Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Best Practice

Best Practice

Published by nongbouw, 2018-06-13 02:00:25

Description: Best Practice

Search

Read the Text Version

รางวลั แนวปฏิบัตทิ ีด่ ี (Best Practice) การดาเนินงานการพฒั นาเดก็ และเยาวชนในถน่ิ ทุรกนั ดาร ตามพระราชดาริ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ปี พทุ ธศักราช 2560 ชื่อผลงาน น้อมนาเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่ภูมปิ ัญญาเวยี งกาหลงดา้ นการอนุรักษว์ ฒั นธรรมทอ้ งถิ่นโรงเรียน/สถานศึกษา/ศูนยก์ ารเรียน..โรงเรียนวดั หนองบวั พทิ ยาพระปริยตั ิธรรมแผนกสามญั ศึกษา ตาบลแม่เจดีย์ อาเภอเวยี งป่ าเป้า .จงั หวดั เชียงราย สงั กดั มหาเถรสมาคม สานกั งานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติโทรศพั ท๐์ ๕๓ ๗๘๙๐๗๑ โทรสาร๐๕๓ ๗๘๙๐๗๑ชื่อ-สกลุ ผเู้ สนอผลงาน พระอธิการสมชาติ ฐิตปิ ญฺโญโทรศพั ทม์ ือถือ ๐๘๙ ๙๙๗ ๒๗๙๒. E-mail [email protected]

การอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมทอ้ งถิ่นช่อื โครงการ นอ้ มนาเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่ภมู ปิ ัญญาเวยี งกาหลง

ผ้เู สนอผลงาน พระอธกิ ารสมชาติ ฐติ ปิ ญฺโญโรงเรยี นวดั หนองบวั พทิ ยาพระปรยิ ตั ิธรรมแผนกสามัญศกึ ษาตาบลแมเ่ จดีย์ อาเภอเวยี งป่าเป้า จงั หวดั เชียงราย สังกดั มหาเถรสมาคม สานกั งานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติโทรศัพท์มอื ถอื ๐๘๙ ๙๙๗ ๒๗๙๒. E-mail [email protected]ความเปน็ มาและความสาคญั ของปญั หา การนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งบูรณาการกบั การ อนุรกั ษภ์ ูมปิ ัญญาเวียงกาหลง ไดก้ ่อใหเ้ กดิ คณุ ค่าแก่นักเรียน คอื มี จิตสานกึ รกั หวงแหนภูมิปัญญาและวัฒนธรรมทอ้ งถน่ิ รจู้ ักการใช้ ทรพั ยากรได้อย่างคุ้มคา่ และนาความคดิ รเิ ริ่มสร้างสรรค์ไปสูก่ าร สรา้ งงานสร้างอาชีพสู่ทอ้ งถนิ่ สรา้ งความสมดุล ยั่งยนื เป็นพ้ืนฐาน ต่อการประกอบอาชพี ของนักเรียนต่อไปในอนาคตมติ ิของนักเรียน โรงเรยี นวัดหนองบัวพิทยาของเราตั้งอยู่ในเขตชมุ ชนที่มตี านานเล่าขานกนั มายาวนานหลายช่ัวอายุคน และโรงเรียนกาหนดเอกลกั ษณ์ของโรงเรียน คือภูมิปัญญาเวยี งกาหลง ซึ่งกาลังจะสูญหายกลายเปน็ เพยี งตานานท่สี ่งต่อไปให้ลกู หลานรุ่นตอ่ ไป จึงมีจติ สานึกและตระหนักไวเ้ สมอว่าเราจะต้องอนุรกั ษภ์ ูมิปญั ญาอันทรงคณุ ค่าน้ีไวจ้ ากร่นุ ส่รู ุ่นคือ จากครูส่นู ักเรยี น จากร่นุ พ่สี ู่รุ่นนอ้ ง จากการที่ไดม้ ีความร้คู วามเข้าใจเกย่ี วกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเป็นหลกั คิดศาสตร์พระราชา ได้นามาประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้เก่ยี วกบั ภมู ิปัญญาเวยี งกาหลงในแตล่ ะรายวิชาที่ครูนามาบูรณาการใหน้ ักเรียนเรยี นรู้ในหอ้ งเรียนและนอกหอ้ งเรยี นผา่ นกิจกรรมชุมนุม ทกั ษะอาชีพและ กิจกรรมท่ีเกยี่ วกับการเผยแพรว่ ัฒนธรรมท่โี รงเรียนจดั ขึ้นและนกั เรยี นได้มีส่วนร่วม ในการเรียนรู้ตามสาระการเรยี นรู้ในรายวิชาตา่ งๆแล้วยังไดม้ ีส่วนในการวเิ คราะหภ์ าระงาน ชิ้นงาน ดังน้ี ในรายวชิ า ศลิ ปะ นกั เรยี นได้ฝกึทักษะในการเขียนลวดลายเวียงกาหลง และลายเส้นตา่ งๆให้เป็น ลวดลายรว่ มสมัย การศึกษานีเ้ ปน็ การศึกษาที่เกีย่ วขอ้ งกบั รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์ใชค้ วามรู้เรื่องการแปลง การสะท้อน การหมนุ มาช่วยในการออกแบบลวดลายเวียงกาหลงรายวิชาภาษาตา่ งประเทศ ได้มีการเลา่ เร่อื งประวตั ิศาสตรช์ มุ ชนเปน็ ภาษาอังกฤษ ในรายวชิ าสงั คมศกึ ษาศาสนาและวฒั นธรรม รายวิชาภาษาไทยได้นาความรู้เกยี่ วกบั สาหรับกิจกรรมชุมนุมและกิจกรรมอาชีพ การจาหนา่ ยผลิตภณั ฑล์ วดลายเวยี งกาหลง และไดม้ สี ่วนรว่ มในการเผยแพร่ผลติ ภัณฑล์ วดลายเวียงกาหลงในหนว่ ยงานตา่ งๆ ท้ังในระดบั อาเภอ จังหวัด และระดบั ภาค สงิ่ ท่ไี ด้รบั จากการรว่ มโครงการนอ้ มนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การอนุรักษภ์ ูมปิ ญั ญาเวียงกาหลงการคน้ พบเครื่องปนั้ ดินเผาที่มลี วดลายสวยงาม มีเอกลักษณ์ท่ีโดดเดน่ เฉพาะท้องถ่นิ มีความหมายเป็นมงคลตามวิถีชีวิตของชมุ ชนเวยี งกาหลง ซ่ึงนับวนั ก็จะสญู หายไปและขาดการสืบทอดประกอบกบั นโยบายของโรงเรียน ให้จัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ โรงเรยี นวัดหนองบัวพิทยาไดเ้ ล็งเห็นความสาคัญที่ จะสร้างความตระหนักแก่สามเณรนกั เรยี นใหเ้ ห็นความคณุ ค่าในการอนรุ ักษแ์ ละสบื สานภูมิปัญญาเวยี งกาหลง และเพ่ือให้สอดคลอ้ งกบั วิสยั ทศั น์และพันธกิจของโรงเรียนจึงได้นอ้ มนาหลัก

ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การอนุรักษภ์ มู ปิ ัญญาเวียงกาหลงบูรณาการกับการจัดการเรยี นรู้๘ กล่มุ สาระโดยเรม่ิ ต้นจากครูแกนนาสารวจแหล่งเรียนรู้ ความต้องการของโรงเรียน ชุมชน ครู ผูป้ กครอง และนกั เรยี นประชุมเพ่ือวางแผน การวเิ คราะหห์ ลักสูตรแกนกลาง เพอื่ จัดทาสาระการเรียนรู้ และพัฒนาเป็นหลักสตู รทอ้ งถน่ิ “การอนุรักษ์ภมู ปิ ญั ญาเวยี งกาหลง “ จนครบทกุ ระดับช้ัน มกี ารบรู ณาการภมู ิปัญญาวยี งกาหลงกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงเขา้ กับ ๘ กลมุ่ สาระ นอกจากนัน้ ยังไดเ้ ปดิ ชมุ ชนและทกั ษะอาชพี เพื่อฝึกให้นักเรยี นได้มีทักษะในการประกอบธุรกจิ โดยประยกุ ต์ใช้ความรูท้ ่ไี ดร้ ับจากในห้องเรียน โดยให้นักเรยี นจัดตงั้กลุ่มทางาน จัดทาหนงั สือเล่มเล็ก และกจิ กรรมอืน่ ๆ จากการบูรณาการให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการอนรุ กั ษภ์ มู ิปัญญาเวียงกาหลงอย่างสร้างสรรคแ์ ละเกิดคณุ คา่ การนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงบูรณาการกับการอนุรักษ์ภูมิปัญญาเวียงกาหลง ได้ก่อให้เกิดคุณค่าแก่นักเรียน คือมีจิตสานึกรัก หวงแหนภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถ่ิน รู้จักการใช้ทรัพยากรได้อย่างคุ้มค่า และนาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ไปสู่การสร้างงานสร้างอาชีพสู่ท้องถิ่น สร้างความสมดุล ย่ังยืน เป็นพื้นฐานต่อการประกอบอาชีพของนักเรยี นตอ่ ไปในอนาคตวัตถุประสงค์ - เพอ่ื ไดม้ ีสว่ นร่วมในการอนรุ กั ษภ์ ูมปิ ัญญาเวยี งกาหลง - เพือ่ มีความรูค้ วามเขา้ ใจและทักษะปฏิบัติในรายวิชาตา่ งๆและเร่ืองราวของภูมิปญั ญาเวียงกาหลง - เพ่อื ใหม้ คี วามรบั ผดิ ชอบต่อหน้าท่ที ่ีได้รบั มอบหมายและ ปฏบิ ตั งิ านให้เกดิ ประโยชน์ต่อสว่ นรวม - .เพื่อมีความรู้ ความเข้าใจหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งท่ีนาไปใช้ในชวี ติ ประจาวัน - เพื่อก่อใหเ้ กิดคุณคา่ แก่นักเรียน คอื มีจิตสานึกรกั หวงแหนภมู ปิ ัญญาและวฒั นธรรมท้องถนิ่- เพ่ือเปน็ พ้ืนฐานต่อการประกอบอาชีพของนักเรยี นต่อไปในอนาคตกระบวนการดาเนินงานได้ดาเนินการโดยให้ผ้เู รยี นได้เรียนรตู้ ามฐานต่างๆเพอื่ ใหเ้ กิดการเรียนรู้ดังนี้ ฐานท่ี ๑ ถนิ่ กาขาว ชาวศวิ ไิ ล ศึกษาประวตั ศิ าสตร์ชมุ ชน ฐานท่ี ๒ เส้นสายลายเวยี งกาหลง ลวดลายที่ปรากฏ ฐานท่ี ๓ ดารงเครือ่ งป้ันลือนาม กระบวนการผลิต ฐานท่ี ๔ งามศลิ ปพ์ ิมพ์ลาย ประยุกต์ลายกบั วัสดุอนื่ ฐานท่ี ๕ สเู่ ปา้ หมายอาชีพที่ย่งั ยืน การจัดจาหนา่ ยผลท่ีเกดิ จากการดาเนินการ ดาเนินการของโรงเรยี นสง่ ผลต่อผู้เรียน ครู สถานศึกษา และชุมชน ดังนี้ โรงเรยี นไดร้ ับคดั เลือกไดร้ ับรางวลั ชนะเลิศผลงานช่าง สิบหมู่เชิงประจักษ์ ในระดับเขต ๒ และรางวัลชนะเลิศผลงานชา่ ง สิบหมู่เชงิ ประจกั ษใ์ นระดับจังหวดั เชยี งาย ไดร้ บั คดั เลือกจากกลุ่ม โรงเรียนพระปรยิ ัติธรรมแผนกสามญั ศึกษาจังหวดั เชยี งรายไปจัด

นทิ รรศการการแข่งขนั ทักษะวิชาการในระดับกลมุ่ ๖ ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ ได้รบั การคดั เลือกใหจ้ ดันทิ รรศการในงาน “๑๑๐ ปีของดีเวียงปา่ เป้า”และเปน็ ตวั แทนอาเภอเวยี งป่าเปา้ จัดนิทรรศการงาน “พ่อขนุเม็งรายมหาราชและงานกาชาดจังหวัดเชียงรายประจา ๒๕๖๐ ผู้บริหารไดพ้ ัฒนาตนเองให้เป็นผู้มีความรู้ ความข้าใจในหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและภมู ปิ ัญญาอย่างถูกต้อง โดยสร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักให้เกิดกับบคุ ลากร ครู นักเรยี น ชุมชน มีความมุ่งมน่ั ในการขับเคล่ือนหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในสถานศกึ ษา สู่ภายนอกสถานศึกษา .ครูมคี วามรู้ความข้าใจเกยี่ วกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งตามมาตรฐานการเรยี นรู้เศรษฐกจิ พอเพียง จดั การเรยี นรแู้ บบบรู ณาการสอดคล้องกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในรายวชิ าที่รบั ผิดชอบ รู้จกั ใชแ้ ละจัดการทรัพยากร สง่ิ แวดล้อม ได้อยา่ งสมดุล ประหยัด คมุ้ คา่ รวมท้งั มีสว่ นรว่ มในการอนุรักษส์ ิง่ แวดลอ้ มท้งั ภายในและภายนอก อีกท้ังใชท้ รพั ยากรอย่างไม่เกิดตัวประหยดั คุ้มค่า เปน็ แบบอย่างใหใ้ ห้ผเู้ รียนและชมุ ชนได้เป็นอยา่ งดี ผู้เรยี นมีความรู้ความข้าใจเก่ยี วกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งตามมาตรฐานการเรียนรเู้ ศรษฐกจิ พอเพียงในแต่ละระดับช้นั เป็นผมู้ ีความสามารถในการดารงชีวติ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ทาใหเ้ กิดคุณธรรมด้านความขยนั อดทน ซือ่ สัตย์ ประหยัด พงึ่ ตนเองและมีความสามคั คใี นหมูค่ ณะ พร้อมรบั ต่อการเปลยี่ นแปลงของสิ่งแวดล้อมอยา่ งรวดเรว็ ในด้านวัตถ/ุ เศรษฐกจิ สังคมสงิ่ แวดล้อมและวฒั นธรรม เปน็ แบบอยา่ งให้กับโรงเรียนที่มาศึกษาดูงาน ซ่งึ จะไดน้ าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปดาเนินการจดั การเรียนรู้ในสถานศกึ ษาของตน นอกจากนัน้ โรงเรยี นยงั ไดจ้ ดั ทา MOUกับโรงเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรม ในเขตอาเภอเดยี วกนั และใกลเ้ คยี ง เพ่ือรว่ มกนั พัฒนาโรงเรียนให้เป็นสถานศึกษาที่มีความภมู ใิ จในปรัชญาพอเพียง ส่ภู มู ิปญั ญาในท้องถิน่ ตนเองประโยชน์ที่ไดร้ ับและการเผยแพร่ เปน็ ประโยชน์ต่อนกั เรยี นและเปน็ แบบอยา่ งได้จากการทโ่ี รงเรยี นวดั หนองบัวพทิ ยา ไดด้ าเนินการโครงการดังกลา่ วจนเป็นทย่ี อมรับท่วั ไประดบั จังหวดั ระดับภูมิภาค ในการนาเสนอผลงานในสถานทตี่ ่างๆเชน่ การจัดนทิ รรศการตวั แทนระดบั จังหวัดการแขง่ ขนั ทักษะวิชาการกลุ่มที่ ๖ นิทรรศการ ๑๑๐ ปขี องดีเวยี งป่าเป้า นิทรรศการของอาเภอเวียงปา่ เป้า งานพอ่ ขุนเมง็ รายมหาราชและงานกาชาดจงั หวดั เชยี งรายปัจจัยความสาเรจ็ 1. ความรักและศรัทธาในภมู ิปญั ญาท่องถน่ิ 2 ความ่งุ มน่ั ในการทางาน 3. บ้าน วดั โรงเรยี นเหน็ ความสาคัญในการอนรุ ักษ์วฒั นธรรมปัญหาอุปสรรค

เนอ่ื งดว้ ยเป็นกระบวนการที่เน้นทักษะในการทางานการผลติ ชิ้นงานทาได้ช้าและขาดงบประมาณในการซ้อื อุปกรณท์ ่ีมีราคาสงู เช่น เตาเผา เครอื่ งบดดิน ทาให้ช้ินการและกระบวนการเรยี นรู้ขาดการต่อเน่ืองหนว่ ยงานทีร่ ับผิดชอบควรสนับสนนุ อยา่ งจรงิ จังแนวทางพัฒนา ทางโรงเรยี นและคณะผู้จัดทาได้จัดกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี นและชุมชนสามารถผลติ ชิน้ งานท่หี ลากหลายสร้างรายไดเ้ ป็นวสิ าหกิจชมุ ชนของสามเณรและชุมชุนตอ่ ไปเอกสารอ้างอิงสงวน โชติสขุ รตั น์ (2515) ประชมุ ตานานลานนาไทย .กรงุ เทพมหานคร: โอเดยี นสโตร์ .สรสั วดี อ่องสกุล (2539) ตานานพืน้ เมืองน่าน ฉบับวดั พระเกิด ตอน2 ตานานปกิณก ลา้ นนา.สมุ ิตร ปิติพฒั น์ และคณะ (2544) เวยี งกาหลงมหัศจรรยเ์ คร่ืองถว้ ยลา้ นา.กรุงเทพมหานคร:แอคนีพริน้ ต้งิสานกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแห่งชาติ .(2524) เชิดชเู กรียรติ นายไกรศรี นินมานเหมินทร.์ กรงุ เทพมหานคร :ไตรรงณ์การพิมพ์หน่วยเทคโนโลยเี ซรามิคเน้อื ดินและเคลือบ (2524) การวจิ ัยและพัฒนาเพื่อฟื้นฟเู คร่ืองเคลือบดนิ เผาในแหลงเตาลา้ นนา และการวิจัยเพ่ือเพิ่มมลุ ค่าผลติ ภณั ฑ์ดินแดงบ้านม่อนเขาแก้ว จังหวดั ลาปาง:กรงุ เทพมหานคร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook