Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 5

บทที่ 5

Published by wanvisaaa2538, 2020-06-13 05:10:47

Description: บทที่ 5

Search

Read the Text Version

ศลิ ปนิยม 20300-1002 บทที่ 5 หัวขอ้ : คณุ ค่าของงานศิลปะ 1

บทท่ี 5 คุณคา่ ของงานศิลปะ ศิลปะต่าง ๆล้วนมคี วามหมายมากกว่าเงินทอง เวลา แรงงาน ทศี่ ลิ ปะได้ทมุ่ เทสรา้ งสรรค์ข้นึ มา เปน็ สญั ลกั ษณ์แสดงถึงชีวิตเราได้ถูกย้อมและกลอ่ มเกลาเริมคณุ ค่าจากสุนทรยี ะทางศลิ ปะ ใหช้ ว่ ยจรรโลง ชีวติ จติ ใจมาโดยตลอดจนเป็นประวตั ศิ าสตร์อันยาวนาน ศิลปะแมไ้ ม่คงที่ โดยรูปแบบจะปรับเปล่ียนไปตามการเปลย่ี นแปลงคา่ นิยมของสงั คมกต็ าม แต่สื่งท่ีคงมอี ยู่ คอื คณุ ค่าของศลิ ปะ ซ่งึ สามารถนามาปรบั ใชใ้ ห้เป็นประโยชน์สาหรับปจั จุบนั และอนาคต จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม 1. สามารถวิเคราะห์แนวความคิดเก่ียวกบั คณุ ค่าต่าง ๆทางศลิ ปะได้ 2. สามารถอธบิ ายลกั ษณะของคณุ ค่าทีจ่ ะนามาใชใ้ นทางหลักการและทางปฏิบัติ เพือ่ พัฒนาการ สรา้ งงานศิลปะได้ 1.คณุ ค่าทางความงาม ธรรมชาตขิ องมนษุ ย์ท่ยี งั มคี วามเปน็ โลกียชนอยู่ ท้ังศลิ ปินผสู้ รา้ งสรรคง์ านศลิ ปะหรอื ผู้ชนื่ ชมทาง ศลิ ปะ หือมนุษยท์ ัว่ ไปทีไ่ มได้สนใจงานศลิ ปะ ล้วนมีการับรู้อารมณืพ้ืนฐานรว่ มในงานของ งาม หรอื ไม่งาม มนษุ ย?ทกุ คนมสี ัญชาตญาณอันตอ้ งการความพึงพอใจในการเสพรสแห่งความงาม ความสะเทอื นอารมณื องค์ประกอบทีท่ าใหช้ อบไมช่ อบ กเ็ ปน็ เร่อื งความสวยงามเสียเปน็ สว่ นใหญ่ ศิลปะเป็นสงิ่ ท่ีมนษุ ย์สรา้ งข้นึ เพื่อมนษุ ย์ดว้ ยกัน เพื่อแสดงออกถงึ อารมณ์ความรสู้ ึก ความคดิ ความงาม ผา่ นผลงานทางศิลปะ อนั ประกอบด้วย ความงามทางรปู ทรง และความงามทางเนือ้ หา รูปทรง คอื สิ่งท่ีศิลปินสรา้ งขนึ้ ให้มองเห็น มกี ารประสานสัมพนั ธอ์ ยา่ งมีเอกภาพของ สว่ นประกอบทางศิลปะ โยรูปทรงทเี่ ห็นจะให้ความรู้สกึ พึงพอใจ ช่นื ชม เป็นความสขุ ทางตา ชี้นาแก่ อารมณค์ วามรู้สกึ และปัญญาความคดิ ทเ่ี กิดข้ึนในใจ รปู ทรงเปรยี บได้กับกายท่เี ป็นรปู ธรรมของ ความงามเบือ้ งตน้ เนอื้ หา จะเป็นส่ิงแสดงความหมายของศิลปะนนั้ ๆผ่านทางรูปทรงศลิ ปะ โดยเกิดการ ประสานกันของเรอื่ ง แนวเร่อื งและรปู ทรง ที่รวมตัวกันอนยา่ งมเี อกภาพ ทาให้เกิดอารมณ์สะเทือน ใจ และพรอ้ มรับอารมณอ์ ่นื ๆเช่น รกั เศรา้ โกรธ เกลียด เนื้อหาจึงเปรียบเหมือนจิตวญิ ญาณของ รูปทรง ท่ีใหแ้ ก่ผ้ชู ่ืนชมศิลปะ 2

2.คณุ ค่าของเชื้อชาติ มนุษย์ในสังคมหนงึ่ หรือประชากรชาติใด ยอ่ มมกี จิ นิสยั ทางการศิลปะตา่ ง ๆปรากฏออกมาในรูป แบบอยา่ งเชอ้ื ชาตแิ หง่ ตนได้ จนเกิดศิลปะในรูปแบบประจาชาติขนึ้ มาและดารงอยู่ดว้ ยเวลาอนั เน่ินนาน เชน่ ศิลปะตะวนั ตก ศลิ ปะตะวนั ออก ศิลปะไทย ศิลปะจีน ศิลปะอนิ เดีย คุณค่าทางเช้อื ชาตทิ ่ีปรากฏในงานศลิ ปะ เป็นมรดกตกทอดสาหรับปจั จุบนั เป็นสากลแหง่ การ ยอมรบั ใหเ้ ปน็ เหตุผลสาคญั ท่ีกาหนดข้นึ เพื่อเป็นสญั ลักษณ์แกช่ าติ เป็นเกียรติแกร่ ฐั เป็นศักด์ศิ รี และ อาภรณ์แก่คนในชาติ โดยส่งผลใหเ้ กดิ ความงอกงามในใจ แสดงออกซงึ่ ความหมายแห่งการเปน็ มนุษยท์ ่ี สมบูรณืและทรงเกยี รติในแตล่ ะชาติ 3.คณุ ค่าทางวฒั นธรรม เมื่องานศิลปะเริ่มต้นสร้างสรรค์ ศิลปนิ ผู้สร้างก็ยอ่ มสานึกอยเู่ สมอวา่ เขาสร้างงานนน้ั ข้นึ มาทาไม เพอใคร และหวังผลอะไร จึงจะทาใหผ้ ลงานสาเรจ็ สามารถสื่อความหมายใหแ้ กม่ นุษยใ์ นสงั คมเกดิ การ รบั รู้ เข้าใจ และยอมรบั ผลงานศิลปะทไ่ี ด้สร้างสรรค์ขน้ึ มา เพราะมนษุ ย์อยู่รวมกันเป็นหมู่เหลา่ เผ่าพันธุ์ หรือเปน็ ชาตเิ ดียวกัน ภายใตเ้ ง่ือนไขระยะเวลาอันยาวนาน จึงมกี ิจนสิ ยั ความคิด ความเชือ่ ความพอใจ โดยส่วนรวมเปน็ ไปในแนวทคี่ ล้ายกัน ด้วยเหตนุ ี้ เมอ่ื จะแสดงออกสง่ิ ใดให้ปรากฏออกมาเปน็ วตั ถธุ รรม เชน่ งานศลิ ปะ การสร้างสรรคส์ ิ่งนนั้ ๆย่อมมาจากพ้ืนฐานความคดิ กจิ นิสยั คติความเชื่อของหมู่สังคม น้ัน ๆ มีความพึงพอใจ ใคร่ช่นื ชม คณุ คา่ ทางเชอื้ ชาติแห่งศิลปะ มีความสาคญั ในการพัฒนาอาชีพและเศรษฐกิจมิ เสอื่ มคลาย ความนิยมจากหมูค่ นในชาตแิ ละชาวต่างชาตติ ่างภาษา เกิดการภมู ิใจรว่ มกัน มีความนึกคดิ ทางเดียวกนั มนษุ ย์ในแตล่ ะสังคม จะมีวิถชี ีวติ การดาเนนิ ชวี ิตหรือวฒั นธรรมทางคติความเชื่อ ตลอดจน การทามาหากินทตี่ ่างกนั ไป ตามสภาพแวดล้อมสถานภาพทางทัศนคติทตี่ ่างกนั ไป ตามลักษณะแห่ง สงั คมนีเ้ อง เป็นสิ่งสาคัญท่ีมีผลตอ่ การสร้างสรรคว์ ัฒนธรรม โดยเฉพาะทางดา้ นศลิ ปะ 3

4.คุณค่าทางปรัชญา ปรชั ญา หมายถึง หลักแหง่ ความรบั รแู้ ละความจริง คุณค่าทางปรัชญาศลิ ปะ จึงมีความหมายถึง การทาผลงานศิลปะที่ใหห้ ลกั ความรู้และความจรงิ แกผ่ ู้ชืน่ ชม เชน่ โกย่า เขียนชแี้ จงการสรา้ งภาพพมิ พ์ เทคนคิ แอควะทินต์ ชุดส่งิ ท่นี า่ กลวั ไว้ตอนหนงึ่ วา่ มนั เป็นความฝนั ของศิลปนิ คนหนง่ึ ท่ีปรารถนาจะกาจดั ภัยตรายในความเชื่อของสามญั ชนทวั่ ไป สิ่งทีน่ ิรันดร์ของงานชดุ นค้ี ือ การสอบสวนอยา่ งจริงจงั เพ่ือสัจจะ กรีกโบราณเปน็ ตน้ กาเนิดของการสร้างสรรค์งานศิลปะเช่นนี้ จะเหน็ ได้จากเพลโตนกั ปรชั ญาชาว กรีก เชอ่ื วา่ ศิลปะเปน็ เรือ่ งของความงาม ความงามนี้คอื ความจริง ความจริงคือความดี เมอื่ มีศลิ ปะรวม ไว้ดว้ ยสงิ่ เหลา่ นี้ จงึ เปน็ ศิลปะสูงสดุ อยู่เหนอื ความงามทป่ี กตสิ มั ผัสกัน เช่น เทพเขจ้าในรา่ งมนษุ ยท์ ี่ ศิลปนิ ได้แกะสลกั เลียนแบบร่างมนุษย์ แลว้ เพมิ่ ความสงา่ งามตามอุดมคติที่เชอ่ื วา่ สง่างามทส่ี ดุ ลงไปและ แพรห่ ลายท่วั ไปจนทกุ วันน้ี เพราะรับรู้หรอื ทาความเข้าใจได้ง่าย ศลิ ปะไดท้ าหน้าทบ่ี นั ทึกประวตั ศิ าสตร์ เพราะเหตกุ ารณ์นั้นมีอทิ ธพิ ลทางความเชือ่ คา่ นยิ มตอ่ ศิลปะเชน่ นน้ั เชน่ การทาเครื่องป้นั ดินเผาในสมยั สโุ ขทัยเครอื่ งถว้ ยเบญจรงคใ์ นสมัยอยธุ ยา ล้วนเกดิ จากการทามาค้าขายกบั จีน แม้การก่อสร้างงาน สถาปัตยกรรมในสมัยอยุธยา ซึง่ ถือเป็นการปฏริ ปู โดยแท้ เพราะมชี าวต่างชาติทม่ี วี ัฒนธรรมและ วิทยาการในดา้ นต่าง ๆเดินทางเข้ามาสู่ไทยในสมยั สมเดจ็ พระเจ้าปราสาททอง เปน็ ต้นมา ซึง่ มีท้งั ฝรง่ั เศส อังกฤษ โปรตเุ กส และฮอาลนั ดา งานสถาปตั ยกรรมสมัยนจี้ ึงมกี ารพฒั นาประยกุ ตอ์ ยา่ งเต็มท่ี ตามทีผ่ ลงานเหล่าน้ีเหลอื ไวใ้ นเชงิ ประวัติศาสตร์ ศิลปะมีการพัฒนาตามสภาพการววิ ฒั นาการทางสังคม ของกล่มุ ยุโรปมาโดยตลอด ศิลปะจงึ ได้รบั อทิ ธพิ ลทางความคิดและปรัชญาทส่ี งั่ สมมานานบั พันปี สมัย กรกี เรืองอานาจ ทุกวันนี้ร่อยรอยอารนธรรมยงั หลงเหลืออยู่ สิ่งต่าง ๆทเี่ ป็นระบบความรู้ ความคดิ ซบึ ซา บอยใู่ นความรู้ของคนรนุ่ หนงึ้ สู่คนอีกร่นุ หนงึ่ อยา่ งมีระเบยี บแบบแผน จงึ ไมแ่ ปลกทคี่ ณุ คา่ ปรชั ญาของ งานศิลปะจะดาเนินควบคู่กนั มากบั การสร้างสรรคง์ านศิลปะละววิ ัฒนาการตลอดมา 5.คุณค่าทางประวัตศิ าสตร์ การสร้างสรรคศ์ ลิ ปะใด ๆด้วยตงั้ ใจหรอื ไมต่ ้ังใจกต็ าม ผลงานแต่ละยุคสมยั ท่ีปรากฏของแต่ละ กล่มุ ลว้ นบันทกึ สภาพสังคมน้นั ๆไว้สาหรบั คนรนุ่ หลงั ไมว่ า่ ความเจริญ ความเสอื่ ม ความเชอื่ คา่ นิยม คณุ ค่า สติปญั ญา ความสามารถ ต่างถูกถ่ายทอดลงสูผ่ ลงานศิลปะเหล่านั้น ล้วนผ่านสู่การรับรขู้ องผ้อู นื่ 4

2.คุณคา่ ทางประวัตศิ าสตร์ การสร้างสรรค์ศลิ ปะใด ๆด้วยต้ังใจหรอื ไมต่ ้ังใจก็ตาม ผลงานแต่ละยคุ สมยั ท่ีปรากฏของแตล่ ะกลุ่ม ล้วนบนั ทึกสภาพสังคมน้ัน ๆไว้สาหรบั คนรนุ่ หลัง ไม่วา่ ความเจรญิ ความเส่อื ม ความเชื่อคา่ นิยม คุณค่า สตปิ ัญญา ความสามารถ ต่างถูกถ่ายทอดลงสู่ผลงานศลิ ปะเหลา่ นัน้ ลว้ ผ่านสู่การรับรู้ของผ้อู ื่น ศลิ ปะมกี ารพัฒนาตามสภาพการววิ ัฒนาการทางสงั คมของกล่มุ ยโุ รปมาโดยตลอด ศิลปะจงึ ไดร้ ับอทิ ธิพล ทางความคิดและปรัชญาที่ส่งั สมมานานบั พนั ปี สมยั กรีกเรอื งอานาจ ทุกวันนีร้ ่อยรอยอารนธรรมยงั หลงเหลืออยู่ สิง่ ตา่ ง ๆที่เปน็ ระบบความรู้ ความคิดซบึ ซาบอยู่ในความรู้ของคนรุ่นหนง้ึ สู่คนอกี รุน่ หนง่ึ อย่างมรี ะเบยี บแบบแผน จงึ ไม่ แปลกท่ีคณุ ค่าปรชั ญาของงานศลิ ปะจะดาเนนิ ควบคู่กันมากบั การสรา้ งสรรคง์ านศลิ ปะละววิ ัฒนาการตลอดมา 5


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook