Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทำ E BOOK บัญชีครัวเรือน

ทำ E BOOK บัญชีครัวเรือน

Published by pissamaiphoo3, 2022-06-15 03:12:58

Description: ทำ E BOOK บัญชีครัวเรือน

Search

Read the Text Version

สือ่ ประกอบการสอน เรอ่ื ง การทาบญั ชีครวั เรือน จดั ทาโดย นางพิศมยั ภวู นั นา ตาแหน่ง ครู โรงเรียนหนองบวั พิทยาคาร อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู จงั หวดั หนองบวั ลาภู กระทรวงศึกษาธิการ

บญั ชีครวั เรอื น การจดั ทาบญั ชีครวั เรอื น จากสภาวะสงั คมปัจจบุ นั ที่เต็มไปดว้ ยกระแสวตั ถนุ ยิ ม และความฟ่ มุ เฟื อย ฟ้ งุ เฟ้ อ จนทา ใหค้ นไทยหลงเดินทางผดิ ไปตามกระแสนิยมจนกลายเป็ นปัญหา โดยเฉพาะปัญหาหนี้สินท่ีไม่มี วัน จบสิน้ อยา่ งไรก็ตามคนไทยยังมที างออก ซึ่งการจะดารงชีวิตใหอ้ ยรู่ อดภายใตส้ งั คมใน ปัจจบุ ัน แนวทางหน่ึงทีป่ ระชาชนไทยควรยึดถอื คือการพึ่งตนเอง รจู้ ักความพอประมาณ และไม่ ประมาท ตามแนวปรชั ญา “เศรษฐกิจพอเพยี ง” ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู ัวทท่ี รง มองเห็นถึงความสาคญั ของการสรา้ งภมู ิคมุ้ กันใหก้ ับตวั เอง รจู้ ักความพอมีพอกิน พอมพี อใช้ คานึงถงึ หลักเหตผุ ลและการประมาณตนเอง พรอ้ มกับทรงเตือนสตปิ ระชาชนคนไทยไมใ่ ห้ ประมาท โดยเฉพาะการใชจ้ า่ ยเงนิ อนั เป็ นปัจจัยสาคญั ในการดาเนินชีวิต

การทาบญั ชี คือ การจดบันทกึ ขอ้ มลู เกีย่ วกบั เงอ่ื นไขปัจจยั ในการดารงชวี ติ ของ ตวั เอง และภายในครอบครวั ชมุ ชน รวมถึงประเทศ ขอ้ มลู ทีไ่ ดจ้ ากการบันทึกจะเป็ นตวั บง่ ช้ี อดีตปัจจบุ ันและอนาคตของชีวิตของตวั เอง สามารถนาขอ้ มลู อดีตมาบอกปัจจบุ ันและอนาคต ได้ ขอ้ มลู ทไ่ี ด้ ท่บี ันทึกไว้ จะเป็ นประโยชนต์ อ่ การวางแผนชีวิตและกจิ กรรมต่าง ๆ ในชวี ติ ใน ครอบครัว บญั ชคี รวั เรือน การทาบญั ชคี รวั เรือน เป็ นการจดบนั ทกึ รายรบั รายจ่ายประจาวนั ของครวั เรอื น และสามารถนาขอ้ มลู มาวางแผนการใชจ้ ่ายเงนิ ในอนาคตไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ทาใหเ้ กิดการออม การใชจ้ ่ายเงนิ อย่างประหยัดคมุ้ คา่ ไมฟ่ ่ มุ เฟื อย ดงั นน้ั การทาบัญชีชีครัวเรอื นมคี วามสาคัญ ดงั น้ี 1. ทาใหต้ นเองและครอบครวั ทราบรายรบั รายจา่ ย หนส้ี ิน และเงนิ คงเหลอื ในแต่ละวนั รายรบั หรอื รายได้ คอื เงนิ หรอื สนิ ทรัพยท์ ว่ี ดั มลู คา่ ได้ ทไ่ี ดร้ ับจากการประกอบ อาชพี หรือผลตอบแทนที่ไดร้ บั จากการใหผ้ อู้ น่ื ใชส้ นิ ทรพั ย์ หรือ ผลตอบแทนจากการลงทนุ ใน รปู แบบตา่ งๆ เช่น รายไดจ้ ากคา่ จา้ งแรงงาน เงนิ เดอื น ดอกเบีย้ รบั จากเงนิ ฝากธนาคาร หรือ จากเงนิ ใหก้ ยู้ ืม รายไดจ้ ากการขายสินคา้ หรือบรกิ าร เป็ นตน้ รายจา่ ย หรือ ค่าใชจ้ ่าย คอื คอื เงนิ หรือสินทรพั ย์ที่วดั มลู ค่าได้ ทจ่ี ่ายออกไปเพ่ือให้ ไดส้ งิ่ ตอบแทนกลับมา ส่งิ ตอบแทนอาจเป็ นสินคา้ หรอื บรกิ าร เช่น ค่าอาหาร คา่ นา้ คา่ ไฟฟ้ า (ค่า สาธารณปู โภค) ค่านา้ มนั คา่ หนงั สือตารา เป็ นตน้ หรือรายจ่าย อาจไมไ่ ดร้ ับสง่ิ ตอบแทนคือ สินคา้ หรือบริการก็ได้ เช่น เงนิ บริจาคเพ่อื การกศุ ล เงนิ ทาบญุ ทอดกฐิน ทอดผา้ ป่ า เป็ นตน้ หน้สี ิน คือ ภาระผกู พนั ท่ีตอ้ งชดใชค้ นื ในอนาคต การชดใชอ้ าจจา่ ยเป็ นเงนิ หรอื ของมี คา่ ทคี่ รอบครวั หรือตนเองมอี ยู่ หนี้สินเป็ น เงนิ หรือสง่ิ ของท่ีมีค่าทคี่ รอบครัวหรอื ตนเองได้ รับมาจากบคุ คลหรือแหล่งเงนิ ภายนอก เชน่ การกยู้ ืมเงนิ จากเพ่อื นบา้ น การกยู้ มื เงนิ จาก กองทนุ ตา่ งๆ การซ้ือสินคา้ หรอื บรกิ ารเป็ นเงินเช่ือ การซือ้ สินทรัพยเ์ ป็ นเงนิ ผ่อนชาระ หรือการ เชา่ ซ้อื เป็ นตน้ เงินคงเหลือ คอื เงนิ หรอื ทรัพยส์ นิ ทว่ี ดั มลู คา่ ได้ หลังจากนารายรบั ลบดว้ ย รายจา่ ยแลว้ ปรากฏรายรบั มากกว่ารายจ่ายจะทาใหม้ เี งนิ คงเหลอื หรือในหลกั ทางบัญชี เรียกวา่ กาไร แตห่ ากหลงั จากนารายรับลบดว้ ยรายจ่ายแลว้ ปรากฏวา่ รายจา่ ยมากกวา่ รายรับจะทาใหเ้ งนิ คงเหลือติดลบหรอื ทางบัญชเี รยี กว่าขาดทนุ นนั่ เอง 2. นาขอ้ มลู การใชจ้ ่ายเงนิ ภายในครอบครัวมาจัดเรยี งลาดบั ความสาคัญของรายจ่าย และวางแผนการใชจ้ ่ายเงนิ โดยพจิ ารณาแต่ละรายการในแต่ละวนั มรี ายจา่ ยใดทมี่ คี วามสาคัญ มาก และรายจ่ายใดไม่จาเป็ นใหต้ ดั ออก เพอื่ ใหก้ ารใชจ้ า่ ยเงนิ ภายในครอบครวั มพี อใชแ้ ละเหลือ เก็บเพื่อการออมทรพั ยส์ าหรบั ใชจ้ า่ ยสง่ิ ทีจ่ าเป็ นในอนาคต บัญชคี รัวเรือนถอื เป็ นส่วนสาคญั ใน การปฏบิ ัติตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง โดยยึดหลกั 3 ขอ้ คอื การพอประมาณ ถา้ รรู้ ายรับ รายจา่ ย ก็จะใชแ้ บบพอประมาณ แต่ มเี หตผุ ล รวู้ ่ารายจ่ายใดจาเป็ นไมจ่ าเป็ น และเมอื่ เหลอื จากใชจ้ ่ายก็เก็บออม นนั่ คือภมู คิ มุ้ กนั ทเ่ี อาไวค้ มุ้ กันตวั เราและครอบครัว

เริม่ การทาบญั ชคี รวั เรอื น การทาบญั ชคี รวั เรอื น เร่มิ จากการหาสมดุ มาสักเล่มหน่ึงอาจเป็ นสมดุ ท่ีเด็ก ๆ ใช้ แลว้ เหลือหนา้ กระดาษว่าง ๆ ก็นามาทาเป็ นบญั ชีครัวเรอื นได้ ปากกาหรอื ดนิ สอสาหรับเขยี น ลงในสมดุ บญั ชคี รัวเรอื น สาหรบั ชาวบา้ นหรอื คนทอี่ า่ น-เขยี นหนงั สอื ไมค่ อ่ ยคลอ่ งก็อาจใชใ้ ห้ ลกู ๆ ชว่ ยเขยี นให้ การทาบัญชคี รวั เรือนในแตล่ ะวันใชเ้ วลาไม่นาน ประมาณ 5-10 นาทีก็ เสร็จแลว้ เวลาท่เี สียไปแค่ 5-10 นาทตี อ่ วันแต่ประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั จากการทาบัญชีครัวเรอื นนน้ั มี ค่ามากมายมหาศาลนกั ในการช่วยวางแผนการเงนิ ของครอบครัวและสามารถประยกุ ตไ์ ป จนถึงการนาไปใชแ้ กไ้ ขปัญหาหน้ีสินได้ ขอใหย้ อมสละเวลาในแตล่ ะวันเพอ่ื ความเป็ นอยขู่ อง ครอบครวั ที่ดีขน้ึ บัญชคี รัวเรือนสามารถจัดทาไดห้ ลายรปู แบบแตอ่ ยา่ งนอ้ ยตอ้ งมกี ารบนั ทกึ ขอ้ มลู รายรับและรายจ่ายปกติเป็ นตาราง 5 ช่อง ประกอบดว้ ย ชอ่ งแรกวันเดอื นปี เพอื่ บันทึกวนั ที่เกิด รายการนนั้ ชอ่ งทีส่ องรายการ เพื่อบันทึกเหตกุ ารณ์ ช่องที่สามรายรบั เพ่ือบนั ทึกจานวนเงนิ ท่ี ไดร้ บั ชอ่ งที่สร่ี ายจา่ ย เพื่อบนั ทึกจานวนเงนิ ที่จ่ายออกไป และชอ่ งสดุ ทา้ ยยอดคงเหลือ เป็ นชอ่ ง สรปุ ยอดเงนิ คงเหลอื ในแต่ละวนั

การจดั ทาบญั ชคี รวั เรือน มขี นั้ ตอนดงั ตอ่ ไปน้ี 1) แยกประเภทของรายได้ และคา่ ใชจ้ ่าย แต่ละประเภทออกมา อาจใชส้ มดุ บญั ชที ่ีมขี ายตาม รา้ นทวั่ ไป หรอื หาสมดุ มาตเี สน้ แบง่ ออกเป็ นแถวในแนวตงั้ และแนวนอน เพ่อื จดรายการ 2) กาหนดรหสั ประเภทของรายได้ และ ค่าใชจ้ ่าย เพือ่ ใชส้ รปุ ประเภทของคา่ ใชจ้ า่ ย 3) เริ่มจากยอดเงนิ สดยกมา หรือ เงนิ ทนุ ตง้ั ตน้ แลว้ บวก ดว้ ยรายได้ หัก ดว้ ยค่าใชจ้ า่ ย และ แสดงยอดคงเหลอื ไว้ 4) นารายการทีเ่ ป็ นบัญชปี ระเภทเดยี วกนั รวมยอดเขา้ ดว้ ยกัน แลว้ แยกไปสรปุ ไวต้ ่างหาก โดยสรปุ ยอดตามแตต่ อ้ งการ เชน่ เป็ นรายวัน รายสัปดาห์ รายปักษ์ หรอื รายเดือน เป็ นตน้

ตารางตวั อยา่ งแบบฟอรม์ บญั ชีครวั เรือน (บญั ชรี ายรบั และรายจา่ ย) บญั ชีรายรบั -รายจ่าย วนั ท่ี รายการ รบั จ่าย คงเหลอื หมายเหต ุ ยอดคงเหลอื ยกมา รวมรับ จ่าย และยอดคงเหลือยกไป

หลกั การบนั ทึกทางบญั ชี หลกั การบันทึกบัญชีครัวเรอื น คือ เรมิ่ จากการมองรวมภาพใหญว่ ่า ในเดอื นหนึ่งๆ หรอื ปี หนง่ึ ๆ มีรายการอะไร ดงั น้ี - รายการค่าใชจ้ า่ ยใหญ่ๆ อะไรบา้ ง ทค่ี ่อนขา้ งคงที่ เชน่ หรือเงนิ คา่ เรียนหนงั สือบตุ ร หรือเงนิ ค่าวัตถดุ บิ ในการผลติ สนิ คา้ เช่น คา่ ป๋ ุย คา่ พนั ธพ์ุ ชื และมรี ายการยอ่ ยๆ ทเ่ี กดิ ประจาวนั อะไรบา้ ง เชน่ ค่าอาหาร คา่ นา้ คา่ ไฟฟ้ า (คา่ สาธารณปู โภค) คา่ นา้ มนั เงนิ ทาบญุ ทอดกฐนิ ทอดผา้ ป่ า เป็ นตน้ - หน้ีสิน เป็ นค่าใชจ้ ่ายรายการใหญ่ท่ีเป็ นภาระผกู พันท่ีตอ้ งชดใชค้ นื ในอนาคต ไดแ้ ก่ ค่าดอกเบ้ียเงนิ ที่ไปกแู้ ละตอ้ งใชค้ ืนรายเดอื นหลายปี จากการกยู้ มื เงนิ จากเพื่อนบา้ น จากกองทนุ หรอื ธนาคารตา่ งๆ หรอื การซอ้ื ของดว้ ยเงนิ เชือ่ การดว้ ยเครดติ หรอื ดว้ ยเงนิ ผ่อนชาระหรอื การเช่าซ้อื การจานา จานอง ขายฝาก เป็ นตน้ - เงนิ คงเหลอื คอื เงนิ หรอื ทรพั ยส์ นิ ที่วดั มลู ค่าได้ หลังจากนารายรับหักรายจ่ายแลว้ ถา้ รายรับมากกว่ารายจา่ ย จะเกดิ เงนิ คงเหลอื หรอื ในหลักทางบญั ชเี รยี กวา่ “กาไร” แตห่ าก หลงั จากนารายรับหกั รายจ่ายแลว้ พบวา่ รายจ่ายมากกวา่ รายรับจะทาใหเ้ งนิ คงเหลอื ตดิ ลบ หรอื ทางบญั ชเี รียกว่า “ขาดทนุ ”

ตวั อยา่ งรายรบั ครัวเรอื น 1. ขายผลิตจากการทานา ทาไร่ ฯ 2. ขายสัตวเ์ ล้ยี ง เชน่ หมู ววั เป็ ด ไก่ ฯ 3. ขายผลิตภณั ฑจ์ ากงานหัตถกรรม 4. การคา้ ขายสนิ คา้ ซ้อื มา/ขายอาหาร 5. การขายพืช/สตั ว์ หาจากแหล่งธรรมชาติ 6. คา้ จา้ งจาการทางานหรือใหบ้ ริการ 7. เงนิ เดอื น เบ้ยี เล้ยี ง คา่ คอมมิชชนั่ 8. เงนิ สงเคราะหแ์ ละสวสั ดิการตา่ งๆ 9. รายไดจ้ ากการขาย/ใหเ้ ช่า ที่ดิน บา้ น ฯ 10. รายรับจากดอกเบ้ียเงนิ ก/ู้ ดอกเบีย้ ธนาคารฯ 11. รายไดจ้ ากการเสี่ยงโชค 12. เงนิ ที่ไดร้ ับจากการกยู้ มื 13. เงนิ ท่ีลกู หลาน ญาตพิ นี่ อ้ ง ส่งมาให้ 14. เงนิ ท่ผี อู้ ืน่ ช่วยงานตา่ งๆ 15. เงนิ /ลาภลอยที่มคี นมานาใหเ้ ป็ นกรณพี ิเศษ

ตวั อย่างรายจา่ ยครวั เรือน หมวดที่ 1 : ค่าใชจ้ า่ ยในการประกอบอาชพี 1.1. คา่ จา้ งแรงงาน 1.2. คา่ เชา่ /ซื้อวสั ดอุ ปุ กรณ์ หรือลงทนุ เครื่องมือ ฯ 1.3. คา่ โดยสาร รถ เรือ รถไฟ ฯ คา่ แสตมป์ ไปรษณีย์ ฯ 1.4. ค่านา้ มนั เช้อื เพลงิ พาหนะ เดินทาง/ประกอบอาชีพ 1.5. ค่าป๋ ุยชีวภาพ หรืออนิ ทรีย์ ฯ 1.6. คา่ ป๋ ุยเคม/ี ฮอรโ์ มน ฯ 1.7. ยาฆ่าแมลง ยาปราบศัตรพู ืช 1.9. เงนิ สด เงนิ ดาวน์ หรอื เงนิ ผ่อน เพ่ือซอื้ ยานพาหนะ 1.8 ค่าเมล็ดพันธ์ุ 1.10. ซื้อสนิ คา้ มาจาหนา่ ย หมวดท่ี 2 : คา่ อาหาร 2.1. ขา้ วสารทกุ ชนดิ 2.2. เนอื้ สัตวบ์ ก สัตวน์ า้ แมลง และสัตวอ์ ่นื ๆ ที่ใชเ้ ป็ นอาหาร 2.3. ผกั สด และผลไมส้ ดตา่ งๆ รวมท้ังพริก หัวหอม กระเทยี มฯ 2.4. ไขส่ ด เช่น ไขเ่ ป็ ด ไขไ่ ก่ ไขน่ กกระทา ฯ 2.5. เคร่อื งเทศ เช่น พรกิ ไทย กานพลู ขมิ้น ฯ 2.6. อาหารแหง้ อาหารกระป๋ อง อาหารหมกั ดอง อาหารสาเร็จรปู ฯ 2.7. อาหารสาเร็จทซ่ี ้อื จากรา้ น เชน่ ขา้ วผดั กว๋ ยเตย๋ี ว ขนมหวาน ฯ 2.8. นา้ ด่มื สะอาด เช่นนา้ แร่ นา้ โพลาลิส ฯ 2.9. นา้ อดั ลม ชา กาแฟ เครอ่ื งด่มื เกลอื แร่ ฯ 2.10. นมทกุ ชนดิ โอวลั ตนิ ไมโล โกโก้ นา้ ผลไม้ 2.11. ขนมขบเคี้ยว ขนมกรบุ กรอบ ลกู อม 2.12. ค่าขนมท่ใี หเ้ ด็กไปโรงเรยี นรายวนั /รายเดือน 2.14. เหลา้ เบียร์ ยาดอง ไวน์ กระแช่ สาโท 2.15. คา่ เช้อื เพลงิ ในการหงุ ตม้ เช่น แก๊ส ถา่ น ฟื น ฯลฯ

หมวดที่ 3 : ยา - สขุ ภาพอนามยั 3.1. ยาแกป้ วด 3.2. ยารกั ษาโรคอื่นๆ 3.3 ยาหรอื อปุ กรณค์ มุ กาเนิด 3.4. คา่ รกั ษาพยาบาลทง้ั ทสี่ ถานอี นามยั โรงพยาบาล และคลินกิ 3.5. ยาสบู บหุ รี่ หมาก ยานตั ถ์ุ ฯลฯ 3.6. จา่ ยเบีย้ ประกนั ชีวิต เบี้ยประกันสขุ ภาพ และเบยี้ ประกันภยั หมวดที่ 4 : เสอื้ ผา้ เครอื่ งแต่งกาย และเครื่องประดบั 4.1. เส้อื ผา้ เครื่องแตง่ กาย และเครอื่ งนอน 4.2. คา่ ใชจ้ า่ ยในการเสริมสวย เชน่ ตดั ผม ดดั ผม ยอ้ มผม เครอ่ื งสาอาง ฯ หมวดที่ 5 : ท่ีอยอู่ าศยั 5.1. เงนิ สด เงนิ ดาวน์ หรอื เงนิ ผ่อน เพอ่ื ซอื้ /เชา่ ทดี่ ิน ฯ 5.2. ซอ่ มแซม ตอ่ เติมหรอื ปลกู บา้ น หรือปรับปรงุ บรเิ วณบา้ น/ท่ีดนิ 5.3. เงนิ สด เงนิ ดาวน์ และเงนิ ผ่อน เพอ่ื ซ้อื /ซอ่ มเคร่อื งใชใ้ นบา้ น ฯ 5.4. ของใชป้ ระจาวนั เชน่ สบู่ ยาสีฟัน ของเดก็ เลน่ ฯ 5.5. ค่าไฟฟ้ า 5.6. ค่านา้ ประปา 5.7. ค่าโทรศัพท์ทงั้ ครัวเรอื น รายเดือน/คา่ บัตรเตมิ โทรศพั ท์ 5.8. ค่าหนงั สือพิมพ์ หนงั สือ นติ ยสาร 5.9. คา่ ภาษีตา่ งๆ เช่น ภาษบี ารงุ ทอ้ งที่ ทีด่ นิ ป้ าย รา้ นคา้ ฯ หมวดท่ี 6 : ค่าใชจ้ ่ายเพอื่ การลงทนุ งานสงั คม และเพ่ือพกั ผ่อนหย่อนใจ 6.1. ฝากธนาคาร ซอื้ พนั ธบตั ร ฝากสหกรณอ์ อมทรพั ย์ ออกเงนิ กู้ 6.2. จา่ ยดอกเบี้ย และเพอื่ ใชห้ นเ้ี งนิ กู้ เงนิ ยมื เงนิ แชร์ 6.3. เงนิ ทาบญุ หรือบริจาค 6.4. เงนิ ช่วยงานหรอื เงนิ ใส่ซอง เช่น งานแตง่ งาน งานศพ งานบวช ฯ 6.5. คา่ ใชจ้ ่ายในการจัดงานแตง่ งาน/งานศพ บวชนาค ขนึ้ บา้ นใหม่ ฯ 6.6. จ่ายพกั ผ่อนหยอ่ นใจ เช่น ค่าแผน่ ซดี ี คา่ ตวั๋ ดหู นงั ดนตรี ฯ 6.7. ซ้อื สัตวเ์ ลีย้ ง เช่น สนุ ขั นก ปลา ฯ หรอื ไมด้ อกไมป้ ระดบั 6.8. เงนิ เดือนหรอื เงนิ ทสี่ ง่ ไปชว่ ยเหลือญาติในครอบครัวท่อี ย่ทู ่ีอนื่ 6.9. เงนิ เสยี ไปโดยไม่เตม็ ใจ เช่น ทาเงนิ หาย ถกู ลักขโมย ถกู ปรับ ฯ 6.10. เงนิ ท่จี ่ายเพ่ือการเสีย่ งโชค เช่น ซอ้ื หวย ล็อตเตอรี่ สลากกนิ แบ่งฯ 6.11. เงนิ เส่ียงดวงในรปู แบบต่างๆ หมวดที่ 7 : คา่ ใชจ้ า่ ยในการศกึ ษา 7.1. คา่ เทอม ค่าเรยี นพิเศษ คา่ กิจกรรมพิเศษ 7.2. คา่ อปุ กรณก์ ารเรยี น เช่น เคร่อื งเขยี น สมดุ หนงั สือเรียน กระเป๋ า ฯ 7.3. คา่ ชดุ นกั เรียน ชดุ พละ ชดุ ลกู เสอื เนตรนารี ยวุ กาชาด ฯ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook