Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการอบรม หลักสูตรวิทยาการคำนวณสำหรับครูประถมศึกษาปีที่ ๑-๓

รายงานการอบรม หลักสูตรวิทยาการคำนวณสำหรับครูประถมศึกษาปีที่ ๑-๓

Published by panuwatpack2534, 2020-05-23 11:18:17

Description: สสวท แพ็ค13

Search

Read the Text Version

บันทึกข้อความ สว่ นราชการ โรงเรียนนิบงชนูปถมั ภ์ ท่ี วันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๓ เร่อื ง รายงานการอบรม หลักสตู รวิทยาการคานวณสาหรับครู Coding for Teacher (C๔T) ภายใตน้ โยบาย “การขับเคล่ือนการจัดการเรียนรู้โค้ดด้ิงในโรงเรียน” หลักสูตรอบรมออนไลน์การจัดการเรียนรู้วิทยาการ คานวณสาหรับครูประถมศึกษาปีที่ ๑-๓ Coding Online for Grade ๑-๓ Teacher (C๔T๖) ปีการศึกษา ๒๕๖๒ เรยี น ผอู้ านวยการโรงเรียนนิบงชนูปถัมภ์ ส่งิ ทสี่ ่งมาด้วย แบบรายงานผลการหลกั สูตรการพัฒนาขา้ ราชการครฯู จานวน ๑ ฉบบั ตามที่ข้าพเจ้า นายภาณุวัฒน์ เน้อื นอ้ ย ตาแหนง่ ครู กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ(ดนตรี-นาฏศิลป์ โรงเรียนนบิ งชนูปถมั ภ์ สงั กัดสานักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษายะลาเชต 1 ได้อบรมหลกั สูตรวทิ ยาการ คานวณสาหรับครู Coding for Teacher (C๔T) ภายใต้นโยบาย “การขับเคลอ่ื นการจัดการเรยี นรโู้ ค้ดดิ้งใน โรงเรยี น” ซึ่งเปน็ หลกั สตู รอบรมออนไลนก์ ารจดั การเรียนรู้วทิ ยาการคานวณสาหรบั ครูประถมศึกษาปที ี่ ๑ – ๓ Coding Online for Grade ๑-๓ Teacher (C๔T – ๖) ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ รหัสหลักสตู ร ๖๒๑๕๙ จดั โดย สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) และสถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.) รวมเปน็ เวลาจานวน ๑๒ ช่ัวโมง นน้ั บดั น้ี การอบรมตามโครงการดงั กลา่ ว ได้เสร็จเรียบรอ้ ยแล้ว ข้าพเจ้าจึงขอนาสง่ รายงานการ อบรมมาพร้อมกบั หนังสือฉบบั นี้ จึงเรียนมาเพอื่ โปรดทราบ (นายภาณวุ ัฒน์ เน้ือน้อย) ตาแหน่ง ครโู รงเรียนนบิ งชนูปถัมภ์ ความคดิ เห็นของผูบ้ ริหาร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื ........................................................ (วา่ ท่ี ร.ต.อบั ดุลรอแม การีอมู า) ผู้อานวยการโรงเรียนนบิ งชนูปถัมภ์

แบบรายงานผลการอบรมหลกั สตู รการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา สายงานการสอน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ******************************************************************************************* ๑. หลักสูตร ช่ือหลักสูตรภาษาไทย หลักสูตรวิทยาการคานวณสาหรับครู Coding for Teacher (C๔T) ภายใต้ นโยบาย “การขับเคล่ือนการจัดการเรียนรู้โค้ดด้ิงในโรงเรียน” หลักสูตรอบรมออนไลน์การจัดการเรียนรู้ วทิ ยาการคานวณสาหรบั ครูประถมศึกษาปีที่ ๑-๓ Coding Online for Grade ๑-๓ Teacher (C๔T–๖) รหสั หลักสูตร : ๖๒๑๕๙ เรียนร้รู วมเปน็ เวลาจานวน ๑๒ ชัว่ โมง เรยี นรู้จาก https://teacherpd.ipst.ac.th ๒. ผลจากการอบรม ไดน้ าความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ ทักษะ หรืออืน่ ๆ ท่ีไดร้ ับในการอบรมนามา เพื่อพฒั นางานของหนว่ ยงาน ดงั น้ี ๒.๑) ด้านความรู้ ข้าพเจา้ ไดร้ บั องคค์ วามรู้ในการจัดการเรยี นรวู้ ิทยาการคานวณสาหรับครู (Coding for Teacher: C๔ T) แบบออนไลน์ ระดับประถมศึกษาปีท่ี ๑ - ๓ (๑๒ ชว่ั โมง) ซึ่งการจัดการเรียนรู้วิทยาการคานวณระดับช้ันประถมศึกษาตอนต้น ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขนั้ พื้นฐานพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) โดยมีเน้ือหาประกอบด้วย ๘ ส่วน ได้แก่ ๑. แนะนาวิทยาการคานวณ ๑.๑ วธิ ีการอบรม ๑.๒ แบบสอบถามก่อนการอบรม ๑.๓ การขับเคลือ่ นการจดั การเรียนรู้โคด้ ดง้ิ ในโรงเรียน ๑.๔ การจดั การเรียนร้วู ิทยาการคานวณ ๒. หลกั สตู รวิทยาการคานวณระดบั ช้นั ประถมศึกษา ๒.๑ ภาพรวมของหลักสตู ร ๒.๒ การจัดหลกั สตู ร ๒.๓ แนวทางการจดั การเรียนรู้ ๓. วิทยาการคอมพวิ เตอร์ ๓.๑ การแก้ปัญหา ๓.๑.๑ การแก้ปญั หาโดยการเปรยี บเทียบ (กิจกรรม สืบใน zoo) ๓.๑.๒ การแก้ปัญหาโดยการลองผดิ ลองถูก (กจิ กรรม ผ้งึ น้อยสรา้ งรัง) ๓.๑.๓ การแกป้ ัญหาโดยการคิดอย่างเปน็ ระบบ ตอนที่ ๑ ๓.๑.๔ การแกป้ ญั หาโดยการคดิ อยา่ งเป็นระบบ ตอนที่ ๒ (กิจกรรม ขวดไหนใคร เคม็ ) ๓.๑.๕ การแก้ปญั หาโดยการคิดอย่างเปน็ ระบบ ตอนท่ี ๓

๓.๑.๖ การแก้ปญั หาโดยการคดิ อย่างเป็นขน้ั ตอน ตอนที่ ๑ (กจิ กรรม ยามเชา้ ปากกวา้ ง) ๓.๑.๗ การแก้ปัญหาโดยการคิดอย่างเป็นขั้นตอน ตอนท่ี ๒ (กิจกรรม ท่าไหนใคร เป๊ะ และ Cut the rope) ๓.๑.๘ การแกป้ ญั หาโดยการคดิ อย่างเปน็ ข้นั ตอน ตอนท่ี ๓ (กิจกรรม ลานจอดรถพศิ วง) ๓.๑.๙ การแกป้ ัญหาโดยการคิดอย่างเปน็ ข้ันตอน ตอนที่ ๔ (แนวทางในการจดั การเรียนร)ู้ ๓.๑.๑๐ การแก้ปญั หาโดยใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะ ๓.๒ การเขยี นโปรแกรมโดยใช้บัตรคาส่งั ๓.๒.๑ การเขียนโปรแกรมโดยใช้บตั รคาส่ัง ตอนที่ ๑ (กจิ กรรม พาหนูแดงกลบั บ้าน) ๓.๒.๒ การเขียนโปรแกรมโดยใชบ้ ัตรคาส่งั ตอนท่ี ๒ (กิจกรรม เส้นทางสายหวาน) ๓.๒.๓ การเขยี นโปรแกรมโดยใชบ้ ัตรคาสง่ั ตอนที่ ๓ (กจิ กรรม เดนิ เท่ยี วในเมือง) ๓.๒.๔ การเขยี นโปรแกรมโดยใช้บตั รคาสงั่ ตอนท่ี ๔ (กิจกรรม เหรยี ญจ๋าเธออย่ไู หน) ๓.๒.๕ การเขยี นโปรแกรมโดยใชบ้ ัตรคาสัง่ ตอนที่ ๕ (โปรแกรมเกบ็ ต๊กุ ตาและโดนทั ) ๓.๒.๖ การเขยี นโปรแกรมโดยใช้บตั รคาสั่ง ตอนท่ี ๖ (กจิ กรรม แกม้ ยุ้ยจอมซน) ๓.๒.๗ การเขียนโปรแกรมโดยใชบ้ ตั รคาสง่ั ตอนที่ ๗ (กิจกรรม หนุ่ ยนต์เกบ็ อุปกรณ์) ๓.๒.๘ การเขยี นโปรแกรมโดยใช้บัตรคาสั่ง ตอนที่ ๘ (กิจกรรม ชิงช้าสวรรค์หรรษา) ๓.๒.๙ การเขียนโปรแกรมแบบมเี งอ่ื นไข ตอนท่ี ๑ (กจิ กรรม โปรแกรมห่อของขวัญ) ๓.๒.๑๐ การเขยี นโปรแกรมแบบมเี ง่อื นไข ตอนที่ ๒ (กิจกรรม เท่ียวสวนสนุก) ๓.๒.๑๑ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้า (กจิ กรรม หุ่นยนตเ์ กบ็ ขนม) ๔. การรเู้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร ๔.๑ สว่ นประกอบคอมพิวเตอร์ (กิจกรรม คไู่ หนอะไรเอย่ ) ๔.๒ การจดั หมวดหมู่ไฟลแ์ ละโฟลเดอร์ (กจิ กรรม หนู ๆ จ๋า ช่วยจดั ท)ี ๔.๓ การใชง้ านซอฟต์แวรเ์ บื้องต้น ตอนท่ี ๑ (การใช้งานโปรแกรมประมวลคา) ๔.๔ การใช้งานซอฟต์แวรเ์ บอ้ื งต้น ตอนท่ี ๒ (กจิ กรรม ไอคอนจ๋าคู่หนูอย่ไู หน) ๔.๕ การนาเสนอข้อมูล (กิจกรรม สวสั ดีฉนั ชอ่ื …) ๔.๖ การค้นหาขอ้ มลู บนอินเทอร์เนต็ ๕. การรดู้ ิจิทัล ๕.๑ ข้อปฏิบัติในการใช้งานคอมพวิ เตอร์ ๕.๒ การใชง้ านคอมพิวเตอรอ์ ยา่ งปลอดภยั (กจิ กรรม Do or Don’t) ๕.๓ การปกปอ้ งข้อมลู สว่ นตัว (กจิ กรรม Yes or No) ๕.๔ คอมพิวเตอรใ์ นชีวิตประจาวนั (กจิ กรรม เทคโนโลยีในฝัน) ๕.๕ การใช้งาน plickers

๒.๒) ด้านทักษะ ขา้ พเจ้าไดร้ บั องค์ความรูแ้ ละทกั ษะการถ่ายทอดองค์ความรู้จากการถ่ายทอดอย่างดีเยีย่ มของวิทยากร ทุกท่านและข้าพเจ้าจะมุ่งเน้นในการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้นักเรียนมีทักษะท่ีสาคัญในการดาร งชีวิตใน ศตวรรษที่ ๒๑ อันได้แก่ ทักษะพื้นฐานความคิดเชิงคานวณ (Computational Thinking) , ทักษะพื้น ฐานความรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) , ทักษะการเรียนรู้และทักษะด้านนวัตกรรม (Learning and Innovation –The ๔ C’s) , ทักษะการทามาหาเล้ียงชีพและการดาเนินชีวิต (Career and Life) และทักษะพื้นฐานการรู้เท่าทันสื่อและข่าวสาร (Media and information Literacy) ซ่ึงทักษะพ้ืนฐาน เหลา่ นีเ้ ป็นสิง่ สาคัญทีน่ กั เรียนควรไดร้ ับการปลกู ฝังเพื่อเป็นรากฐานของการสร้างนวตั กรรมทางเทคโนโลยีเพ่ิม ศักยภาพและนวตั กรรมท่จี ะนาไปสู่การพัฒนาประเทศตอ่ ไป ๒.๓) ด้านความเปน็ ครู ข้าพเจ้าจะนาองค์ความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดให้ผู้เรียนได้เกิดองค์ความรู้อย่างเต็มศักยภาพและ สอดแทรกเพม่ิ เตมิ ทักษะต่าง ๆ บนพ้ืนฐานความแตกต่างของผู้เรียนรายบุคคลอย่างเตม็ ความสามารถ และนา ความร้ไู ปขยายผลส่ชู มุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี (PLC) เพ่อื พัฒนาผูเ้ รยี นใหด้ ีย่ิงข้ึนสืบไป ลงชอ่ื .....................................................ผู้รายงาน (นายภาณุวัฒน์ เนอื้ น้อย ) ตาแหนง่ ครูโรงเรยี นนิบงชนูปถัมภ์

ภาคผนวก ก วุฒิบัตรการอบรม

วุฒิบตั รการอบรม รบั รองเม่อื วันท่ี ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๖๓

ภาคผนวก ข ประกาศและการรับรองหลักสูตรจาก สพฐ.