวิชาการ บริการสังคม ด้วยสรรพกาลัง และทุกองคาพยพของพระพุทธศาสนาให้เกิด ผลสัมฤทธ์ทิ เ่ี จริญวฒั นาสถาพร เปน็ ประจักษช์ ดั เจนต่อสงั คมไทยและสังคมโลก ๕. สร้างพลวตั ในการพัฒนามหาวิทยาลัยและเครือข่ายภาคีพุทธฯ ให้มีโครงสร้าง ระบบ และกระบวนการ บรหิ ารจัดการที่มีคุณภาพ เนน้ การควบคุมกระบวนการสาคัญสู่ผลลพั ธ์และผลสัมฤทธ์ิท่ีมีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ คุ้มค่า และสมประโยชน์

๑๑ ค่านิยมร่วม CORE VALUE MAHAMAKUT Morality อรห มคี ณุ ธรรมเป็นทีน่ บั ถือของสงั คม Awareness สมฺมาสมฺพุทฺโธ ร้เู ท่าทนั โลกอยา่ งถูกตอ้ ง Highbrow สตฺถา เทวมนุสสฺ าน มีความชานาญในการสอน Analyst ภควา สร้างทักษะสร้างสรรค์ Mindfulness พทุ โฺ ธ ยึดมนั่ ในหลกั พระพุทธศาสนา Advancement สคุ โต มงุ่ มัน่ สูก่ ารพฒั นา Knowledge วิชฺชาจรณสมฺปนโฺ น ให้ความรทู้ ่ีพัฒนาผู้คนได้ Universality โลกวิทู มีความเปน็ สากล Trainer อนุตฺตโร ปุรสิ ทมมฺ สารถิ ผ้สู อนหลักธรรมอนั อดุ ม

๑๒ การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ ม จดุ แขง็ (Strengths) ๑. มหาวิทยาลัยมีอาจารย์ที่มีความรู้และประสบการณ์ด้านวิชาการพระพุทธศาสนาในระดับสูงและเป็นที่ เคารพนับถือจากสังคม ทาให้มหาวิทยาลัยสามารถพัฒนาองค์ความรู้เก่ียวกับพระพุทธศาสนาให้มีความเป็นเลิศใน ระดับชาติและนานาชาติ สามารถนาหลกั ธรรมคาสอนทางพระพทุ ธศาสนาอนั ถกู ตอ้ งมาเผยแผ่ให้สอดคล้องกับการดาเนิน ชีวิต และฟ้ืนฟู เยียวยาสังคมได้ นอกจากนี้ยังนามาซ่ึงความร่วมมือระหว่างหน่วยงานและทุกภาคส่วนของสังคมได้เป็น อยา่ งดี ๒. บณั ฑิตมคี วามรอบรทู้ างด้านพระพทุ ธศาสนาและสามารถเผยแผ่พระพุทธศาสนาแก่สังคมในระดับชาติ เน่ืองจากมหาวิทยาลัยมีการกาหนดให้พระพุทธศาสนาเป็นวิชาพ้ืนฐานในทุกหลักสูตร ควบคู่ไปกับการพัฒนาปรับปรุง คุณภาพหลกั สูตรทุกหลกั สตู รใหส้ อดคลอ้ งกับกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดบั อุดมศกึ ษาแหง่ ชาติ ๓. มหาวิทยาลัยมีวิทยาเขตและศูนย์บริการวิชาการต้ังอยู่ในทุกภูมิภาคของประเทศ ทาให้สามารถขยาย โอกาสทางการศึกษาไปสู่ผู้เรียนที่อยู่ห่างไกล และสามารถให้บริการวิชาการทางพระพุทธศาสนาแก่สังคมได้อย่าง กวา้ งขวาง ๔. มหาวิทยาลัยมีผลงานวิจยั ทางดา้ นพระพทุ ธศาสนาทตี่ พี มิ พ์ในวารสารระดับชาติ เนอ่ื งจากมหาวิทยาลัย มีระบบและกลไกท่เี หมาะสมโดยมีสถาบันวิจัยญาณสังวรและคณะกรรมการวิจัยผู้ทรงคณุ วฒุ ิทัง้ จากภายในและภายนอก ๕. มหาวิทยาลัยเปน็ แหล่งเรยี นร้ทู างด้านศิลปะและวัฒนธรรม เนือ่ งจากเปน็ ศนู ย์รวมและมีผลงานดา้ นการ ทานุบารงุ ศิลปะและวัฒนธรรมท่ไี ดร้ ับการยกย่องจากหนว่ ยงานภายนอก จุดออ่ น (Weakness) ๑. นกั ศกึ ษาเข้าใหม่มีจานวนลดลง เน่ืองจากการประชาสัมพันธ์เชิงรุกของมหาวิทยาลัยในช่องทางต่าง ๆ ยังมีไม่มากพอ ๒. การดาเนินการจัดทาหลักสูตรนานาชาติสาหรับนักศึกษาชาวต่างประเทศยังขาดความหลากหลาย และกระบวนการรับนักศึกษาชาวต่างประเทศยังไม่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพ เช่น ความรู้พื้นฐานหรือความรู้ ความสามารถเฉพาะดา้ นทาใหเ้ ปน็ ปญั หาในดา้ นจัดการเรยี นการสอน ๓. การพัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านการบริการวิชาการ และด้านงานวิจัยทางพระพุทธศาสนาด้วย เทคโนโลยีสารสนเทศ ยังไมค่ รอบคลุมทกุ แขนงที่มีการเปดิ สอนในมหาวทิ ยาลัย ๔. งานวจิ ัยทมี่ กี ารบูรณาการกบั ภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ เพอ่ื พฒั นาตอ่ ยอดและสรา้ งองคค์ วามร้ใู หม่เพ่ือถ่ายทอด ส่สู งั คมยงั มีปริมาณไมเ่ พียงพอ ๕. การสอ่ื สารภายในมหาวทิ ยาลัยเพือ่ ใหม้ ีความเขา้ ใจและความร่วมมอื ในการทางานไปในทิศทางเดียวกัน ยงั ขาดประสทิ ธิภาพ ๖. อุปกรณ์ สิ่งอานวยความสะดวก รวมถึงองค์ความรู้ที่จาเป็นสาหรับการพัฒนาระบบการศึกษาแบบ ดจิ ทิ ัล ยงั มไี มเ่ พยี งพอตอ่ ความต้องการของนักศึกษา คณาจารย์ และบุคลากร

๑๓ โอกาส (Opportunities) ๑. รัฐบาลกาหนดยุทธศาสตร์ชาติในการสง่ เสริมความเปน็ เลิศทางวิชาการเฉพาะดา้ นของสถาบันการศึกษา สู่ระดบั นานาชาติ เพ่ือยกระดบั ความเป็นเลิศในสาขาวิชาและเปน็ การสร้างเครอื ข่ายความร่วมมือทางวชิ าการกบั องค์กรอื่น ในระดับนานาชาติ เป็นโอกาสให้มหาวิทยาลัยสามารถยกระดับความเป็นเลิศในทางพระพุทธศาสนาให้เข้าสู่ระดับ นานาชาติ และเปน็ การสร้างเครือขา่ ยความรว่ มมือทางวชิ าการกบั องคก์ รอืน่ ในระดับนานาชาติ ๒. รัฐบาลกาหนดยุทธศาสตร์ชาติในการส่งเสริมการพัฒนาคนทุกช่วงวัยและตลอดช่วงชีวิตผ่านระบบ การศึกษาตามอัธยาศัยแบบไร้พรมแดน เพ่ือสร้างโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาและพัฒนาคนให้เป็นกาลังสาคัญใน การขับเคลื่อนการพัฒนาสังคม จึงเป็นโอกาสให้มหาวิทยาลัยได้พัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนให้มี ความหลากหลายมากยิ่งข้ึน ๓. ปราชญ์ชาวบา้ นและองค์กรท้องถิน่ ใหค้ วามรว่ มมือในการอบรมความรดู้ า้ นศิลปวฒั นธรรมเป็นโอกาสให้ นกั ศกึ ษามีความรแู้ ละเกิดความชานาญในด้านศิลปวัฒนธรรม ๔. ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในปัจจุบัน เป็นโอกาสสาคัญให้ มหาวิทยาลัยสามารถยกระดับการให้บริการทางการศึกษา เผยแผ่พระพุทธศาสนา ตลอดจนฟื้นฟู เยียวยาสังคม ไดอ้ ย่างกวา้ งขวาง โดยก้าวขา้ มขีดจากัดทางด้านพรมแดน ๕. สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ เป็นโอกาสให้มหาวิทยาลัยพัฒนาระบบ การเรียนการสอนแบบดิจิทัลให้มีประสิทธิภาพ และเป็นโอกาสสาคัญท่ีมหาวิทยาลัยจะมีบทบาทในการช่วยเหลือและ บรรเทาความทกุ ข์ของประชาชน ๖. การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุนับเป็นโอกาสให้ทางมหาวิทยาลัยได้ตระหนักถึงความสาคัญของ คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุที่กาลังเพ่ิมจานวนมากขึ้น และเป็นโอกาสให้มหาวิทยาลัยพัฒนาหลักสูตรระยะสั้นเพื่อ การพัฒนาการเจริญสตแิ ละวปิ ัสสนากรรมฐานแก่ผู้สงู อายใุ ห้สามารถนาไปใช้เปน็ แนวทางในการดาเนนิ ชวี ิต ไดอ้ ย่างสงบสุข อุปสรรค (Threats) ๑. กระแสผู้ที่ไม่สนใจศึกษาด้านศาสนามีจานวนเพ่ิมขึ้นท่ัวโลก อาจเป็นอุปสรรคสาคัญในการเผยแผ่ พระพทุ ธศาสนาในทุกระดบั ๒. สถาบนั อดุ มศึกษาโดยรอบเพ่ิมจานวนมากขน้ึ ทาให้มกี ารแขง่ ขันในด้านการบริการวิชาการแก่สังคมมากข้นึ ๓. สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ส่งผลกระทบต่อการดาเนินชีวิตของนักศึกษา และเป็นอุปสรรคสาคัญต่อการจัดการเรียนการสอนแบบปกติ นอกจากน้ียังส่งผลต่อการจัดสรรงบประมาณของ มหาวทิ ยาลัย ๔. มหาวิทยาลยั ที่เปดิ รบั นกั ศกึ ษาบรรพชิตและเปิดหลักสตู รเฉพาะทางพระพุทธศาสนามจี านวนเพิ่มมากข้นึ

๑๔ แนวทางหลักแหง่ การพัฒนา (Strategic Issues) ในรอบ ๕ ปี มุ่งเน้นพัฒนามหาวิทยาลัยให้บรรลุเปูาประสงค์สูงสุด (Ultimate Goals) ที่สอดคล้องกับ วิสัยทัศน์ ในการเป็นมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนาและเป็นประตูสู่แก่นแท้ของพระสัทธรรม ตามแนวทางหลักแห่ง การพัฒนา ๔ ประการ ประการท่ี ๑ เป็นศูนยก์ ลางในการพฒั นาจติ วิญญาณ สติ และปญั ญาของศาสนทายาท และพลเมอื งโลก เพือ่ เสริมสร้างสังคมตามวถิ ีพุทธ ประการท่ี ๒ นาทาง บาบัด และฟน้ื ฟสู ังคมให้กลบั คืนสคู่ วามสงบสขุ ประการที่ ๓ สร้างระบบนิเวศแห่งการพัฒนาภมู ปิ ัญญาด้วยการบูรณาการพุทธธรรมเขา้ กับองค์ความรู้ สรรพวชิ า ประการท่ี ๔ ยกระดับงานวิจัยทางพุทธศาสนาสู่การเผยแพร่ในระดับสากล เพ่ือการพัฒนาที่ยั่งยืนและ การเรียนรูต้ ลอดชวี ิต

๑๕ วิถแี ห่งการพัฒนา (Strategies) เพื่อให้การดาเนินการเป็นไปตามวิสัยทัศน์และแนวทางการพัฒนา จึงกาหนดแก่นแห่งการพัฒนา (Key Strategic Areas) เป็น ๕ ด้าน คือ ปริยัติ ประยุกต์ ปฏิบัติ ปฏิบถ และปฏิรูป ในแต่ละด้านมีวิถีแห่งการพัฒนา (Strategies) และเจตนา (Strategic Objectives) ซึ่งประกอบด้วย แก่น (Key Strategic Area) : วิถี อันเป็นมรรค เป็นผล (Strategy) และเจตนาของวิถี (Strategic Objective) ท้งั ๕ ดังตารางตอ่ ไปนี้ แกน่ วิถี เจตนา Key Strategic Strategy Strategic Objective Area วิถี ท่ี ๑ ๑.ก. มงุ่ ประดิษฐาน พระพทุ ธศาสนา ให้ม่นั คงในแผ่นดนิ ไทย ปริยัติ สบื สาน สง่ ตอ่ ตอ่ ยอด เพอ่ื เผยแผใ่ ห้กวา้ งไกลไปทวั่ โลก ประยกุ ต์ วถิ ี ที่ ๒ ๒.ก. พระพทุ ธศาสนาได้ยกระดับ และเคียงคู่ไปกบั สรรพวิทยาของ มวลมนุษย์ ผสาน สร้างสรรค์ อยา่ งลึกซึง้ เพื่อให้องค์ภมู แิ ห่งพทุ ธปัญญาปรากฏอยู่ทา่ มกลาง ความเป็น เลิศของสรรพวชิ า ปฏิบตั ิ วิถี ที่ ๓ ๓.ก. นาทาง ยกระดบั และพัฒนาจติ ใจชาวโลก ส่กู ารเปน็ มนษุ ย์ อีกคร้งั คน้ หา “ตน” เตมิ “คน” เสริมสร้าง เพ่ือเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ กอ่ ให้เกิดเปน็ สงั คมท่ีมคี วาม เขม้ แข็งมีภมู ิคุม้ กนั มจี ติ วิญญาณและสตปิ ญั ญา แบบวถิ พี ทุ ธ “สงั คม” ๔.ก. รว่ มเติมเต็ม และเสริมพลงั แก่สังคมทกุ ภาคส่วนทีอ่ อ่ นล้า วิถี ท่ี ๔ พลัด หลง ปฏบิ ถ ฟ้นื ฟู เยียวยา นาพา เพื่อให้สมาชิกในสังคม ฟน้ื คืนกลับสู่ความเขม้ แขง็ ทางจิต กลับสู่ ความสวา่ ง สงบ วญิ ญาณ เกิดความม่ันคงยนื หยดั และก้าวเดนิ ตอ่ ไปอย่างย่ังยนื ใน ทิศทางทถ่ี กู ควรตามทานองคลองธรรม ๕.ก. พัฒนาองค์กร แบบกา้ วกระโดดในทุกองคาพยพ ปฏริ ปู วิถี ที่ ๕ ท้ังบทบาท โครงสร้าง กระบวนการ การบริหาร และทรัพยากร พลิก เปลยี่ น ปรบั รบั เพ่อื เปน็ องค์กรอนาคตแห่งความร้แู ละภูมปิ ญั ญาทีร่ ว่ ม การเปลย่ี นแปลง พฒั นาอนาคตของสังคมไทยและสงั คมโลก ซงึ่ สามารถปรับตวั ได้ทนั ต่อการเปล่ียนแปลงที่รวดเร็วและรนุ แรงในอนาคต

๑๖ แก่นแห่งการพฒั นา

๑๗ ในแต่ละแก่นและวิถีแห่งการพัฒนา มีการกาหนดเจตนา กลุ่มเปูาหมายและผลลัพธ์ของการพัฒนามรรคา แห่งการพฒั นาโครงการขนาดใหญ่ และเครือ่ งชว้ี ดั การดาเนนิ การใหส้ อดคล้องกันดังต่อไปน้ี ปริยตั ิ: วถิ ีท่ี ๑ สืบสาน ส่งต่อ ตอ่ ยอด เจตนา (Strategic Objectives) ๑.ก. เพื่อม่งุ ประดษิ ฐานพระพทุ ธศาสนา ใหม้ นั่ คงในแผน่ ดินไทยเพอ่ื เผยแผใ่ ห้กว้างไกลในโลก กลมุ่ เปา้ หมาย ผลลพั ธ์การพฒั นา  นกั เรยี น นักศึกษา ผู้ใฝุรดู้ ้านพระพุทธศาสนา  ทั้งในและตา่ งประเทศ  ศาสนทายาท บณั ฑติ /ผรู้ ู้แตกฉาน สาเรจ็ การศึกษาพระปริยตั ิ ธรรมท้งั แผนกธรรมและบาลี  ชาวต่างชาติ ต่างศาสนา ที่สนใจในพระพทุ ธศาสนา  ศาสนทายาทสากล  บรรพชิตในประเทศไทย ทั้งที่เป็นพระ สังฆาธิการ บรรพชติ นกั วชิ าการ และบรรพชติ  บรรพชติ -คฤหัสถผ์ บู้ ริหาร/ดแู ล ศาสนกจิ ศาสนาสถาน กจิ การใน ทั่วไป พระพทุ ธศาสนามืออาชพี  ผนู้ าการเปลี่ยนแปลงทางจติ วิญญาณ  บรรพชิตในต่างประเทศ ทง้ั ทเ่ี ป็นพระสงั ฆาธิ การ บรรพชิตนักวิชาการ และบรรพชติ ท่ัวไป  เครือขา่ ยสหธรรมกิ แห่งโลก  การจดั การศึกษาระบบธนาคารหน่วยกติ  คฤหัสถ์ทีม่ ีความรู้และต้ังใจท่ีจะชว่ ยงาน  การศกึ ษาหลักสูตรระยะสนั้ พระพุทธศาสนา  วิทยาลยั เชงิ วชิ าการทม่ี คี วามเปน็ นานาชาติ สหสาขาวิชาในดา้ น พระพทุ ธศาสนา  ศิษยเ์ ก่าของมหาวิทยาลยั ครูบาอาจารย์เกา่  หนว่ ยงาน/องค์กรดแู ล “พระศาสนา องคค์ วามรู้ และสหธรรมิก” ทงั้ หลายของมหาวทิ ยาลยั ในประเทศตา่ ง ๆ ท่ัวโลก  ระบบการเรยี นการสอน การเรยี นรู้ แบง่ ปัน “ความร-ู้ ทักษะ- ทศั นคต-ิ วิถจี ิต” ท่เี ช่ือมโยงและสมดลุ การพัฒนามนษุ ย์ ระหวา่ งทาง กายภาพ และทางดจิ ิทลั  เครือขา่ ยผพู้ น้ โลกร่วมสอน (ผู้เกษยี ณ ผปู้ ฏบิ ัติบรรลุธรรม ผพู้ ้น ภาระทางโลก ร่วมเป็นอาจารยพ์ เิ ศษของมหาวทิ ยาลยั )  ระบบเครือข่ายศษิ ยเ์ ก่าร่วมพฒั นามหาวิทยาลยั  สภาเปรยี ญ ๙ มรรคา มีการกาหนดแนวทางในการดาเนนิ การเพอ่ื บรรลเุ จตนา ๔ มรรคา ดังตอ่ ไปนี้ มรรคาท่ี ๑.๑ เรยี นร้จู ากเกิดสู่ดับ คือ การเรยี นรูต้ ลอดชวี ติ มรรคาที่ ๑.๒ รู้ธรรมตามจริตและจติ ประสงค์ คือ การเรียนร้ตู ามอธั ยาศยั มรรคาที่ ๑.๓ ผใู้ ห้ยอ่ มเปน็ ทร่ี ัก คือ การเรยี นรเู้ พอ่ื เป็นผ้ใู ห้ มรรคาท่ี ๑.๔ เปิดปลาย เปดิ ใจ เปดิ รั้ว เปดิ ขอบ คือ การสร้างพนื้ ท่ีไร้พรมแดนแหง่ การเรียนรพู้ ุทธ

๑๘ โครงการขนาดใหญ่ จัดทาโครงการขนาดใหญอ่ ยา่ งต่อเน่ืองเพือ่ ผลสมั ฤทธท์ิ ี่เปน็ รูปธรรมและยงั่ ยืน สอดคลอ้ งกบั แตล่ ะมรรคาดงั ต่อไปน้ี ๑.๑ โครงการ ทุนการศึกษาเพ่อื การพฒั นาศาสนทายาทแหง่ โลก  ทนุ การศกึ ษาแกบ่ รรพชติ อยา่ งท่ัวถึง  ทนุ การศึกษาไปศึกษาตอ่ ตา่ งประเทศ  ทุนการศกึ ษาแก่คฤหัสถท์ ส่ี นใจศึกษาพทุ ธศาสนา ๑.๒ โครงการ พัฒนาพทุ ธปัญญาแกพ่ ลเมืองโลก ก่อตง้ั สถาบนั เพ่อื ขบั เคลอื่ นภารกจิ ดา้ นวชิ าการ สหวิทยาการและขา้ มศาสตร์ข้ามสาขา  บริหารจดั การด้านวชิ าการในสหวิทยาการ และเจาะจงขา่ ยวชิ าการเฉพาะดา้ น โดยเฉพาะดา้ นการปกครอง คณะสงฆ์  การบริหารกจิ การคณะสงฆ์ การบริหารกิจการพระพทุ ธศาสนา และดา้ นอ่นื ๆ ท่เี ก่ียวข้อง  พฒั นาเอกสาร – สอื่ การเรยี นรู้แบบใหมส่ าหรับการสอน การเผยแพร่องคค์ วามร้ดู ้านพระพุทธศาสนา ทั้งในเชิง กายภาพ เชิงดจิ ทิ ลั ในหลากหลายภาษา  ร่วมพัฒนาพลเมอื งแบบไมส่ งั กัดมหาวิทยาลัย (On-Demand Resource) ผา่ นผู้สอน อาจารย์ข้ามสถาบันร่วมสอน และวทิ ยากรพเิ ศษ  เครอื ขา่ ยการเรยี นการสอนรว่ มพฒั นาพลเมอื ง ขา้ มคณะ – ข้ามวทิ ยาลัย – ขา้ มวิทยาเขต (Share Resource)  จากการบริหารหลักสตู ร สู่การบรหิ ารรายวิชา ส่กู ารบริหารหัวขอ้ การเรียนรู้ เกิดเป็นรายวิชา หลักสูตรระยะส้นั หรอื หลักสูตรใหม่ที่เฉพาะเจาะจง เช่น หลักสูตรสมาธิ หลักสตู รพทุ ธศาสนากับชวี ิตในโลกสมัยใหม่ หรือ หลักสูตรสาหรบั คณะสงฆ์ เชน่ หลักสูตรสาหรับพระธรรมทตู หลักสตู รการบรหิ ารศาสนกจิ และบรู ณะศาสนสถาน  การพฒั นา “สื่อ วิธีการสอน การถ่ายทอดพระพทุ ธศาสนาแบบใหมจ่ ากแก่น” รวมไปถึงการจดั การการศึกษา ต่อเนอื่ งทง้ั ในหมู่คฤหัสถ์ และบรรพชติ ๑.๓ โครงการ พุทธภาษา : พฒั นาภาษาแก่ศาสนทายาท หรือพระธรรมทูต และคฤหสั ถ์  พัฒนาความร่วมมือกบั หน่วยงานสอนภาษาจากภายนอก เพ่ือรว่ มพัฒนาภาษาอังกฤษและภาษาท่ี ๓ แก่บรรพชติ  พฒั นาหลกั สตู รการพัฒนาภาษาตา่ งประเทศเพือ่ การสอื่ สารและการเผยแผ่ศาสนาแกบ่ รรพชติ และคฤหัสถ์  ให้ทนุ การศึกษา แก่ นักศกึ ษาต่างชาติ หรอื นกั ศกึ ษาแลกเปลย่ี น ๑.๔ โครงการ อริยะเอไอ ARIYA’s i คือ เทคโนโลยีเพ่อื การเผยแพร่พระพุทธศาสนา  การสรา้ งศูนย์กลางฐานข้อมลู องคค์ วามรู้พทุ ธศาสตร์ของประเทศจาก ทุกแหลง่ ทกุ มติ ิ ทีถ่ กู ตอ้ งเปน็ “National Digital Buddha Archive center หรือ N-DBA”  การเรยี นรูผ้ า่ นการตงั้ คาถามและตอบโดย AI ที่ทาการค้นหา “พุทธโอวาท คาสอนของพระเถระหรือเอกสาร ข้อมลู ” ที่เกยี่ วขอ้ งมาตอบให้ โดยสอน AI ใหด้ ึงคาตอบจากบรมครูและครบู าอาจารย์ เสมือนท่านเหลา่ นัน้ ยงั มชี วี ติ อยู่

๑๙ ตัวช้ีวัดการดาเนินการ มีการกาหนดตัวชี้วัดการดาเนินการของวิถีที่ ๑ โดยจาแนกเป็นประเภท ก วัดจากผลสัมฤทธ์ิ และประเภท ข วัดจากปจั จัยนาเขา้ และกระบวนการ ดงั ตอ่ ไปน้ี เจตนา ของวถิ ี : Strategic Objective ๑.ก. มงุ่ ประดษิ ฐาน พระพุทธศาสนา ให้มั่นคงในแผ่นดินไทย เพื่อเผยแผใ่ ห้กว้างไกลในโลก เมื่อดาเนนิ ถึงปลายทาง เราทราบโดยพจิ ารณาจาก (KPI ตวั ช้วี ัด ผลสมั ฤทธิ์ ; Output-Outcome ) ก๑. จานวน พลเมืองของโลกที่ได้รับการพัฒนาจนเป็นผู้ศรัทธาที่เข้าใจพระพุทธศาสนาอย่างถ่องแท้ สามารถเป็นกาลังสาคัญในการเผยแผอ่ ย่างกวา้ งขวางและธารงพระพทุ ธศาสนาอย่างถกู ตอ้ งให้มัน่ คง ประกอบไปด้วย  จานวนชาวไทยและชาวต่างประเทศ  จานวนบรรพชติ และคฤหสั ถ์  จานวนบรรพชิต ทง้ั ทเ่ี ปน็ พระสังฆาธกิ าร พระสงฆน์ กั วชิ าการ พระสงฆ์นักปฏบิ ตั ิ และพระสงฆ์ท่วั ไป  จานวนนักศึกษาเต็มเวลาและประชาชนพลเมืองท่ัวไป ทผี่ ่านกระบวนการเรยี นรจู้ ากมหาวทิ ยาลัยและเครือข่าย  จานวนท้ังจากช่องทางปกติ และชอ่ งทางออนไลน์ หรือจากเครือขา่ ยพนั ธมิตร ก๒. จานวนศาสนทายาท และศาสนทายาทสากล ทไ่ี ดร้ ับการพัฒนาจนแตกฉานถึงระดบั ตามเป้าหมายการพัฒนา ก๓. จานวน เมอื งท่ีพระพุทธศาสนาอนั ถกู ต้องไดธ้ ารงอยโู่ ดยม่นั คงเปน็ ท่ียอมรบั ของผู้มคี วามเปน็ บัณฑติ และผเู้ ป็นปญั ญาชนในเมืองนนั้ ๆ เมื่อยงั ดาเนนิ อยู่ เราเร่งรดั กจิ การท้ังปวง โดยพิจารณาจาก (KPI ตัวชว้ี ัด ปจั จัยนาเข้า และกระบวนการ ; Input-Process) ข๑. จานวนรายวิชาหรือหัวข้อความรู้ ท่ีได้รับการพัฒนาการเรียนรู้หรือเกิดเป็นการเผยแผ่ “ด้วยรปู แบบใหม่ทเี่ ข้าถงึ ผู้คนในกลมุ่ ใหม่หรือท่ีส่งผลให้เข้าใจในองคค์ วามรู้ทลี่ กึ ซึ้งข้ึน” ในรปู แบบใหม่ อาทิ  การใช้เทคโนโลยีเพอื่ การพัฒนาการเรียนร้แู กผ่ เู้ รียน และตดิ ตามพัฒนาการผู้เรยี นเปน็ รายบุคคล  การใช้โครงขา่ ย 5G ในการเข้าถงึ องค์ความรู้ และเขา้ ถึงผู้คน ผเู้ รียนรู้  การสร้างพื้นที่อิสระ (Free Space) คือการเรียนฟรี เรียนอิสระ เรียนในแบบท่ีถนัดจากท่ีใด ๆ ในโลก เรยี นในสิ่งแวดล้อมใหม่และในโลกเสมอื นจรงิ เพือ่ กระตุน้ องค์ความรเู้ ดมิ ของผู้เรยี นแตล่ ะรายให้เกิดการพฒั นาแบบ ก้าวกระโดด ท้ังยังเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้คนทั่วไปได้สัมผัส ทดลอง คุ้นเคย และเรียนรู้ก่อน จนในท่ีสุดการวัดผลเป็น ความสมคั รใจ เพราะความใคร่รู้ของผเู้ รียนเอง  การใช้การจัดการศึกษาระบบธนาคารหน่วยกติ เพอื่ เปดิ โอกาสให้เรียนรู้ตามอธั ยาศัย  การใช้สื่อเทคโนโลยีในการกระตุ้นการเรยี นรู้ เปน็ ผชู้ ว่ ยของผู้สอน เพื่อใช้ในการวดั และการประเมินผล ของผเู้ รียนเปน็ รายบคุ คล

๒๐ ข๒. จานวนผู้เรียน หรือผ้สู นใจในพระพทุ ธศาสนาท่ีเพิม่ ขึน้ โดยนับแบบสะสม  ผเู้ รียนชาวไทยในทุกเพศ ทุกวยั และทุกสาขาอาชพี จากทัว่ ประเทศ  ผู้เรียนชาวต่างประเทศ ทั้งจากประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศในภูมิภาคเอเชีย และประเทศอื่น ๆ นอกภูมภิ าค ทีส่ นใจในพระพุทธศาสนา ข๓. จานวนบรรพชิตที่ได้รับการพัฒนา เพ่ือการธารงพระพุทธศาสนาอย่างรอบด้าน อาทิ ด้านปริยัติธรรมด้านบริหาร บริการศาสนกิจ และศาสนสถาน ด้านภาษาต่างประเทศ และด้านการถ่ายทอดตามจริตของผู้เรียน ผู้ฟงั ผู้ประพฤติธรรม ข๔. จานวน หน่วยงาน-องค์กร-เครอื ขา่ ยพนั ธมติ รจากทวั่ โลก ท่ีเข้ามาร่วมกับมหาวิทยาลัยในการพัฒนา พลเมอื งโลกดว้ ยพระพุทธศาสนา ข๕. จานวน ผ้เู รยี นทง้ั บรรพชติ และคฤหัสถท์ ไ่ี ด้รับทุนการศึกษา จนมีความสาเร็จสัมฤทธ์ิผลทางการศึกษา ทางพระพุทธศาสนา

๒๑ ประยกุ ต์: วถิ ที ี่ ๒ ผสาน สร้างสรรค์ อย่างลึกซ้งึ เจตนา (Strategic Objectives) ๒.ก. พระพุทธศาสนาได้ยกระดับ และเคียงคู่ไปกับสรรพวิทยาของมวลมนุษย์ เพ่ือให้องค์ภูมิแห่ง พุทธปัญญา ปรากฏอยทู่ ่ามกลางความเป็นเลิศของสรรพวิชา กลุม่ เป้าหมาย ผลลพั ธก์ ารพัฒนา  ครู อาจารย์ นักวจิ ยั ผู้รู้ ผเู้ ชย่ี วชาญ  โครงการ วจิ ยั พัฒนา ออกแบบ แบบขา้ มศาสตรท์ ผ่ี สานพทุ ธ นกั ปฏบิ ัติ บรรพชติ จากทวั่ โลก ปรชั ญา  โครงการ ผลงาน ความรว่ มมอื และการแลกเปลย่ี น นกั ศึกษา นักวิจยั และบคุ ลากร ดา้ นการวจิ ยั ระหว่างสถาบันหรอื ระหวา่ งประเทศ  ผลงานนวตั กรรมทางมนษุ ย์สังคม  การพัฒนาทฤษฎีใหม่จากสหศาสตร์สาขาและพทุ ธปรัชญา  การสร้างสหสาขาการวจิ ัยใหม่ เชน่ พุทธศาสนาเทคโนโลยี  ทีมวจิ ัยรนุ่ ใหมร่ ะหว่าง คฤหัสถ์และบรรพชิต ทขี่ ้ามศาสตรห์ รือข้าม สถาบนั  องคค์ วามรู้ งานวิจัย ทัง้ วทิ ยาศาสตร์  แหลง่ ทุนจากผ้นู าผลงานไปใช้ประโยชน์ หรอื ได้รบั ประโยชน์จาก ผลงาน และองค์ความรู้ทเี่ กดิ จากการวิจัย พัฒนา และออกแบบขนึ้ สุขภาพ วิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี มนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์  โครงการวิจยั พฒั นา หรือการออกแบบ  ชอ่ งทางการเผยแพร่องคค์ วามรู้ ผลงานจากงานวจิ ัยสผู่ ู้ใช้ หรือสู่ ภาคสงั คมท่ีทนั สมยั เขา้ ถงึ กลมุ่ เปาู หมายแบบเจาะจงหวงั ผลได้  การรวมกลุม่ ทางสังคมของผชู้ นื่ ชมในธรรม ทแ่ี บง่ ปนั เรยี นรู้ และ/ หรอื ระบบนิเวศน์นวัตธรรม มรรคา มกี ารกาหนดแนวทางในการดาเนินการเพื่อบรรลุเจตนา ๔ มรรคา ดงั ตอ่ ไปน้ี มรรคาที่ ๒.๑ ขยายความรูแ้ จง้ ในพุทธศาสนาผา่ นสหศาสตรส์ าขา มรรคาที่ ๒.๒ เรยี นรพู้ ระพทุ ธศาสนาจากมุมมองของศาสตร์เดมิ ของตน มรรคาท่ี ๒.๓ พัฒนาศาสตร์ตนโดยใชอ้ งค์ความร้จู ากพระพุทธศาสนา มรรคาท่ี ๒.๔ สร้างการเชื่อมศาสตร์ต่าง ๆ ด้วยการบรู ณาการผา่ นพระพทุ ธศาสนา

๒๒ มรรคาท่ี ๒.๑ ขยายความรู้แจง้ ในพุทธศาสนา ผา่ นสหศาสตร์สาขา มรรคาท่ี ๒.๒ เรียนรพู้ ุทธศาสนา มรรคาท่ี ๒.๓ พฒั นาศาสตร์ตน จากมมุ มองของศาสตร์เดิมของตน โดยใชภ้ มู ริ ู้จากพระพุทธศาสนา มรรคาท่ี ๒.๔ สร้างการเชื่อมศาสตรต์ ่าง ๆ ดว้ ยการบูรณาการผ่านพระพุทธศาสนา

๒๓ โครงการขนาดใหญ่ จดั ทาโครงการขนาดใหญ่อยา่ งตอ่ เนอ่ื งเพ่อื ผลสัมฤทธิ์ทเี่ ป็นรูปธรรมและย่ังยนื สอดคล้องกบั แตล่ ะมรรคาดงั ต่อไปน้ี ๒.๑ โครงการ วจิ ยั พทุ ธศาสตร์และสหศาสตรส์ าขาวทิ ยาการ ก่อตงั้ สถาบนั เพอ่ื ขับเคล่ือนภารกจิ ด้านการวจิ ยั บรู ณาการ สหศาสตร์/ขา้ มสาขา และนวตั ธรรม  พฒั นาโครงการ ผลงาน ความรว่ มมอื และแลกเปลี่ยน นกั ศกึ ษา นักวิจยั บคุ ลากร ด้านการวจิ ยั ทัง้ ภายใน และภายนอก โดยเฉพาะระหวา่ งสถาบนั หรอื ระหว่างประเทศ ในหลากหลายมติ ิ อาทิ o ข้ามศาสตร์ที่ผสานพทุ ธปรชั ญา o การวจิ ัยพทุ ธศาสนาอย่างรอบด้านในทกุ มิติ ท้งั ในเชงิ ประวัตศิ าสตร์ วฒั นธรรม โบราณคดี ศิลปะ นิรุกติศาสตร์ มานษุ ยวิทยา สังคมศาสตร์ ศาสนา ปรชั ญา ศาสนาเปรยี บเทียบ และศาสตรอ์ ื่น ๆ ท่เี กยี่ วขอ้ ง o ดา้ นภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต และภาษาอนื่ ๆ ทีเ่ กยี่ วข้อง  พฒั นาโครงการ วจิ ยั พฒั นา ออกแบบ ผลงานนวัตธรรมทางมนษุ ย์สงั คม  พฒั นา สร้างสรรค์ และนาเสนอทฤษฎใี หม่จากสหศาสตรแ์ ละพุทธปรัชญา  แสวงหา แหล่งทุนจากผู้นาผลงานไปใช้ประโยชน์ หรือได้รับประโยชน์จากผลงาน และองค์ความรู้ที่วิจัย พัฒนา และ ออกแบบขนึ้ รวมไปถึงใหท้ นุ แก่ผูส้ นใจวจิ ัยและพัฒนาท่ีเกี่ยวขอ้ ง  สง่ เสรมิ สนบั สนุนงานวจิ ยั แบบบรู ณาการข้ามศาสตร์เพื่อออกแบบ และแก้ปัญหาความทุกข์ในสังคม หรือการขาดสติ ดว้ ยวทิ ยาศาสตร์ ศาสนาและปรัชญา  สรา้ งสรรค์ สหสาขาการวจิ ยั ใหม่ เช่น พทุ ธศาสนาเทคโนโลยี  บม่ เพาะ ทีมวจิ ยั รุน่ ใหม่ ระหว่าง คฤหสั ถ์-บรรพชติ ทข่ี า้ มศาสตรห์ รือขา้ มสถาบัน  ประมวล ประสาน และบูรณาการ เพื่อให้เกิดเป็นแหล่งอ้างอิงองค์ความรู้ด้านพระพุทธศาสนาที่ได้จากการวิจัย พร้อม เผยแพร่องค์ความรู้ด้านพระพุทธศาสนาที่ได้จากการวิจัย หรือแม้แต่นาองค์ความรู้ไปสู่การให้คาปรึกษาแนะนาด้าน พระพุทธศาสนา เป็นช่องทางหลักอีกหนึ่งช่องทางในการสร้างสรรค์ รูปแบบการเผยแพร่องค์ความรู้ ผลงานจาก งานวิจัยแบบใหม่ๆ สู่ผู้ใช้ ผู้นาไปใช้ประโยชน์ หรือสู่ภาคสังคมประชาชน สาธารณชนที่ทันสมัย เข้าถึงกลุ่มเปูาหมาย แบบเจาะจงหวังผลได้ ตัวชีว้ ดั การดาเนนิ การ มีการกาหนดตัวช้ีวัดการดาเนินการของวิถีที่ ๒ โดยจาแนกเป็นประเภท ก วัดจากผลสัมฤทธิ์ และประเภท ข วัดจากปัจจยั นาเขา้ และกระบวนการ ดงั ต่อไปน้ี เจตนา ของวถิ ี : Strategic Objective ๒.ก. พระพุทธศาสนาได้ยกระดับ และเคียงคู่ไปกับสรรพวิทยาของมวลมนุษย์ เพื่อให้องค์ภูมิแห่ง พทุ ธปญั ญาปรากฏอย่ทู ่ามกลางความเป็นเลศิ ของสรรพวิชา

๒๔ เมือ่ ดาเนินถึง ปลายทาง เราทราบโดยพจิ ารณาจาก (KPI ตัวช้วี ัด ผลสมั ฤทธ์ิ ; Output-Outcome) ก๑. จานวน โครงการการวจิ ัยเชิงบูรณาการ สหศาสตร์/ข้ามสาขา ทผ่ี สานพทุ ธปรชั ญา - พุทธปญั ญา  โครงการวจิ ยั ท้ังภายใน และภายนอก มหาวทิ ยาลยั  โครงการวจิ ยั ระหวา่ งสถาบัน หรอื ระหว่างประเทศ  โครงการวิจัยใหม่ โครงการทอี่ ยรู่ ะหวา่ งดาเนินการ โครงการทีแ่ ลว้ เสร็จ  โครงการทไ่ี ดร้ บั ทนุ วจิ ยั จากมหาวทิ ยาลยั และจากหน่วยงาน/องคก์ รภายนอก ก๒. จานวน ผลงานท่มี ีการนาไปใช้ประโยชน์ หรอื ตอบสนองต่อปัญหาสงั คม  ผลงานวจิ ัย ผลงานวิชาการ และผลงานนวตั ธรรม ก๓. จานวน หน่วยทางสังคมท่ไี ดร้ บั ประโยชนจ์ ากการวจิ ยั หรอื จากการนาผลงานไปใช้ เมื่อยงั ดาเนนิ อยู่ เราเรง่ รดั กิจการทั้งปวง โดยพจิ ารณาจาก (KPI ตวั ชี้วดั ปจั จยั นาเข้า และกระบวนการ ; Input-Process) ข๑. จานวน โครงการวิจัยพุทธศาสนาเชิงลึกอย่างรอบด้านในทุกมิติ (ทั้งในเชิงประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม โบราณคดี ศิลปะ นิรุกติศาสตร์ มานุษยวิทยา สังคมศาสตร์ ศาสนศาสตร์ ปรัชญา การปฏิบัติ ศาสนาเปรียบเทียบ และ ศาสตรอ์ ืน่ ๆ ทเ่ี กยี่ วข้อง) ข๒. จานวน นกั วจิ ัยทม่ี กี ารวิจยั เชงิ บูรณาการ สหศาสตร/์ ข้ามสาขา ที่ผสานพุทธปรชั ญา - พทุ ธปัญญา ข๓. มลู ค่า ทนุ สนบั สนุนการวจิ ัยทไี่ ด้รบั จากภายนอก ข๔. จานวน นักวิจัยภายนอก หน่วยงานภายนอก หรือองค์กรภายนอกที่เข้ามาร่วมวิจัยกับนักวิจัย หรือ บุคลากรของมหาวทิ ยาลยั ข๕. จานวน ผู้ชม ผู้เขา้ ค้นคว้า หรอื ผูร้ บั ข้อมลู จากรปู แบบ หรือช่องทางการเผยแพร่ผลงานวิจัยต่าง ๆ

๒๕ ปฏบิ ตั ิ: วิถที ่ี ๓ คน้ หา “ตน” เตมิ “คน” เสรมิ สร้าง “สังคม” เจตนา ของวถิ ี : Strategic Objective ๓.ก. นาทางและยกระดับการพัฒนาจิตใจชาวโลก สู่การเป็นมนุษย์อีกครั้ง เพ่ือเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ก่อใหเ้ กิดเปน็ สงั คมทม่ี คี วามเขม้ แขง็ มภี ูมคิ ้มุ กันจากสมาชิกที่มีจิตวิญญาณสติปญั ญาแบบวถิ ีพุทธ กล่มุ เปา้ หมาย ผลลัพธ์การพัฒนา  ครู นกั เรยี น ผ้ปู กครอง อาจารย์ สถานศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั  ตาแหนง่ งานใหม่เพอ่ื การพัฒนาสงั คมสงบสุข โดยเฉพาะท่ีมกี ารพฒั นาวิชาชพี เช่น ครู แพทย์ ทนายความ เชน่ ท่ีปรกึ ษาบริษทั ทางจิตวิญญาณ นักวจิ ยั ทาง วศิ วกร สถาปนกิ นักบญั ชี วญิ ญาณและสมอง  กลมุ่ วชิ าชีพ แพทย์ ทนายความ วศิ วกร สถาปนกิ นักบญั ชี  ผู้ประกอบวชิ าชีพวถิ ีพทุ ธ สอ่ื สารมวลชน นักการตลาด ตารวจ ทหาร  ระบบการบรหิ าร และพฒั นาบคุ ลากรแบบ  กลุ่มนกั บริหาร ผู้บริหาร นักปกครอง ใหม่ (HRM+HRD+HRE) อาศัยพระพทุ ธศาสนาเป็น แกน โดยพฒั นาระบบบรหิ ารและพฒั นา ทรพั ยากร  กลมุ่ /เครือข่าย ผู้ปฏบิ ัติธรรม – ศรทั ธาธรรม บคุ คลตามแนวทางพุทธวถิ ี  สมาชกิ ในสงั คมท่ีหลากวัย ต้ังแตเ่ ด็ก เยาวชน วัยรุ่น วยั  อกาลโิ ก Channel ศึกษา วยั ทางาน วัยกอ่ นเกษยี ณ ผ้สู งู วัย  ชุมชนเมอื ง ชุมชนชนบท  ระบบสังคมท่ลี ดความเหลื่อมล้าด้วยการนาโดย พระพุทธศาสนา  เครอื ข่าย วดั รว่ มพฒั นา “จติ วญิ ญาณชุมชน”  สถานประกอบการทเี่ กีย่ วข้องกับการให้บรกิ ารดา้ นสขุ ภาพ  รพ. วถิ พี ุทธ “รักษากาย เยียวยาใจ” เชน่ โรงพยาบาล Fitness  กลุม่ วัดที่มศี ักยภาพและมเี จตนาในการพฒั นาชุมชน รอบ  สถานประกอบการท่ีอบอุ่น วดั หรอื ท่พี นื้ ท่ที ่วี ดั ตง้ั อยู่  เครือข่ายภาคการเกษตร เช่น ปราชญช์ าวบ้าน เศรษฐกิจ  เกษตรประณตี จิตประณตี “เกษตรธรรม” พอเพยี ง และเกษตรอนิ ทรยี ์  เครือข่ายประเทศพทุ ธศาสนารากฐานภมู ิ  ประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศท่ีนับถอื ศาสนาพทุ ธเป็นศาสนา ปัญญาแห่งตะวันออก ประจาชาติ  Heal the World by Digital Buddha Networking  กลุ่มสังคมออนไลนด์ า้ นเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา มรรคา มกี ารกาหนดแนวทางในการดาเนินการเพ่อื บรรลุเจตนา ๓ มรรคา ดงั ต่อไปนี้ มรรคาท่ี ๓.๑ “เดินตามพุทธวถิ ”ี อายตนะท้งั ๖ ประตสู ูก่ ารพฒั นา เรมิ่ จากตนเพ่อื คนอน่ื ๆ มรรคาที่ ๓.๒ “ประสานพลัง” เครือขา่ ยทางสงั คม เพือ่ ยกระดบั สงั คมไทย มรรคาที่ ๓.๓ “ขยบั โลก” ด้วยพลงั เครือขา่ ยแหง่ พระพุทธศาสนา

๒๖ โครงการขนาดใหญ่ จดั ทาโครงการขนาดใหญ่อย่างต่อเนอ่ื งเพือ่ ผลสมั ฤทธท์ิ เี่ ป็นรปู ธรรมและย่ังยืน สอดคล้องกบั แตล่ ะมรรคาดงั ตอ่ ไปน้ี ๓.๑ โครงการ “พลเมืองดูแลตนเอง ต้องเร่ิมจากมองตน ดูจิตตน เพื่อผู้คนในสังคม” การใช้หลักพระพุทธศาสนาเพื่อเป็น สว่ นหนึง่ ของการพฒั นาสูก่ ารเปน็ มนษุ ยท์ ส่ี มบูรณ์ของพลเมอื งโลก พฒั นาทักษะด้านการเป็นผู้นาหรือผบู้ รหิ ารผ่านหลักพรหมวิหาร ๔ พฒั นากระบวนการคิดและทาเพือ่ ประโยชน์แก่สังคมดว้ ยหลกั อิทธิบาท ๔ การเขา้ ใจถงึ การเปล่ยี นแปลงและความเสีย่ งเพ่ือการดารงชีวติ อยา่ งไม่ประมาทและเปน็ สุขผา่ นหลักไตรลกั ษณ์ สงู วัย เพื่อตน และคนอน่ื หลากวยั รว่ มดูแลกัน ดว้ ยการใช้ธรรมนาหนา้ เมตตาคนอน่ื คอื เมตตาตนเอง สอนลูกใหล้ ุ่มรวย ไม่ใช่แคร่ า่ รวย Idol ชีวติ วถิ พี ุทธ ก็สขุ ไดใ้ นโลก “กล้า” การเสนอตัว อุทิศตัว เสียสละประโยชนค์ วามสุขสว่ นตวั เพอ่ื สังคม ๓.๒ โครงการ เครือขา่ ยวชิ าชีพ เพ่อื ยกระดับจติ เพราะมากกว่าดารงชีพ คอื ประคองชพี สรา้ งความรว่ มมอื จากสถานศกึ ษา และกล่มุ วิชาชีพ นักธรุ กจิ HR Networking เช่น o วิชาชพี อยา่ งมอื อาชีพ ตอ้ งประคองชีพมากกว่าแค่ยงั ชพี o นักธรุ กจิ ผูป้ ระสบความสาเรจ็ ในการใช้ชวี ิตทคี่ วรค่าแห่งความเปน็ มนษุ ย์ พัฒนาช่องทางใหม่ ๆ ทนั สมยั ดว้ ยผู้คนคุณภาพ อยา่ งมีคณุ ภาพ เพอ่ื สรา้ งสรรคค์ ุณคา่ แก่สงั คม เช่น อกาลิโก Channel วางระบบการประสานเพื่อการพัฒนากลมุ่ ทางสังคม หนว่ ยทางสงั คม ชุมชน องคก์ รท่มี ีความอ่อนไหว และลุ่มลึกเข้าหาผคู้ น ในทกุ ระดับไดอ้ ย่างกวา้ งขวางโดยไม่แบ่งแยก ทใี่ ดผู้คนเทา่ เทียม ทนี่ ้นั เรามีเครือข่าย เชน่ o วัด : เครือขา่ ย วดั รว่ มพัฒนา “จิตวิญญาณชุมชน” o โรงพยาบาล : รพ.วิถพี ทุ ธ “รกั ษากาย เยยี วยาใจ” o โรงงานที่มกี ารใชแ้ รงงาน หรอื สถานบรกิ าร : สถานประกอบการทีอ่ บอุ่น o ชนบท/เกษตรกรรม : เกษตรประณีต จิตประณีต “เกษตรธรรม” ๓.๓ โครงการพทุ ธศาสตร์สากล กอ่ ตงั้ สถาบนั ใหมเ่ พอื่ ขบั เคลอื่ นภารกจิ ด้านความเปน็ นานาชาติ ๓.๔ โครงการเครือข่ายประเทศชาวพุทธ สู่การเป็นรากฐานภูมิปัญญาแห่งตะวันออก Heal the World by Digital Buddha Networking

๒๗ ตวั ชวี้ ัดการดาเนนิ การ มีการกาหนดตัวช้ีวัดการดาเนินการของวิถีที่ ๓ โดยจาแนกเป็นประเภท ก วัดจากผลสัมฤทธ์ิ และประเภท ข วดั จากปัจจัยนาเข้าและกระบวนการ ดงั ต่อไปน้ี เจตนา ของวิถี : Strategic Objective ๓.ก. นาทางและยกระดับการพัฒนา จิตใจชาวโลก สู่การเป็นมนุษย์อีกคร้ัง เพ่ือเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ก่อใหเ้ กิดเป็นสังคมทมี่ ีความเขม้ แข็งมภี มู คิ ุม้ กันจากสมาชิกที่มจี ิตวญิ ญาณสติปัญญาแบบวถิ ีพทุ ธ เมอื่ ดาเนินถงึ ปลายทาง เราทราบโดยพิจารณาจาก (KPI ตวั ช้ีวัด ผลสัมฤทธ์ิ ; Output-Outcome) ก.๑ จานวน โครงการท่ีเข้าข่ายการพฒั นาจติ ตามพทุ ธปรชั ญา - พุทธปญั ญา เพอ่ื พัฒนาพลเมือง  โครงการภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย  โครงการภายในประเทศหรือระหว่างประเทศ  โครงการใหม่ โครงการทอี่ ยู่ระหว่างการดาเนินการโครงการทีแ่ ล้วเสรจ็  โครงการทไี่ ด้รบั การสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยและจากหน่วยงาน/องค์กรภายนอก ก.๒ จานวน หน่วยทางสังคมที่ได้รับประโยชน์หรือได้ร่วม ได้รับผลเชิงบวกจากกระบวนการพัฒนาของ โครงการต่าง ๆ ทีม่ หาวทิ ยาลัยไดม้ สี ว่ นร่วม  หนว่ ยทางสังคม๑ ที่ร่วมจัด หน่วยท่ีได้รับผลเชิงบวก และหน่วยที่ได้รับผลประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ การจัดกจิ กรรม/โครงการ  ภาคราชการ และภาคเอกชน  หน่วยทางสังคมทเ่ี กิดข้นึ โดยมหาวิทยาลัยเปน็ ผู้จดั หรือมหาวทิ ยาลัยเขา้ ไปมสี ว่ นรว่ ม ก.๓ จานวน หน่วยงานหรือองค์กร ท่ีมีการจัดกิจกรรม โครงการ ร่วมกันในการพัฒนาพลเมือง ตาม พทุ ธปรัชญา – พทุ ธปญั ญา  หน่วยงานหรือองค์กร ระดบั ประเทศ และระหวา่ งประเทศ  หน่วยงานหรือองค์กร ที่มีการดาเนินการคุ้นเคยอยู่เดิม และหน่วยงาน/องค์กรภายนอกใหม่ ๆ ทเี่ ขา้ มารว่ มกับมหาวิทยาลัย ๑หน่วยทางสังคม อาจหมายถึง บุคคล หรือ กลุ่มบุคคล หน่วยงาน องค์การ หรือการรวมกลุ่มกันแบบเป็นทางการหรือไม่เป็น ทางการ เพ่อื วตั ถปุ ระสงคร์ ว่ มกนั โดยอาจเกิดข้ึนเป็นครงั้ คราวตามโอกาส หรือ เกดิ ข้ึนอย่างม่ันคง

๒๘ ก.๔ จานวน เครือข่ายทางสังคมที่มหาวิทยาลัยร่วมสร้างขึ้นใหม่ เพื่อให้เกิดการพัฒนาพลเมืองตาม พทุ ธปรชั ญา – พทุ ธปญั ญา เมอ่ื ยงั ดาเนินอยู่ เราเร่งรดั กจิ การทง้ั ปวง โดยพจิ ารณาจาก (KPI ตัวช้ีวดั ปจั จัยนาเขา้ และกระบวนการ ; Input-Process) ข๑. จานวน โครงการที่เข้าขา่ ยทีส่ ่วนงานตา่ ง ๆ หรอื หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ในมหาวทิ ยาลัย จัดขึ้นในแต่ละปี ข๒. จานวน พลเมืองที่เข้าร่วมในกิจกรรม/โครงการท่ีเก่ียวข้อง ซึ่งมหาวิทยาลัยจัดขึ้น หรือมหาวิทยาลัยมี สว่ นร่วมในการจดั ข๓. มลู คา่ ทุนสนับสนนุ ในวตั ถปุ ระสงคด์ งั กลา่ วท่ไี ด้รบั จากภายนอก ข๔. จานวน หนว่ ยงานภายนอก/องค์กรภายนอก/หน่วยทางสังคมทเ่ี ข้ามาร่วมกบั มหาวิทยาลัย

๒๙ ปฏิบถ: วิถีที่ ๔ ฟืน้ ฟู เยียวยา นาพากลับสู่ ความสวา่ ง สงบ เจตนา ของวิถี : Strategic Objective ๔.ก. ร่วมเติมเต็ม และเสริมพลัง แก่สังคมทุกภาคส่วน ที่อ่อนล้า พลัด หลง เพ่ือให้สมาชิกในสังคม ฟื้นคืนกลับสู่ความเข้มแข็งทางจิตวิญญาณ เกิดความมั่นคงยืนหยัด และก้าวเดินต่อไปอย่างย่ังยืนในทิศทางท่ีถูกควร ตามทานองคลองธรรม กลมุ่ เปา้ หมาย ผลลัพธ์การพฒั นา พลาดพลง้ั (ทาผดิ ต่อตนเอง ต่อหน้าที่ ตอ่ ผู้มคี ณุ ต่อผเู้ ปน็ ทร่ี ัก ตอ่ ผู้อนื่ ต่ออาญาแผน่ ดิน)  ผู้ถกู สอบ/ระหวา่ งพิจารณา-ดาเนนิ คดี/ถูกตดั สินว่า ทจุ รติ ละเมดิ ละเลย หนา้ ท่ี ผดิ กฎหมาย พลัดหลง (หลงในความไม่รู้ หลงในโลก หลงในกาย หลงจากทานองคลองธรรม หลงดว้ ย ฟนื้ ฟู จิตของ จิตทไี่ รเ้ คร่อื งยดึ เหนย่ี ว) พ๔  นักโทษ; ลหุโทษ กลบั สู่ พลดั ตก (จติ ตกอยใู่ นความมดื หมกมุ่น เศร้าซมึ อยู่ในความเร่ารอ้ น ความกระสับกระส่าย ความเจบ็ ไขไ้ ด้ปุวย ทรมานกาย ความหดหู่)  ผดู้ ้อยโอกาสทางสังคม (ดอ้ ยทางฐานะทางสังคม ไม่ด้อยด้วยฐานะทางจติ ใจ) จติ ของความเปน็ มนุษยท์ ่เี ข้มแข็ง  ผตู้ กอยู่ในอาการซมึ เศร้า ผดิ หวัง ลม้ เหลว เจ้าของธุรกจิ ทปี่ ดิ ตวั ผ้ถู ูก ฟูองลม้ ละลาย ลกู จ้างถูกให้ออก เลิกจา้ ง ตามอัตภาพ  ผตู้ กอยใู่ นความทกุ ข์ อยดู่ ้วยความเร่าร้อนรุมเร้า ผู้มบี าดแผลทางจติ  ผู้เกษยี ณอายุ หรือ ผสู้ ูงอายุอยลู่ าพังในเมืองหรอื ในชนบท  ผเู้ จ็บปวุ ยด้วยโรคเรือ้ รงั และ/หรอื ร้ายแรง พลัดพราก (เศร้าโศกจากความสญู เสยี ไมไ่ ด้ ไมม่ ี ไม่เป็น ผิดหวงั )  ผู้ประสบอุบัติเหตุ ผปู้ ระสบภัยพบิ ัติ ผู้สญู เสียคนในครอบครวั /บุคคลอันเปน็ ท่รี ัก มรรคา มีการกาหนดแนวทางในการดาเนนิ การเพ่อื บรรลเุ จตนา ๓ มรรคา ดังต่อไปนี้ มรรคาที่ ๔.๑ “เฝ้าระวัง-เขา้ ถงึ -ประคบั ประคอง” ดว้ ยโครงข่ายพ้ืนฐานทางสังคมทป่ี ระสาน ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน มรรคาท่ี ๔.๒ “ฟื้นฟู” จิตท่ีติดหล่ม ด้วย ๔ พ : พระ-พี่(เล้ียง)-เพ่ือน-พวก ร่วมด้วยช่วยกัน ได้แก่ พระ เช่น พระภิกษุ สามเณร พเี่ ลี้ยง เช่น จิตแพทย์ นักให้คาปรึกษาทางจิต นักบาบัด เพ่ือน เช่น คน สัตว์เลี้ยง ต้นไม้ ฯลฯ พวก เช่น ผู้คนที่ เคยเผชญิ เร่อื งเหล่านเี้ หมือนกนั และผ่านพ้นมาได้ มรรคาท่ี ๔.๓ “โอกาส” เปน็ ส่ือกลาง เป็นผสู้ ร้างและมอบโอกาส เป็นโอกาสแก่ผู้คนที่พลาดพล้ัง พลัดหลง พลัดตก และ พลัดพราก ในทกุ ชว่ งจงั หวะ

๓๐ โครงการขนาดใหญ่ จดั ทาโครงการขนาดใหญอ่ ยา่ งต่อเนอ่ื งเพือ่ ผลสมั ฤทธทิ์ เ่ี ปน็ รูปธรรมและยง่ั ยนื สอดคลอ้ งกบั แตล่ ะมรรคาดังตอ่ ไปน้ี ๔.๑ โครงการ ความร่วมมือในการเฝา้ ระวัง และฟืน้ ฟทู างมนุษยแ์ ละสงั คม เพือ่ คนื ผู้คนแกส่ งั คม  ประสานภาคราชการ เชน่ กระทรวงยุตธิ รรม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงพฒั นาความมนั่ คงของ มนุษย์ สานกั งานตารวจแหง่ ชาติ เพื่อวางกลไกการเฝูาระวงั และเข้าถึง ร่วมกับภาคอี ่นื ๆ  สอ่ื กลางประสานความรว่ มมอื ภาครัฐและภาคเอกชน ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ เพื่อช่วยเหลือ ประคบั ประคอง ฟื้นฟู ผ้คู นที่ยังตกอยู่ใน พ๔ o เยยี วยาในทัณฑสถาน o ประคบั ประคอง “จิต” ผตู้ ้องคดี ระหว่างพิจารณาดาเนินการ o รกั ษา “จิต” ในกายทีเ่ จบ็ ปุวย ท่บี า้ น ทว่ี ดั ท่รี พ. o ร่วมพฒั นาระบบดูแล “จติ ” ใน โรงเรียน มหาวิทยาลยั สถานประกอบการ  พฒั นาโครงขา่ ย ภาคประชาชน อาจเป็น พลเมอื งอาวุโส ทส่ี ุขมุ ร่มเย็น อาจเป็น พลเมอื งวัยทางาน ทีม่ ีจิตสาธารณะ อาจเปน็ พลเมืองทอ่ี ิม่ แล้ว พร้อมจะแบ่งปนั เขา้ มาร่วมกนั กับ มหาวทิ ยาลัย ในการเปน็ ส่วนหนึ่งโครงสร้างพน้ื ฐานสาคัญของ ประเทศในฐานะ “ภมู ิคุ้มกันทางสังคมของประเทศ” ๔.๒ โครงการ “แสงสวา่ ง”  มอบโอกาสแกผ่ ูค้ น ดงึ ผู้คน อยา่ ใหห้ ล่น ตดิ หลม่ โดยผคู้ นที่มโี อกาส หรอื จากฝ่ังของสังคมทีม่ ีกาลงั เพอ่ื ไมใ่ หส้ ังคม ภาพรวมอ่อนล้า เสยี สมดุล  สร้างชอ่ งทาง รูปแบบ กลไกในการ “ส่ือสารใหก้ าลังใจ” “แสวงหาโอกาส” “ส่งมอบโอกาส” “ตดิ ตามการ พฒั นาการ”จากโอกาสทไ่ี ดม้ อบให้ ๔.๓ โครงการ “ชายผ้าเหลือง”  ช่อื โครงการเป็นสญั ลักษณ์ของความบรสิ ุทธ์ิ ความสิ้นไป ความวางใจได้ การพึง่ พาอาศยั ความสมถะสันโดษ  พัฒนาผคู้ นทีฟ่ ้ืนฟสู าเร็จ ให้มคี วามพร้อม มีทักษะและศักยภาพ ในการชว่ ยเหลือ ประคบั ประคองผูค้ นทีย่ ังตกอยู่ใน พ ๔ เช่น o สติ เตือน “จิต” ที่หลดุ ไป ให้กลบั สู่ ทานองคลองธรรม o โอบอมุ้ “จิต” ที่ถูกตนเอง ทรมาน o ดงึ “จิต” ให้กลบั ส่คู วามปกติ จากความพลัดพราก o เตรียม “จิต” ใหพ้ รอ้ มรับความกระทบกระทง่ั o วาง “จิต” ใหถ้ ูกตอ้ งตามความเปน็ จริง รบั รู้ เรยี นรู้

๓๑ ตวั ช้ีวดั การดาเนินการ มีการกาหนดตัวช้ีวัดการดาเนินการของวิถีที่ ๔ โดยจาแนกเป็นประเภท ก วัดจากผลสัมฤทธ์ิ และประเภท ข วดั จากปจั จัยนาเขา้ และกระบวนการ ดังตอ่ ไปน้ี เจตนา ของวถิ ี : Strategic Objective ๔.ก. ร่วมเติมเต็ม และเสริมพลัง แก่สังคมทุกภาคส่วน ท่ีอ่อนล้า พลัด หลง เพื่อให้สมาชิกในสังคม ฟ้ืนคืน กลับสู่ความเข้มแข็งทางจิตวิญญาณเกิดความม่ันคงยืนหยัด และก้าวเดินต่อไปอย่างยั่งยืนในทิศทางที่ถูกควร ตามทานองคลองธรรม เมือ่ ดาเนินถงึ ปลายทาง เราทราบโดยพิจารณาจาก (KPI ตัวชว้ี ัด ผลสัมฤทธิ์ ; Output-Outcome) ก๑. จานวน ประชาชน และพลเมือง ที่ได้รับการฟื้นฟู ด้วยวิถีพุทธ จนสามารถดาเนินชีวิต ได้อย่าง ปกตสิ ขุ ตามอัตภาพ  ประชาชน และพลเมอื งชาวไทย และชาวต่างประเทศ  ประชาชน และพลเมอื งท่ีแสดงตวั โดยเปิดเผย หรือ ปกปดิ  ประชาชน และพลเมอื งทเ่ี คยพลดั -พลาด มาก่อน และ ทพ่ี ึง่ เคยเป็นครงั้ แรก ก๒. จานวน ผู้อุทิศตน เสียสละความสุขส่วนตน แรงกาย หรือทรัพย์ทั้งหลาย เพื่อมีส่วนร่วมกับ มหาวทิ ยาลัยในการช่วยเหลอื เยยี วยา ฟ้ืนฟู และให้โอกาส ผู้คน; พ ท้งั ๔ ก๓. จานวน หน่วยงาน/องค์กร/เครือข่ายภาคประชาชน ในการเข้ามามีส่วนร่วมในการ เฝ้าระวัง - เข้าถงึ -ประคบั ประคอง ก๔. จานวน สมาชิกเครือข่ายผู้ที่ได้รับการพัฒนา หรือผู้ท่ีมีศักยภาพ (พระ-พี่-เพื่อน-พวก) ใน การประคบั ประคอง และฟื้นฟจู ติ ใจ เม่ือยงั ดาเนินอยู่ เราเรง่ รัดกจิ การทง้ั ปวง โดยพิจารณาจาก (KPI ตวั ชีว้ ัด ปัจจัยนาเขา้ และกระบวนการ ; Input-Process) ข๑. จานวน คน-คร้ัง ของผู้ที่ได้เข้ารับบริการ รับความช่วยเหลือ ร่วมเข้ากิจกรรม โครงการท่ีดาเนินการ ในกิจกรรมเพือ่ การน้ี ข๒. จานวน คน-ช่ัวโมง การจัดบริการ กิจกรรม โครงการ ท่ีมหาวิทยาลัยมีส่วนร่วม ซ่ึงมีวัตถุประสงค์เพ่ือ ประคับประคอง ฟ้ืนฟู ช่วยเหลอื ผคู้ นกลุ่มเปูาหมาย ข๓. จานวน บริการ/กจิ กรรม/โครงการ ท่ีเขา้ ข่าย ซงึ่ มหาวิทยาลยั มีสว่ นร่วม ในแต่ละปี

๓๒ ปฏริ ูป: วถิ ที ี่ ๕ พลกิ เปลี่ยน ปรบั รบั การเปลี่ยนแปลง เจตนา ของแตล่ ะวถิ ี : Strategic Objective ๕.ก. พฒั นาองคก์ รแบบก้าวกระโดดในทกุ องคาพยพ ท้ังบทบาท โครงสร้าง กระบวนการ การบริหาร และ ทรัพยากร สู่องค์กรอนาคตแห่งความรู้และภูมิปัญญา ท่ีร่วมพัฒนาอนาคตของสังคมไทย และสังคมโลกซึ่งสามารถ ปรับตัวไดท้ ันตอ่ การเปลยี่ นแปลงทรี่ วดเรว็ และรุนแรงในอนาคต ผลลพั ธข์ องการพัฒนา  Int. & Ext. Communication : PR  Infrastructure Management : IT  HRM & HRD , Man-Power Management : HR Org.  Internal Audit, Control System , Risk Management  Budgeting, F/N , Funding  Asset & Facility มรรคา มีการกาหนดแนวทางในการดาเนนิ การเพือ่ บรรลเุ จตนา ๔ มรรคา ดังต่อไปนี้ มรรคาท่ี ๕.๑ “พลกิ โฉม” ระบบบริหารทรพั ยากรมนษุ ย์ Next Gen for HR มรรคาที่ ๕.๒ “รือ้ ปรับ” สู่ Digital University มรรคาท่ี ๕.๓ “สร้างสรรค์” การส่ือสาร ประชาสมั พนั ธ์ เผยแพร่ COMMUnitaction มรรคาที่ ๕.๔ “ปฏริ ูป” ทงั้ องคก์ ร สู่ New MAHAMAKUT ทั้งในด้านกฎหมาย โครงสรา้ ง กระบวนการ ระบบบรหิ าร ระบบดาเนนิ การ ระบบบรกิ าร และระบบกากบั ตดิ ตาม

๓๓ โครงการขนาดใหญ่ จัดทาโครงการขนาดใหญ่อยา่ งตอ่ เนือ่ งเพื่อผลสมั ฤทธทิ์ ่เี ปน็ รูปธรรมและยั่งยนื สอดคลอ้ งกับแตล่ ะมรรคาดังต่อไปน้ี โครงการ “เจียระไนเพชรยอดมงกฎุ ” (เจยี ระไนแปลวา่ “แตง่ เกลา แปลง ดัดแปลง ตกแตง่ อญั มณี เช่น เพชรพลอย ใหไ้ ดเ้ หลีย่ ม หรอื รูปตามตอ้ งการแลว้ ขัดเงา”) มหามกฏุ เป็นหน่งึ ในเครื่องราชกกุธภณั ฑ์ทลี่ ้าค่า ย่อมประดบั ดว้ ยอัญมณอี ันมีค่า หากแตอ่ ัญมณีหรอื รัตนชาติเหลา่ นนั้ ล้วนมกี าเนดิ มาจากกอ้ นหนิ กรวดทรายที่มอี ยูท่ ั่วผนื แผน่ ดนิ ไทย แต่ยังขาดการเจียระไนใหง้ ดงาม เมือ่ หนิ กรวดทรายได้รบั การคัดสรรตามคณุ ลักษณะของหนิ อันมคี ่า แต่ก็ล้วนยงั เปน็ เพชรพลอยดิบ จึงตอ้ งนาเพชรพลอยดิบดงั กลา่ วมาขดั แตง่ เจยี ระไน ขจดั มลทนิ จากนั้น จงึ แปลงรูป แต่งมุม ใหไ้ ด้เหลย่ี มเงาและรปู ทรงท่ีตอ้ งการ เมอื่ แล้วเสร็จ จึงนารตั นชาตเิ หลา่ นนั้ ไปประดับพระมหามงกุฎ เพชรยอดมงกฎุ น้ัน กจ็ ะสะทอ้ นแสงแมเ้ พยี งเลก็ นอ้ ย ท่กี ระทบไปยังมหามกฏุ กอ่ ให้เกดิ ประกายแสงแวววาว ชว่ ยสง่ เสริมคุณค่าให้กบั มหามกฏุ อยา่ งสุดประมาณ (โครงการขนาดใหญท่ ่ดี าเนินการ ทั้ง ๔ ด้าน ไปพรอ้ มกนั ภายใตโ้ ครงการหนึง่ เดียว) ตวั ชว้ี ดั การดาเนินการ มีการกาหนดตัวช้ีวัดการดาเนินการของวิถีท่ี ๕ โดยจาแนกเป็นประเภท ก วัดจากผลสัมฤทธิ์ และประเภท ข วดั จากปัจจัยนาเขา้ และกระบวนการ ดงั ต่อไปน้ี เจตนา ของวิถี : Strategic Objective ๕.ก. พัฒนาองคก์ ร แบบกา้ วกระโดดในทุกองคาพยพ ท้ัง บทบาท โครงสร้าง กระบวนการ การบริหาร และ ทรัพยากร สู่องค์กรอนาคตแห่งความรู้และภูมิปัญญา ที่ร่วมพัฒนาอนาคตของสังคมไทย (และสังคมโลก) ซึ่งสามารถ ปรับตวั ได้ทันตอ่ การเปล่ียนแปลงท่ีรวดเร็วและรนุ แรงในอนาคต

๓๔ เมอ่ื ดาเนนิ ถงึ ปลายทาง เราทราบโดยพิจารณาจาก (KPI ตวั ชวี้ ัด ผลสมั ฤทธ์ิ ; Output-Outcome) ก๑. ระดับการยอมรับของสังคมและประชาคม ต่อการเป็นมหาวิทยาลัยศูนย์กลางการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาเถรวาทของโลก ก๒. มหาวิทยาลัยเป็นที่หนึ่งในใจ (Top of Mind) ของผู้เป็นบัณฑิต ในฐานะสถาบันทางพระพุทธศาสนา ทผี่ คู้ นสามารถ “ค้นควา้ ศึกษา พฒั นาองคค์ วามรภู้ ูมิปัญญา พัฒนาตน พฒั นาผ้คู น พฒั นาชีวิต พฒั นาสงั คม ดว้ ยพทุ ธวิถี” ก๓. ระดับความผาสุก และความผกู พันกับองค์กรของบุคลากรมหาวิทยาลยั เม่อื ยังดาเนนิ อยู่ เราเรง่ รัดกิจการทั้งปวง โดยพิจารณาจาก (KPI ตัวชว้ี ดั ปัจจัยนาเขา้ และกระบวนการ ; Input-Process) ข๑. ร้อยละ ระบบบริหาร ระบบการดาเนินการ และระบบการให้บริการท่ีพัฒนาเป็นระบบดิจิทัลเต็ม รูปแบบเพือ่ ให้มหาวทิ ยาลยั ก้าวสู่ Digital Dharma University ข๒. ร้อยละ ความกา้ วหน้าตามแผนปฏริ ปู มหาวิทยาลยั ข๓. ร้อยละ การเพ่ิมข้ึนของทรัพยากรบุคคลผู้เป็นบัณฑิตด้านพระพุทธศาสนาท่ีเข้ามาร่วมเป็นส่วนใน การพฒั นาพลเมืองโลกกับมหาวิทยาลยั ข๔. ร้อยละ การเพิ่มข้ึนของเพดานงบประมาณในการพัฒนามหาวิทยาลัยการจัดทาแผนพัฒนา มหาวทิ ยาลัย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook