Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่

การใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่

Published by Peeranat Rattanasamniang, 2021-02-14 14:47:56

Description: การใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่

Search

Read the Text Version

การใช้งานโทรศัพทเ์ คลื่อนท่ี

ก เน้ือหา การทํางานโทรศพั ท์เคล่ือนที่ ............................................................................................................................ 1 ไอคอนสำหรับโทรศัพท์เคล่ือนที่........................................................................................................................ 8 การเร่ิมตน้ ใช้งานโทรศพั ท์เคลื่อนทีเ่ บื้องตน้ ........................................................................................................ 12 การโทร.................................................................................................................................................... 28 อา้ งองิ ..................................................................................................................................................... 35

1 การใชง้ านโทรศัพทเ์ คลื่อนท่ี การทํางานโทรศัพท์เคลอ่ื นท่ี โทรศัพท์ไรส้ าย เครอ่ื งโทรศพั ท์ไรส้ าย หมายถงึ โทรศัพท์ทุกชนดิ ทีไ่ ม่ใชส้ าย เช่น โทรมอื ถอื PCT แมก้ ระทงั่ โทรตามบา้ นท่ไี รส้ าย โทรศัพทอ์ าจจะเปน็ ปจั จัยที่5ของมนษุ ยย์ คุ ดิจิตอล ประชาชนส่วนใหญจ่ ะเป็นเจ้าของมอื ถือบางคนมมี ากกวา่ 1 คร้งั และใช้กนั อย่างไมล่ มื หลู ืมตาโดยทไี่ ม่คำนึงถงึ ความปลอดภยั หรอื ผลเสยี ที่จะเกิดขนึ้ บทความนจี้ ะกลา่ วถึงความปลอดภยั ของคลน่ื วิทยตุ อ่ คนโดยมีการทบทวนโดยองค์การอนามัยโลก องค์การสุขภาพ ของแคนาดาและอังกฤษ การเจรญิ เตบิ โตของธรุ กจิ มอื ถอื อยา่ งมาก ประมาณการว่าจะมีจำนวนเครอื่ งโทรศพั ท์ประมาณ 1.6 ลา้ นๆเครอื่ ง นอกจากนนั้ กย็ ังมสี ถานเี ครอื ขา่ ยเพ่มิ ขึ้นมากมายทปี่ ลอ่ ยคลนื่ ความถ่วี ิทยออกมา ปจั จยั ที่มผี ลต่อสขุ ภาพไดแ้ ก่ การทำงานของโทรมือถือ

2 เมื่อเราพดู โทรศัพท์มอื ถอื คล่นื เสียงจะเปลีย่ นเป็นคลน่ื วทิ ยุ radio waves ซง่ึ เป็นคลนื่ แมเ่ หลก็ ไฟฟ้าชนิดหนงึ่ ( electromagnetic radiation) คลน่ื นจ้ี ะกระจายไปในอากาศและไปสสู่ ถานีของวิทยมุ อื ถอื เม่ือมีคนโทรตดิ ตอ่ มา คลน่ื เสียงจะแปลงเปน็ คลื่นวิทยุ ส่งไปตามสถานีและสง่ มายงั ผรู้ ับ ความแรงของคล่ืนส่วนใหญป่ ระมาณ 0.75ถงึ 1 watt ในขนะที่เราพดู สมองของเราจะอยูใ่ กลเ้ สาอากาศของ โทรศพั ทม์ อื ถอื มากทสี่ ดุ พลังงานจากคลืน่ วทิ ยจุ ะเปลี่ยนเปน็ พลังงานความรอ้ นซงึ่ อาจจะสง่ ผลเสียตอ่ สขุ ภาพ ความแรงของคลื่น คนทีใ่ ชโ้ ทรศัพทม์ อื ถือจะไดร้ ับคลนื่ มากกว่าคนทีอ่ าศัยอยู่ใกล้สถานี คนที่ใชโ้ ทรศพั ท์มอื ถอื จะไดร้ บั คล่ืนเมอ่ื มกี าร ใช้โทรศพั ท์ แต่คนท่ีอาศัยใกลส้ ถานีจะไดร้ บั คลนื่ อยตู่ ลอดเวลา โทรศัพทม์ อื ถือ โทรศัพทม์ อื ถือสมัยเก่าเปน็ ระบบ 850 MHz ปจั จบุ นั เป็นแบบ 1900 MHz สว่ นของประเทศทาง ยโุ รปใช้ระบบ Global System for Mobile Communications (GSM) ซง่ึ มคี ล่ืนความถ่รี ะหวา่ ง 900 MHz ถงึ 1800 MHz โทรศพั ทเ์ คลอ่ื นทจ่ี ะใหพ้ ลงั งานคล่นื เพยี ง 0.2-0.6 Watts สำหรบั วิทยุ walkies talkies จะใหก้ ำลงั คล่ืนถึง 10 Watts ความแรงของคล่ืนจะลดลงอยา่ งมากเมื่อตัวเคร่ืองอยหู่ า่ งจากศรีษะ ดงั น้ัควารจะใชอ้ ุปกรณ์ท่ี เรยี กว่า hand free ซง่ึ จะลดความแรงของคลืน่ สถานกี ระจายคลืน่ สถานจี ะให้คลนื่ แรงตัง้ แต่ไมก่ ีว่ ตั ต์จนเปน็ ร้อยข้นึ กบั ขนาดและจำนวนของเซลล์ไซต์ โดยตวั เสา อากาศจะมคี วามกว้าง 20-30 ซม. และยาวประมาณ 1 เมตรโดยตั้งอยู่ ดาดฟา้ อาคาร บนหอคอยสูง 15-50 เมตร จากพื้น หากตง้ั อยบู่ นพนื้ จะต้องมีความสูง 50-200 ฟตุ จากพ้นื ดนิ คลนื่ จากเสาอากาศจะออกในแนวราบ ดงั นนั้ คนที่อยู่บนดินหรอื ในบา้ นจะได้รบั คลื่นนอ้ ยมาก ระยะห่างทปี่ ลอดภัยจากคอื 2-5 เมตรจากเสาอากาศ ผลกระทบต่อสุขภาพ คลนื่ วิทยุจะมีผลต่อเนอื้ เย่อื ลึกประมาณ 1 ซม ความลึกขึ้นกบั ความถ่ขี องคลื่น เมือ่ เนอ้ื เยอ่ื ได้รบั คลื่นจะแปลงเป็น ความรอ้ นแตร่ ่างกายก็มกี ลไกทจี่ ะควบคุมอณุ หภมู ิ เช่ือว่าผลเสยี ของคลนื่ วิทยุเกิดจากความรอ้ น การศึกษาทผ่ี ่านมาจะศกึ ษาผลกระทบอของคล่นื วทิ ยุตอ่ ทัง้ รา่ งกาย และคลื่นท่ีศกึ ษากแ็ รงกว่าคลนื่ โทรศพั ทม์ าก การศึกษาผลกระทบของคล่นื โทรศพั ทมอื ถอื ตอ่ คนยังมีไมม่ าก มะเรง็ ยังไม่มหี ลกั ฐานยนื ยันว่าคล่นื โทรศพั ทท์ ำให้เกดิ มะเรง็ แตจ่ ากการทดลองในสตั วก์ ไ็ มม่ ีหลกั ฐานว่าทำใหเ้ กดิ มะเรง็ และจากการศกึ ษาทางระบาดวทิ ยาก็ไมม่ ีหลกั ฐานว่าคลน่ื โทรศพั ทท์ ำใหเ้ กิดมะเรง็ ผลเสยี ต่อสขุ ภาพอืน่ พบวา่ คลื่นวทิ ยมุ ีผลต่อการนอนหลบั การตอบสนองของสมอง นอ้ ยมาก

3 การขับรถ การใชโ้ ทรศพั ท์มอื ถอื ทำให้มอี บุ ัติเหตเุ พมิ่ ข้นึ การรบกวนของคล่นื วิทยุ คลื่นจะรบกวนการทำงานของอปุ กรณ์ทางการแพทย์ เชน่ เครอ่ื งกระตุน้ การเตน้ ของ หวั ใจ pacemaker ,defibrillator และอาจจะมีผลต่อการควบคมุ การบนิ การเลอื กซ้อื ตอ้ งพจิ ารณาอะไรบ้าง ตอ้ งทราบว่าโทรมือถือแตล่ ะรุน่ ทผี่ ลิตออกมาใหค้ วามถค่ี ลื่นวทิ ยอุ อกมาเท่าไร (Raduofrequency exposure level ) ทา่ นจะทราบโดยขอข้อมลู จากบรษิ ทั ผผู้ ลิตหรอื ที่เวป http://www.fcc.gov/oet/rfsafety ท่านจะต้องทราบวา่ พลงั งานที่ไดจ้ ากคล่นื (Specific Absorption Rate (SAR) เป็นการคำนวณพลงั งานจาก คลื่นวิทยุทีเ่ ราไดร้ บั )ไมค่ วรเกินเท่าไร ปกติไม่ควรเกนิ 1.6 watts per kilogram SAR stands for Specific Absorption Rate แม้วา่ จากหลักฐานถงึ ปัจจุบนั พบว่าการใช้โทรศัพทม์ ือถอื ไมก่ อ่ ใหเ้ กิดอันตรายต่อผใู้ ช้ แตย่ งั มีคำถามถึงความ ปลอดภัยของการใชโ้ ทรศัพท์มอื ถือในระยะยาว ซ่งึ รัฐบาลของของหลายประเทศได้แนะนำใหม้ กี ารวิจยั เพิ่มเตมิ SAR คอื อะไร หมายถง Specific Absorption Rate หมายถงึ หนว่ ยการวดั ปรมิ าณพลงั งานทร่ี ่างกายได้รบั ขณะท่เี ราใช้ โทรศพั ทม์ อื ถอื โทรศพั ทท์ กุ เครอ่ื งจะตอ้ งผ่านการวดั โดยใช้พลังงานเตม็ ท่ี แตพ่ ลงั งานท่เี ราใช้จริงจะน้อยกว่าคา่ ท่ี ไดจ้ ากการทดสอบ เพราะบริษัทเค้าออกแบบให้ใช้พลงั งานตำ่ ทสี่ ุดทพ่ี อจะสง่ คลน่ื ไปยงั สถานที ใ่ี กลท้ สี่ ุด ดงั นน้ั หาก เราอยู่ใกลส้ ถานี เราจะได้รับพลงั งานนอ้ ย เราจะเลือกเครื่องทีม่ รี ะดับ SAR เท่าไร ในการเลอื กซอ้ื เคร่อื งโทรมอื ถอื นอกตากจะพจิ ารณา บริษทั ทีผ่ ลติ รนุ่ แบบ ขนาด ประเภทการใชง้ าน ราคา เรา จะต้องคำนงึ ถงึ ระดบั ของ SAR โดยค่าปกตจิ ะไม่เกนิ 1.6 watt/Kg โทรศัพทข์ องบรษิ ทั แต่ละรุ่นมีคา่ SAR เท่ากนั หรือไม่ แมว้ า่ จะเปน็ โทรศัพท์จากบริษัทเดียวกนั แต่จะมคี ่า SAR ไมเ่ ทา่ กัน เราจะทราบวา่ เครอ่ื งของเรามีค่า SAR เท่าไร มี website ที่ใหท้ า่ นคน้ หาว่าเคร่ืองของท่านมีคา่ SAR เทา่ ไรค้นได้จาก www.fcc.gov/oet/fccid

4 ตารางขา้ งล่างจะเปน็ ที่อยู่ของบรษิ ทั ทผี่ ลติ โทรมือถอื ซงึ่ ทา่ นจะสามารถหารายละเอียดของ Specific Absorption Rate (SAR) ของเครอื่ งแตล่ ะรนุ่ Alcatel Audiovox: Benefon: Kyocera Wireless: www.kyocera-wireless.com LG:www.lge.com Mitsubishi:www.mitshubishiwireless.com Motorola:www.mot.com/rfhealth/sar.html Nokia:www.nokiausa.com Panasonic:www.panasonic.com Samsung:www.samsungusa.com Siemens: Ericsson:www.sonyericssonmoible.com/us อปุ กรณ์ Hand free จะทำใหป้ ลอดภยั เพิม่ ขนึ้ หรือไม่ ในขณะที่ยงั ไม่ทราบถึงผลเสยี ของการใชโ้ ทรศพั ทม์ ือถือในระยะยาว ดงั นัน้ การใชอ้ ุปกรณ์ Hand free จะทำให้ สมองของเราไดร้ บั พลงั งานจากคลน่ื วิทยลุ ดลง อุปกรณท์ ่ีป้องกนั คลนื่ ไปสูศ่ รษี ะใชก้ ารได้หรือไม่ จากการศกึ ษาพบวา่ อปุ กรณ์เหล่าน้ใี ช้ไม่ได้ผลเนอ่ื งจากทำให้การใช้โทรศพั ทล์ ำบาก และเคร่อื งจะปรบั พลงั งาน เพ่ิมขึ้น ทำใหเ้ ราได้รบั พลงั งานเท่าเดมิ เราจะใช้มือถืออยา่ งปลอดภัยไดอ้ ย่างไร

5 จนถงึ ปจั จบุ ันยงั ไมม่ หี ลักฐานถงึ ผลเสียของคลื่นโทรศัพท์มือถอื ตอ่ สขุ ภาพ แต่ตอ้ งรอผลการศึกษาอกี 3-4 ปี ดงั นน้ั องคก์ ารอนามยั โลกจงึ เสนอแนวทางปฏิบัติ ลดระยะเวลาในการพูดโทรมอื ถือ ใหป้ ฏบิ ัตติ ามคำแนะนำเพ่อื สุขภาพทง้ั ผใู้ ช้มอื ถอื หรือผู้ทอ่ี าศยั ใกล้สถานี มาตราการเสรมิ การออกมาตราการควรจะอาศยั ขอ้ มลู ทางวิชาการ หากภาครฐั หรอื ภาคประชาชนต้องการมาตราการเสรมิ ควรจะเปน็ มาตราการจูงใจหรอื สมัครใจ เพอื่ ใหบ้ ริษัทผลติ สนิ คา้ ท่ีมีการปล่อยคลื่นลดลง ส่วนประชาชนโดยเฉพาะเดก็ หากตอ้ งการลดการรบั คล่นื ควรจะจำกดั การใช้หรอื ใชอ้ ุปกรณ์ hand free ปฏิบัตติ ามขอ้ หา้ ม เช่นไมใ่ ชโ้ ทรศัพทม์ ือถอื ในโรงพยาบาล หรอื เครอ่ื งบนิ ความปลอดภยั ขณะขบั ขี่ ควรจะหลีกเลยี่ งการใชโ้ ทรศพั ท์มอื ถือในขณะทข่ี บั รถ หรืออาจจะใชอ้ ปุ กรณ์ hand free สรา้ งรวั้ หรอื ส่งิ กดี ขวางบรเิ วณสถานีเพ่อื มิใหผ้ ู้ไม่เกย่ี วขอ้ งเขา้ ไปยงั บรเิ วณดงั กลา่ ว การตดิ ตงั้ สถานี การติดต้ังสถานใี กลโ้ รงเรยี นอนบุ าล สนามเด็กเลน่ โรงเรยี น จะตอ้ งพจิ ารณาใหร้ อบครอบ ผลการศกึ ษา รายงานจาก Cellphones 'should not be given to children' 18:19 11, January 2005 NewScientist.com news service ,Will Knight, London แมว้ ่าจะยงั ไมม่ หี ลกั ฐานถึงอันตรายของมอื ถอื ต่อ สุขภาพ แต่ต้องระวังโดยเฉพาะในเด็ก มรี ายงานจากประเทศสวีเดน ว่ามคี วามสมั พันธร์ ะหวา่ งการเกดิ เนื้องอก เส้นประสาทหกู บั มือถอื มกี ารวิจยั ว่าการใชโ้ ทรศัพทม์ ือถือนานๆจะเกดิ Hot spot ในเน้อื สมอง ซง่ึ เชือ่ ว่าจะมกี ารทำลายสมองบางสว่ น และอาจจะเป็นสาเหตุทท่ี ำให้เกิดโรคเนื้องอกในสมอง และ Alzheimer’s disease การวิจัยใหม่ๆพบวา่ คลน่ื โทรมอื ถอื GSM จะทำให้เกดิ การเปลี่ยนแปลงในการทำงานของเซลล์ และการ เปลี่ยนแปลงคล่นื ไฟฟา้ สมอง พบวา่ คลน่ื วทิ ยุทำใหเ้ กดิ การสลายของ DNA ซงึ่ หากไมม่ กี ารซอ่ มแซมจะทำให้ เซลลส์ มองตาย

6 นกั วิจยั ท่ี Royal Adelaide Hospital in Australia ค้นพบว่าคลื่นแมเ่ หลก็ ทุ อี่ อกมาจากอปุ กรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า อาจจะมคี วามสัมพันธ์กบั การเกดิ เน้อื งอกสมองของหนู การทส่ี มองสมั ผสั คล่นื โทรศัพทม์ อื ถือนานๆจะทำใหส้ ารพษิ สามารถเขา้ สเู่ นอื้ สมองได้งา่ ย รปู ข้างล่างแสดงกลไกวา่ คลน่ื โทรศพั ทม์ ือถือทำใหเ้ กดิ เนอื้ งอกสมองได้อยา่ งไร ออสซสี งสัยคนเนอ้ื งอกในสมองจากเสามอื ถอื บนอาคาร 12 พฤษภาคม 2549 14:37 น. สำนักงาน 2 ชั้นบนสุดของอาคารแหง่ หนงึ่ ในนครเมลเบริ ์นของออสเตรเลียปิดทำการชัว่ คราว หลงั จากเจา้ หน้าท่ี 7 คนท่ที ำงานในนน้ั ตรวจพบเนอ้ื งอกสมอง ก่อให้เกิดความวติ กว่าอาจมสี าเหตมุ าจากเสาสง่ สัญญาณ โทรศพั ทเ์ คลอ่ื นที่บนหลงั คาอาคาร เจ้าหนา้ ที่สหภาพการอดุ มศกึ ษาแหง่ ชาติของออสเตรเลยี เผยว่า 2 ชั้นบนสดุ ของอาคารดงั กลา่ ว เป็นท่ตี ั้งสำนักงาน ของราชสถาบันเทคโนโลยเี มลเบริ น์ มีการสงั่ ย้ายเจ้าหนา้ ทอ่ี อกจากสำนักงานดงั กลา่ วแล้วเมือ่ วานน้ี หลงั จาก เจ้าหนา้ ที่ 4 คนตรวจพบเนอ้ื งอกในสมองในชว่ ง 2 สปั ดาหท์ ผี่ า่ นมา และกอ่ นหน้านเี้ จา้ หนา้ ท่ี 3 คนก็ตรวจพบเนอ้ื งอกในสมองเช่นกัน โดยพบรายแรกเมอ่ื ปี 2544 การพบเจา้ หนา้ ท่ีมเี น้ืองอกสมองพรอ้ มกนั มากขนาดน้ี จงึ ไม่น่าจะ เป็นเรื่องบงั เอญิ เจ้าหนา้ ทท่ี ปี่ ่วย 5 คน ทำงานอย่ชู น้ั บนสุดของอาคาร และส่วนใหญท่ ำงานมานานไมต่ ่ำกว่า 10 ปี ดา้ นเจ้าหน้าทรี่ าชสถาบันเทคโนโลยเี มลเบริ น์ กล่าววา่ เสาสง่ สัญญาณโทรศัพท์เคล่อื นทที่ ่ีติดตั้งอยบู่ นหลงั คาอาคาร สร้างความกังวลมานาน แต่ผลการศึกษาเมอื่ ปี 2544 ไม่พบว่าเปน็ สาเหตุทที่ ำใหเ้ จา้ หน้าทรี่ ายแรกมเี นอ้ื งอกใน สมอง อย่างไรก็ดี ทางสถาบนั ยงั ไม่ตัดประเด็นนีอ้ อกไป และจะศกึ ษาเพม่ิ เตมิ เพอ่ื ให้แนใ่ จ ด้านเทลสตรา บรษิ ัทโทรศัพทร์ ายใหญ่ทสี่ ุดในออสเตรเลยี ทตี่ ดิ ตั้งเสาสง่ สัญญาณโทรศัพทบ์ นหลงั คาอาคารดงั กล่าว ออกแถลงวา่ เสาสง่ ได้มาตรฐานดา้ นสุขภาพและความปลอดภัยของสำนกั งานความปลอดภยั นวิ เคลยี รแ์ ละการ ปอ้ งกนั รงั สอี อสเตรเลยี และเป็นไปตามระเบยี บทเี่ ครง่ ครัดขององคก์ ารอนามยั โลก อยา่ งไรกด็ ี ทางบริษัทจะ ร่วมกบั ราชสถาบันฯ สบื หาความจรงิ ตอ่ ไป เพ่ือคลายความกังวลของเจ้าหนา้ ที่

7

8 ไอคอนสำหรบั โทรศพั ทเ์ คล่อื นที่ ไอคอนทอี่ ย่ดู ้านบนสดุ ของหนา้ จอคอื ไอคอนอะไร แถบสถานะที่ด้านบนของ หน้าจอหลัก มีไอคอนตา่ งๆ ท่ีจะช่วยคณุ ตรวจสอบโทรศพั ท์ของคุณ ไอคอนทางด้านซ้าย จะแจง้ ให้คณุ ทราบเก่ียวกบั แอป เช่น ข้อความใหม่หรือดาวน์โหลด หากคณุ ไม่ทราบ ความหมายของไอคอนเหลา่ น้ี ให้กวาดแถบสถานะลงเพอ่ื ดรู ายละเอียด ไอคอนทางดา้ นขวา จะแจ้งใหค้ ุณทราบเก่ียวกบั โทรศพั ท์ของคุณ เช่น ระดบั แบตเตอรี่และการเชือ่ มตอ่ เครือขา่ ย นคี่ ือไอคอนจากแอปทมี่ าพรอ้ มกบั โทรศัพทข์ องคุณและไอคอนสถานะโทรศพั ท์ การโทร การโทรทีใ่ ชง้ านอยู่ สายทไี่ ม่ได้รบั ลำโพงเปดิ อยู่ ไมโครโฟนถูกปดิ เสยี ง เครือขา่ ย เชอ่ื มต่ออยู่กบั เครือขา่ ยโทรศัพท/์ เครือข่ายมือถือ (สัญญาณเตม็ ) ยังมกี ารแสดงความเรว็ ของการ เชื่อมต่อเครือข่ายของคุณเอาไวอ้ ีกดว้ ย ตวั อยา่ ง เช่น หรอื ความเรว็ ทเี่ ป็นไปไดเ้ รยี งจาก ชา้ ทส่ี ดุ ไปเร็วท่สี ุดคือ 1X, 2G, 3G, H, H+, 4G ความเรว็ ท่ใี ช้ได้ขึน้ อยู่กับผู้ใหบ้ ริการและตำแหนง่ ของ คณุ ไม่มีการเชอ่ื มตอ่ กบั เครือขา่ ยโทรศัพท/์ เครือขา่ ยมือถอื เชอ่ื มต่ออยู่กบั เครือขา่ ยโทรศพั ท์/เครอื ข่ายมือถอื อืน่ (โรมมงิ่ )

9 โทรฉกุ เฉนิ เท่านั้น อยใู่ นพืน้ ที่เครอื ข่าย Wi-Fi เชื่อมตอ่ อยกู่ ับเครอื ข่าย Wi-Fi บรกิ ารตำแหน่งใช้งานอยู่ ไม่มซี มิ การ์ด โหมดบนเครอื่ งบนิ เปดิ อยู่ การเชอ่ื มตอ่ บลูทธู เปดิ อยู่ เชื่อมตอ่ กบั อปุ กรณบ์ ลูทูธแล้ว เช่ือมต่อกบั อปุ กรณ์บลทู ธู ทเ่ี ช่ือถอื ได้แล้ว โทรศพั ทข์ องคณุ เป็น Wi-Fi ฮอตสปอต อปุ กรณ์ต่างๆ สามารถเชื่อมตอ่ เพ่อื แบง่ ปนั การเชื่อมตอ่ ข้อมลู ของคุณได้ เชื่อมต่อกบั จอแสดงผลไรส้ ายหรืออะแดปเตอร์แลว้ เชอ่ื มตอ่ แล้วด้วย สาย USB เชอ่ื มตอ่ แล้วดว้ ยสาย USB ในโหมดแก้ไขขอ้ บกพร่อง ซิงคแ์ ละอปั เดต มกี ารอปั เดตแอปรอให้ ดาวน์โหลด จาก Play Store

10 แอปฯ ได้รับการตดิ ต้ังสำเรจ็ แล้วจาก Play Store อย่ใู นระหวา่ งการซิงคอ์ ีเมลและปฏทิ ิน อยู่ในระหวา่ งการอปั โหลด ดาวนโ์ หลดเสรจ็ สิน้ กำลงั backup Google+ สำรองข้อมลู Google+ เสรจ็ สมบรู ณ์ เสียง สน่ั เสยี งเรยี กเข้าปดิ อยู่ กำลังเลน่ เพลงอยู่ การขัดจงั หวะ แบตเตอรี่ แบตเตอรี่ชารจ์ เตม็ แลว้ กำลงั ชารจ์ แบตเตอร่ี แบตเตอรใี่ กลห้ มด การปลุกและปฏทิ ิน

11 ต้ังคา่ การปลุก กจิ กรรมใน ปฏทิ ิน ทกี่ ำลงั มาถงึ อเี มลและการรบั ส่งข้อความ อเี มลใหม่ ข้อความ Gmail ใหม่ ขอ้ ความตัวอกั ษรใหม่ ขอ้ ความเสยี งใหม่ ขอ้ ความใหม่จาก Hangouts การแจง้ เตอื นฉกุ เฉนิ ไอคอนอื่นๆ เปลีย่ นประเภทแปน้ พิมพ์ ภาพหน้าจอ ใช้งานได้ Assist กำลงั ปรบั การตง้ั คา่ โทรศัพท์ตามกจิ กรรม กำลงั ขบั รถ Assist กำลงั ปรบั การตง้ั คา่ โทรศัพท์ตามกิจกรรม บ้าน Assist กำลังปรบั การต้ังคา่ โทรศพั ท์ตามกิจกรรม ประชุม Assist กำลังปรบั การต้ังคา่ โทรศัพทต์ ามกิจกรรม กำลงั นอนหลบั

12 การเริม่ ต้นใช้งานโทรศพั ทเ์ คลอ่ื นทเ่ี บื้องต้น Android การต้งั ค่าบญั ชี Google ครง้ั แรกทค่ี ณุ เปดิ อปุ กรณ์ Android คณุ จะถกู ขอให้ปอ้ นรายละเอียดบญั ชี Google ของคณุ หรือสร้างบญั ชี Google หากคุณยงั ไมม่ ี น่เี ป็นทางเลอื กทางเทคนิคเน่ืองจากคณุ สามารถใช้โทรศัพท์ Android โดยไม่ต้องมีบญั ชี Google แตเ่ ปน็ ความคดิ ทด่ี .ี Android เป็นระบบปฏิบตั ิการของ Google และบญั ชี Google มีการเช่ือมโยงอยา่ งแน่นหนากบั ระบบปฏบิ ตั กิ าร บัญชี Google ของคณุ ใชเ้ พือ่ สำรองข้อมลู การตง้ั คา่ โทรศัพท์ตดิ ตามแอปท่ีตดิ ตง้ั และลงิ กท์ ่รี วมแอพที่มบี รกิ ารของ Google เชน่ Gmail, Google ปฏิทนิ และ Google Contacts หากคุณเคยไดร้ ับโทรศพั ท์ Android เคร่ืองใหม่ หรอื คนื ค่าโทรศัพทป์ จั จุบนั ของคณุ เป็นการตั้งคา่ เริ่มตน้ จากโรงงานบัญชี Google จะตรวจสอบใหแ้ นใ่ จวา่ ได้ สำรองข้อมลู ท้ังหมดแล้ว คุณยังสามารถเข้าถงึ อีเมลผ้ตู ิดต่อกิจกรรมในปฏทิ ินและขอ้ มลู อื่น ๆ บนเวบ็ Android สามารถอปั โหลดรูปภาพของคณุ ไปยงั อัลบ้มั ส่วนตวั ใน Google+ โดยอัตโนมตั ิดังนัน้ คุณจะมสี ำเนาสำรองอยู่เสมอ. หากคุณเลอื กทจี่ ะไมป่ ้อนข้อมลู ประจำตวั ของบัญชี Google ในขณะตัง้ ค่าโทรศพั ท์ Android ของคุณคณุ สามารถ เพ่ิมบญั ชีในภายหลงั ไดจ้ ากหน้าจอการต้งั คา่ ของ Android.

13 การใชโ้ ทรศพั ท์ของคุณเป็นโทรศัพท์ เช่นเดยี วกับสมารท์ โฟนอื่น ๆ โทรศัพท์ Android มสี ิ่งท่ีเหมอื นกันกบั คอมพิวเตอรม์ ากกวา่ โทรศพั ทแ์ บบเดิม สามารถใชส้ ำหรบั การท่องเว็บอเี มลและอนื่ ๆ ทีม่ ีแอพสำหรบั - ตั้งแตก่ ารสตรมี วดิ โี อและการเลน่ เกมไปจนถึงการ แกไ้ ขรปู ภาพและการเขียนเอกสารสำนกั งาน. อยา่ งไรก็ตามหากคุณเพง่ิ มาที่ Android จากแพลตฟอรม์ อน่ื และต้องการใช้โทรศัพท์ Android ของคณุ เปน็ โทรศัพท์นี่ไมใ่ ช่ปญั หา คณุ สามารถใช้แอพ Phone เพื่อโทรออกและแอพ Messaging เพ่ือสง่ และรับขอ้ ความ ตาม ค่าเริ่มตน้ แอพโทรศพั ท์และการสง่ ข้อความควรปรากฏในบรเิ วณท่าเรือท่ดี า้ นล่างของหน้าจอหลกั ของคณุ - มองหา โทรศัพทส์ นี ำ้ เงนิ และกรอบขอ้ ความสเี ขียว.

14 ทำความรจู้ กั กับระบบปฏบิ ตั กิ าร เมือ่ คุณเปดิ อปุ กรณ์ Android คณุ จะเห็นหน้าจอลอ็ คซึง่ คุณสามารถกำหนดคา่ รหัสรปู แบบหรือรหสั ผา่ นเพ่อื ใหไ้ มม่ ี ใครสามารถใชโ้ ทรศพั ท์ของคุณโดยไม่ได้รบั อนญุ าต.

15 ปลดลอ็ คโทรศพั ท์ของคุณและคณุ จะเห็นหนา้ จอหลกั ของคณุ หนา้ จอหลกั เปน็ สถานที่ทคี่ ณุ สามารถวางไอคอน สำหรบั แอพโปรดและเพ่มิ วิดเจ็ต ตวั อยา่ งเชน่ หากคุณเป็นผใู้ ช้ Gmail บอ่ ยครั้งคุณสามารถเพมิ่ วดิ เจ็ต Gmail เพ่ือให้คุณเหน็ กล่องจดหมายเข้าของคณุ บนหนา้ จอหลักโดยไม่ตอ้ งเปดิ แอปใด ๆ หากคุณใชแ้ อพอน่ื บอ่ ยคุณ สามารถวางไอคอนไว้บนหน้าจอหลกั ได้. แตะปุ่มวงกลมพรอ้ มจุดท่ดี า้ นล่างของหน้าจอหลกั ของคณุ เพอื่ เปิดลิ้นชกั แอป ลนิ้ ชกั แอปจะแสดงแอพทงั้ หมดท่ี คณุ ติดตั้งบนโทรศพั ท์ Android ของคณุ ตา่ งจาก iPhone ของ Apple ทหี่ นา้ จอหลักเปน็ เพียงรายการแอพท่ีคณุ ตดิ ตง้ั เสมอหน้าจอหลักและรายการแอพทีต่ ดิ ต้งั จะแยกจากกันบน Android. จากหนา้ จอแอพคุณสามารถปัดไปรอบ ๆ เพ่ือดูแอพทต่ี ดิ ต้งั และเปดิ แอปได้โดยแตะที่แอป หากตอ้ งการวางแอ พบนหนา้ จอหลักกดค้างไวแ้ ละลากไปทีใ่ ดก็ได้ทค่ี ุณต้องการ หากตอ้ งการเรียนรเู้ พ่ิมเติมเกยี่ วกับการปรับแตง่ หนา้ จอหลกั ของคุณให้อ่านคมู่ อื ของเราเพอ่ื ปรับแตง่ หน้าจอโฮมของคณุ เอง.

16 กดปุม่ ท่ดี า้ นล่างของหนา้ จอเพอื่ ควบคุมโทรศพั ท์ของคณุ มปี ุม่ โฮมท่จี ะพาคณุ กลบั ไปทห่ี น้าจอหลกั ทันทีและปมุ่ ยอ้ นกลบั ท่ีจะพาคณุ กลบั ไปทใ่ี ดก็ไดใ้ น Android - มันอาจไปท่ีแอพทค่ี ุณใช้กอ่ นหน้าน้ีหรือหนา้ จอกอ่ นหน้าใน แอปทค่ี ุณกำลงั เขา้ ชม ในโทรศพั ท์ของคณุ คณุ อาจมปี ุม่ มลั ตทิ าสกง้ิ สำหรบั สลบั ระหวา่ งหน้าตา่ งทเี่ ปดิ อยหู่ รือป่มุ เมนูทเี่ ปิดเมนูของแอพ. เมือ่ คณุ ทำแอพเสร็จแลว้ ใหแ้ ตะปมุ่ โฮมเพื่อกลบั ไปทห่ี นา้ จอหลักของคณุ ใชป้ ุ่มยอ้ นกลับเพื่อออกจากแอพหรือใช้ตวั สลบั แอพเพือ่ สลบั ไปยงั แอปอ่นื Android จดั การแอปที่รันอยโู่ ดยอตั โนมตั ดิ ังนัน้ คุณไมต่ อ้ งกังวลกบั การปดิ แอพ. หากต้องการสลบั ระหว่างแอปทเ่ี ปดิ อย่ใู ห้แตะป่มุ มลั ตทิ าสกง้ิ หากคุณไม่มปี มุ่ มลั ติทาสกิ้งคุณอาจต้องแตะสองครงั้ หรอื กดปุม่ โฮมค้างไว้นานเพื่อเปดิ แอปสลบั บนโทรศพั ท์ของคุณ สง่ิ น้จี ะแตกตา่ งกนั ไปตามโทรศัพท.์

17 เคล็ดลบั ทสี่ ำคญั เพ่ิมเตมิ ใช้การแจ้งเตือน: ในการเขา้ ถึงการแจง้ เตือนในโทรศพั ท์ของคณุ ใหด้ งึ ลน้ิ ชกั การแจ้งเตอื นลงมาจากด้านบนของ หน้าจอด้วยนิ้วของคุณ แตะการแจง้ เตอื นเพ่ือโตต้ อบกบั มันหรอื ปดั การแจ้งเตือนไปทางซา้ ยหรือขวาเพอ่ื กำจัด. การกำหนดคา่ โทรศัพท์ของคุณ: การตง้ั คา่ Android สามารถเข้าถงึ ได้ในแอพการตง้ั ค่า ในการเปิดใหเ้ ปิดแอป drawer ของคณุ และแตะทไี่ อคอนการตงั้ คา่ นอกจากน้คี ุณยงั สามารถดึงลนิ้ ชักการแจ้งเตอื นลงมาแตะทไี่ อคอนท่ี มมุ บนขวาแล้วแตะปมุ่ การตง้ั คา่ . กำลังติดตั้งแอพ: ในการตดิ ต้ังแอพเปิดแอพ Play Store โดยแตะทช่ี ็อตคัต Play Store หรอื แตะทไ่ี อคอนถุงชอ็ ป ป้ิงทมี่ ุมบนขวาของล้ินชกั แอปของคณุ คณุ สามารถค้นหาแอพและตดิ ตั้งแอพได้อยา่ งงา่ ยดายจากแอพน้.ี ทำการคน้ หา: ในการเริ่มตน้ คน้ หาอย่างรวดเร็วให้แตะวดิ เจต็ ช่องค้นหาของ Google ท่ดี ้านบนของหน้าจอหลัก คณุ ยงั สามารถออกคำสงั่ เสียงไปยงั Android ไดอ้ ย่างรวดเรว็ จากที่นีเ่ พอื่ คน้ หาและดำเนนิ การอ่นื ๆ โดยไมต่ ้อง พิมพ์อะไรเลย.

18 แตะท่าทาง ทา่ ทางสมั ผสั ท่วั ไปทำงานตามทีค่ ณุ คาดหวงั แตะบางสงิ่ เพ่อื เปดิ ใช้งานเลอื่ นนว้ิ ไปมาบนหนา้ จอเพือ่ เลอื่ นข้ึนและ ลงหรอื ปดั จากซา้ ยไปขวาและจากขวาไปซา้ ยเพอ่ื ยา้ ยระหว่างหน้าจอ. หากต้องการกำจัดบางสง่ิ เช่นการแจ้งเตอื นคณุ สามารถกวาดนิว้ ไปทางซา้ ยหรอื ขวาซง่ึ จะเปน็ การยา้ ยออกจาก หน้าจอของคณุ เพยี งแตะทรี่ ายการและเลื่อนน้ิวของคุณไปทางซา้ ยหรือขวา. ในการเลือกบางอย่างไมว่ า่ จะเปน็ ข้อความหรอื สิง่ ทีค่ ุณต้องการเลือ่ นไปมาบนหนา้ จอกดแบบยาว นเ่ี ทยี บเท่าคลกิ และลากบน Windows.

19 มีอะไรอีกมากมายให้เรยี นรเู้ ก่ียวกับ Android แตห่ วังว่าคณุ น่าจะเริม่ ตน้ ได้โดยไมท่ ำใหค้ ุณหนักใจเกินไป. Steve Ballmer ยืนยันว่าคณุ ต้องเปน็ นกั วทิ ยาศาสตร์คอมพิวเตอรท์ จี่ ะใช้ Android แต่ Android นน้ั ใชง้ านงา่ ย กว่าเดสกท์ อปของ Windows . ตั้งค่า iPhone, iPad หรือ iPod touch ของคณุ ดวู ิธีการตง้ั คา่ iPhone, iPad หรอื iPod touch ของคุณ หากคณุ กำลงั จะเปล่ยี นไปใช้อุปกรณ์เครอื่ งใหม่ หากคุณต้องการถ่ายโอนข้อมลู จากอุปกรณ์เครอื่ งอ่นื ไปยัง iPhone, iPad หรอื iPod touch เคร่ืองใหม่ของคณุ ให้ ทำตามขั้นตอนต่อไปนี้ จาก iPhone, iPad หรือ iPod touch เครอื่ งอ่ืน

20 จากอุปกรณ์ Android ตรวจสอบให้แนใ่ จวา่ คุณได้สำรองขอ้ มูลอปุ กรณ์ iOS เครือ่ งเดมิ แล้วเพือ่ ให้คณุ สามารถถา่ ยโอนคอนเทนตไ์ ปยัง อปุ กรณเ์ ครอ่ื งใหมไ่ ด้ หากคณุ กำลงั ตง้ั ค่าอุปกรณ์ iOS เครื่องแรกของคุณ หากคณุ ตัง้ คา่ อุปกรณเ์ ครือ่ งใหม่ของคุณแล้ว แตต่ ้องการเรมิ่ ใหม่หมด ให้ดูวิธีลบขอ้ มลู ใน iPhone, iPad หรอื iPod touch ของคุณ หรือทำตามข้นั ตอนตอ่ ไปน้ี เปิดอปุ กรณ์ กดปมุ่ เปดิ /ปิดของอปุ กรณค์ า้ งไว้จนกวา่ จะเหน็ โลโก้ Apple จากนั้นคุณจะเห็นคำว่า \"สวสั ด\"ี ในหลายๆ ภาษา ทำ ตามขั้นตอนตอ่ ไปน้ีเพ่ือเรมิ่ ต้น หากคณุ ตาบอดหรอื มองเหน็ ได้ไม่ชัด คุณสามารถเปิด VoiceOver หรอื ซมู จาก หน้าจอสวสั ดไี ด้ เมอื่ เคร่ืองถาม ให้เลือกภาษาท่ีจะใช้ จากนัน้ แตะประเทศหรอื ภมู ิภาคของคณุ สิง่ นี้จะมผี ลตอ่ ลกั ษณะการแสดง ข้อมูลบนอปุ กรณ์ของคณุ ซ่งึ รวมถึงวันที่ เวลา รายชอื่ และข้อมูลอน่ื ๆ ในขั้นน้ี คุณสามารถแตะปมุ่ การช่วยการ เขา้ ถึงสนี ้ำเงินเพ่ือตั้งค่าตัวเลอื กการช่วยการเข้าถึงซงึ่ ทำให้คณุ ตง้ั คา่ และใชอ้ ุปกรณ์ได้มีประสทิ ธิภาพมากข้ึน ดูขอ้ มลู ชว่ ยเหลือ หากอปุ กรณ์ของคุณเปิดไม่ติด หรือหากเครอื่ งถกู ปดิ ใช้งานไว้หรอื เรยี กขอรหสั

21 หากคณุ มีอปุ กรณ์เครื่องอืน่ ทีใ่ ช้ iOS 11 หรอื ใหม่กว่า ให้ใชเ้ ร่มิ ตน้ อยา่ งรวดเร็ว หากคุณมีอปุ กรณ์เครื่องอนื่ ทใ่ี ช้ iOS 11 หรอื ใหม่กวา่ คุณสามารถใช้อปุ กรณเ์ ครือ่ งนน้ั เพอื่ ตัง้ ค่าอปุ กรณเ์ ครอ่ื งใหม่ ของคณุ โดยอตั โนมตั ดิ ว้ ยเรมิ่ ต้นอย่างรวดเร็ว นำอุปกรณ์ทงั้ สองเครอ่ื งมาวางไว้ใกลก้ ัน จากนน้ั ทำตามคำแนะนำ หากคุณไมม่ ีอปุ กรณเ์ ครอื่ งอืน่ ที่ใช้ iOS 11 หรือใหมก่ ว่า ใหแ้ ตะ \"ตัง้ ค่าด้วยตนเอง\" เพ่ือดำเนินการตอ่ เปดิ ใชง้ านอปุ กรณข์ องคณุ

22 คณุ ต้องเชื่อมต่อกบั เครอื ข่าย Wi-Fi เครอื ขา่ ยเซลลลู าร์ หรอื iTunes เพอ่ื เปิดใช้งานและดำเนนิ การต้งั ค่าอปุ กรณ์ ของคุณตอ่ ไป แตะเครอื ข่าย Wi-Fi ทคี่ ณุ ตอ้ งการใช้หรอื เลือกตัวเลือกอืน่ หากคณุ กำลงั ตงั้ ค่า iPhone หรอื iPad (Wi-Fi + Cellular) คุณอาจต้องใสซ่ มิ การด์ ของคุณกอ่ น ดขู ้อมลู ช่วยเหลอื หากคณุ ไม่สามารถเชอ่ื มตอ่ Wi-Fi ได้ หรือหากคุณไมส่ ามารถเปดิ ใช้งาน iPhone ของคณุ ได้ ตั้งคา่ Face ID หรือ Touch ID และสรา้ งรหสั บนอปุ กรณบ์ างเครอื่ ง คุณสามารถตง้ั ค่า Face ID หรอื Touch ID ได้ เม่อื ใชค้ ุณสมบตั เิ หลา่ นี้ คุณจะสามารถใช้ การจดจำใบหน้าหรือลายน้วิ มอื ของคณุ เพ่ือปลดล็อคอปุ กรณ์และทำการซอ้ื ได้ แตะดำเนินการต่อแลว้ ทำตาม คำแนะนำ หรือแตะ \"ต้ังคา่ ภายหลงั จากการตงั้ คา่ \" จากน้นั ให้ตง้ั คา่ รหสั หกหลกั เพอื่ ช่วยปกป้องข้อมลู ของคณุ คุณตอ้ งใชร้ หสั เพื่อใช้คณุ สมบัติตา่ งๆ อย่างเชน่ Face ID, Touch ID และ Apple Pay หากคุณต้องการใช้รหสั สหี่ ลัก รหัสแบบกำหนดเอง หรอื ไมใ่ ชร้ หสั ให้แตะ \"ตวั เลอื กรหสั \"

23 กคู้ นื หรอื ถา่ ยโอนขอ้ มลู ตา่ งๆ ของคณุ หากคุณมีข้อมลู สำรอง iCloud หรอื iTunes หรอื อปุ กรณ์ Android คุณสามารถกู้คนื หรือถ่ายโอนขอ้ มูลจาก อุปกรณเ์ คร่อื งเกา่ ไปยงั อปุ กรณเ์ ครอื่ งใหม่ของคณุ ได้ หากคุณไม่มีข้อมลู สำรองหรอื อุปกรณ์เครื่องอน่ื ให้เลือกไมโ่ อนแอพและข้อมูล

24 ลงชือ่ เขา้ ใช้ดว้ ย Apple ID ของคณุ ป้อน Apple ID และรหสั ผา่ นของคณุ หรือแตะ \"ลมื รหสั ผา่ นหรอื ยงั ไมม่ ี Apple ID ใชไ่ หม\" จากตรงจุดน้ัน คณุ สามารถกคู้ ืน Apple ID หรอื รหสั ผา่ นของคุณ สรา้ ง Apple ID หรอื ตั้งคา่ ในภายหลงั ได้ หากคุณใช้ Apple ID มากกวา่ หน่ึงบญั ชี ใหแ้ ตะ \"ใช้ Apple ID ทแี่ ตกตา่ งกันสำหรับ iCloud และ iTunes หรอื ไม่\" เมอื่ คณุ ลงชือ่ เข้าใช้ด้วย Apple ID ระบบอาจขอรหสั การตรวจสอบยืนยนั จากอุปกรณเ์ ครอื่ งเก่าของคณุ

25 เปิดรายการอพั เดทอตั โนมตั ิและต้ังค่าคุณสมบตั อิ ื่นๆ ในหน้าจอถดั ไป คณุ สามารถตัดสนิ ใจได้วา่ จะแชรข์ ้อมูลกับนกั พัฒนาแอพและอนญุ าตให้ iOS อพั เดทโดยอตั โนมตั ิ หรอื ไม่ ตง้ั ค่า Siri และอปุ กรณเ์ คร่ืองอื่น

26 ตอ่ จากน้ัน ระบบจะขอให้คุณต้งั ค่าหรอื เปิดใช้บรกิ ารและคณุ สมบัติต่างๆ อยา่ งเชน่ Siri สำหรบั อุปกรณ์บางรุ่น ระบบจะขอให้คณุ พูดวลบี างวลีเพอื่ ให้ Siri รจู้ ักเสียงของคณุ หากคณุ ไดล้ งชอ่ื เขา้ ใชด้ ว้ ย Apple ID ของคณุ แลว้ ใหท้ ำตามขั้นตอนต่างๆ เพื่อตงั้ คา่ Apple Pay และพวงกญุ แจ iCloud ตัง้ คา่ เวลาหน้าจอและตัวเลอื กจอแสดงผลเพม่ิ เตมิ เวลาหนา้ จอจะช่วยใหค้ ุณทราบข้อมลู อยา่ งละเอียดวา่ คุณและลกู ๆ ของคุณใช้เวลาเทา่ ไรบนอปุ กรณ์ คุณสมบัตนิ ี้ ยังชว่ ยให้คณุ สามารถจำกดั เวลาการใชแ้ อพในแตล่ ะวันได้อกี ดว้ ย หลังจากคุณต้ังค่าเวลาหนา้ จอแล้ว คณุ จะ สามารถเปดิ True Tone ไดห้ ากอปุ กรณข์ องคณุ รองรบั และใช้การซมู หน้าจอเพอื่ ปรบั ขนาดของไอคอนและ ข้อความบนหน้าจอโฮมของคุณได้ หากคุณมี iPhone X หรอื ใหมก่ วา่ ให้ดูขอ้ มลู เพ่มิ เตมิ เกย่ี วกบั การใช้คำสง่ั นิ้วเพอื่ ไปยังสว่ นตา่ งๆ ของอปุ กรณ์ หาก คณุ มี iPhone 7, iPhone 7 Plus, iPhone 8 หรอื iPhone 8 Plus คุณสามารถปรบั การกดสำหรบั ปมุ่ โฮมของ คุณได้

27 ทำต่อจนเสร็จ แตะ \"เรมิ่ ต้นกัน\" เพอ่ื เร่มิ ใช้อปุ กรณข์ องคณุ ทำสำเนาขอ้ มลู เพอ่ื ความปลอดภยั โดยการสำรองข้อมลู และดู เก่ยี วกับคณุ สมบตั ิอ่ืนๆ ในคู่มือผู้ใชส้ ำหรบั iPhone, iPad หรือ iPod touch หากคุณเพง่ิ เรมิ่ ใช้ iPhone ให้ดูขอ้ มลู เพมิ่ เติมเก่ียวกบั วิธีการเริ่มตน้ ใชง้ านและการใช้ iPhone การใหข้ ้อมูลเกยี่ วกับผลิตภณั ฑท์ ไี่ มไ่ ด้ผลิตโดย Apple หรอื เวบ็ ไซตอ์ ิสระที่ Apple ไมไ่ ดค้ วบคมุ หรอื ทดสอบไม่ถือ เป็นการแนะนำหรือการรบั รองใดๆ Apple จะไม่รบั ผิดชอบในส่วนทเ่ี ก่ียวข้องกบั การเลือก ประสิทธิภาพการ ทำงาน หรอื การใชง้ านเวบ็ ไซตห์ รือผลิตภณั ฑ์ของบริษทั อื่น Apple ไมร่ บั รองความถูกต้องหรือความน่าเชือ่ ถือของ เวบ็ ไซต์ของบรษิ ัทอ่ืน โปรดตดิ ต่อผจู้ ำหนา่ ยหากตอ้ งการข้อมลู เพมิ่ เตมิ

28 การโทร โทรออกและรับสายโทรศัพท์ คณุ โทรออกจากแอปโทรศพั ทแ์ ละแอปหรอื วิดเจ็ตอนื่ ๆ ทแ่ี สดงรายชื่อติดต่อได้ เมอ่ื ใดกต็ ามท่เี หน็ หมายเลขโทรศัพท์ โดยปกตแิ ล้วคณุ จะแตะหมายเลขน้ันเพอื่ โทรออกได้ หรืออาจจะแตะ หมายเลขโทรศพั ทท์ ขี่ ดี เส้นใตไ้ ว้ใน Google Chrome เพอ่ื คัดลอกหมายเลขไปยงั แปน้ หมายเลขก็ได้ หากไม่มีแอปโทรศัพท์ ให้ดาวน์โหลดจาก Play Store หากดาวน์โหลดแอปโทรศัพทไ์ ม่ได้ แสดงวา่ อุปกรณ์ของคณุ ไมร่ องรบั แอปนี้ เม่ือดาวน์โหลดแอปแลว้ ให้ทําตามข้อความทปี่ รากฏเพือ่ กาํ หนดใหแ้ อปนเ้ี ป็นแอปโทรศัพทเ์ รมิ่ ต้น หมายเหตุ: ข้นั ตอนบางอยา่ งใช้ได้เฉพาะกบั Android 7.0 ขึน้ ไปเทา่ นน้ั ดวู ธิ ตี รวจสอบเวอร์ชัน Android โทรออก สำคัญ: หากต้องการใชแ้ อปโทรศัพท์ คุณตอ้ งยอมรบั ข้อความท่แี จ้งให้ตัง้ คา่ แอปเปน็ ค่าเรมิ่ ต้น เปดิ แอปโทรศพั ทใ์ นโทรศพั ท์ เลอื กบุคคลท่ีจะโทรหา ดังนี้ แตะ \"แปน้ หมายเลข\" เพอื่ ปอ้ นหมายเลข แตะ \"รายชอ่ื ตดิ ต่อ\" เพอื่ เลอื กรายชอ่ื ติดต่อท่บี นั ทกึ ไว้ เราอาจแสดงรายชื่อตดิ ตอ่ ท่แี นะนำให้คุณตามประวัติ การโทร แตะ \"ล่าสุด\" เพอื่ เลอื กจากหมายเลขทโี่ ทรออกลา่ สดุ แตะ \"รายการโปรด\" เพ่อื เลอื กจากรายช่ือติดต่อทบ่ี นั ทกึ ไว้ในรายการโปรด แตะโทร แตะ \"วางสาย\" เมอ่ื สนทนาเสรจ็ แล้ว หากหน้าตา่ งการโทรยอ่ ขนาดลง ใหล้ ากไอคอนการโทรไปที่ดา้ นขวาล่าง ของหนา้ จอ

29 เคล็ดลบั : สำหรบั ผู้ให้บรกิ ารบางรายและอปุ กรณบ์ างร่นุ คณุ จะโทรวิดโี อคอลหรอื โทรด้วย RTT ได้ดว้ ย ดูวธิ โี ทร วิดโี อคอลหรือโทรดว้ ย RTT รับสายหรอื ปฏิเสธสายเรียกเขา้ เม่อื รับสาย คณุ จะเห็นหมายเลขผู้โทร รายชือ่ ติดต่อ หรอื ข้อมูลหมายเลขผู้โทรหากมีขอ้ มูลดงั กลา่ ว เมอื่ ตอ้ งการรบั สาย ใหเ้ ลื่อนวงกลมสขี าวไปท่ีด้านบนของหน้าจอขณะทโ่ี ทรศัพทล์ อ็ กอยู่ หรือแตะรบั สาย เมื่อต้องการปฏเิ สธสาย ให้เล่อื นวงกลมสขี าวไปทดี่ า้ นล่างของหนา้ จอขณะท่ีโทรศัพทล์ อ็ กอยู่ หรอื แตะปดิ ผ้โู ทรท่ี ถูกปฏเิ สธสายจะฝากข้อความไว้ได้ เม่อื ต้องการปฏิเสธสายและสง่ ขอ้ ความถงึ ผ้โู ทร ใหเ้ ลื่อนข้ึนจากไอคอน \"ข้อความ\" เคล็ดลบั : การรับสายเรยี กเขา้ ขณะสนทนาอยกู่ ับอกี สายหนงึ่ จะเป็นการพักสายทสี่ นทนาอยู่ ใชต้ วั เลอื กการโทรศพั ท์ ขณะสนทนาอยู่ จะมตี ัวเลอื กดังนี้ เมื่อตอ้ งการใช้ปมุ่ กด ใหแ้ ตะ \"แปน้ หมายเลข\" เมื่อต้องการสลับระหว่างหฟู ังโทรศัพท์ ลำโพงโทรศัพท์ หรือชดุ หูฟงั บลทู ธู ทเ่ี ชื่อมต่ออยู่ ใหแ้ ตะ \"ลำโพง\" เมื่อต้องการปดิ หรือเปดิ เสียงไมโครโฟน ให้แตะ \"ปดิ เสียง\" เมื่อตอ้ งการหยุดการสนทนาไว้ชว่ั คราวโดยไมว่ างสาย ให้แตะ \"พกั สาย\" แตะ \"พักสาย\" อีกคร้งั เพื่อสนทนาต่อ เมอื่ ต้องการสลบั ระหว่างสายทส่ี นทนาอยู่ ใหแ้ ตะ \"สลบั \" สายท่ีเหลือจะพักไว้ เมื่อต้องการรวมสายทีส่ นทนาอยทู่ งั้ หมดเปน็ การประชมุ สาย ใหแ้ ตะ \"รวมสาย\" เมอื่ ตอ้ งการยอ่ หนา้ ต่างการโทร ใหไ้ ปทีห่ น้าจอหลกั ดวู ิธไี ปยังสว่ นต่างๆ ของโทรศัพท์ เมื่อต้องการย้ายตำแหนง่ ของบับเบลิ การโทร ให้ลากบับเบลิ เมอ่ื ตอ้ งการซ่อนบบั เบลิ การโทร ใหล้ ากบบั เบลิ ลงเพื่อ \"ซอ่ น\" ไว้ที่ด้านล่างของหน้าจอ สำหรบั ผใู้ หบ้ รกิ ารบางรายและอปุ กรณบ์ างรุ่น คณุ จะสลับไปโทรวดิ โี อคอลได้ด้วย โดยแตะท่ี \"วิดโี อคอล\"

30 การปอ้ นข้อมลู ปอ้ นและแก้ไขข้อความ ใชแ้ ป้นพมิ พบ์ นหนา้ จอเพอ่ื ปอ้ นข้อความ ภาพด้านล่างคือหนา้ จอบนหนา้ โทรศัพท์ Nexus 1.แตะคำแนะนำเพอ่ื พมิ พ์ 2.แตะค้างไวเ้ พือ่ พมิ พ์ตัวอกั ษรน้ี 3.แตะคา้ งไวเ้ พ่ือดู การตัง้ ค่าการป้อน ข้อมลู และแป้นพิมพ์ 4.แตะคา้ งไว เ้ พือ่ แสดงตัวเลอื กเพมิ่ เติม ซง่ึ รวมถึงอโี มจ 12 43 แปน้ พมิ พบ์ นแทบ็ เล็ตจะทำงานในลกั ษณะทค่ี ล้ายกัน หากต ้องการให แ้ ป้น พมิ พห์ ายไป ให้แตะปมุ่ \"กลับ\" ด้านล่าง บางแอปจะเปดิ แปน้ พมิ พใ์ ห โ้ ดยอัตโนมัติ ในขณะที่แอปอ่ืนๆ คุณจะต ้องแตะ ตำแหนง่ ท่คี ณุ ต อ้ งการพิมพก์ อ่ น

31 การแกไ้ ขพ้ืนฐาน • ยา้ ยจุดแทรก แตะตำแหนง่ ทค่ี ุณต ้องการพมิ พ์ เคอรเ์ ซอร์จะกะพริบในตำแหนง่ ใหม่ และแท็บสีน้ำเงนิ จะปรากฏขึน้ ข้างใต ้ ลากแทบ็ เพ่อื ย้ายเคอรเ์ ซอร์ • เลอื กข้อความ แตะค้างไว ้หรือแตะ 2 ครัง้ ในข้อความ คำท่ใี กล ้ที่สดุ จะไฮไลต์ข้นึ โดยมแี ท็บทป่ี ลายแตล่ ะด้านของข้อความที่ เลือก ลากแทบ็ เพอ่ื เปล่ียนการเลอื กข้อความ แทบ็ จะหายไปหลงั จากผา่ นไปสกครู่ หากต ้องการให ้แท็บปรากฏขนึ้ ใหม่ ั ให้แตะข้อความนั้นอกี ครงั้ • ลบขอ้ ความ แตะ เพอื่ ลบข้อความทเ่ี ลอื กหรอื อกั ขระทีอ่ ยกู่ ่อน เคอร์เซอร์ • พมิ พ์อกั ษรตวั พิมพใ์ หญ่ แตะปมุ่ Shift หนง่ึ ครง้ั เพอื่ สลับเป็นอักษรตัว พิมพ์ใหญห่ นงึ่ ตัวอกั ษร หรือแตะ แปน้ Shift คา้ งไว ้ขณะท่ีพมิ พ์ เมอื่ คณุ ปล่อยแป้นน้ี อกั ษร ตวั พมิ พเ์ ลก็ จะปรากฏข้นึ อีกครง้ั • เปิด Caps Lock แตะ 2 ครงั้ หรือ แตะ แปน้ Shift คา้ งไว เ้ พือ่ ให ้ เปลี่ยนเปน็ แตะ แป้น Shift อกี ครั้งเพือ่ เปลีย่ นกลบั เปน็ อกั ษรตัว พมิ พเ์ ลก็ • ตัด คดั ลอก วาง เลือกข้อความที่คณุ ต ้องการจะดำเนนิ การ จากนนั้ แตะ ไอคอน ตัดหรือ คัดลอก หากมบี างสงในคลิปบอรด์ ที่จะวาง

32 คณุ จะเห็นป่มุ วางด้วยดงั น การป้อนข้อมูลดว้ ยทา่ ทาง การปอ้ นข้อมูลดว้ ยท่าทางใชไดด้ ที สี่ ุดกบั ภาษาอังกฤษ คณุ ภาพจะแตกต่าง ้ กนั ไปสำหรบั ภาษาอ่นื ๆ และอปุ กรณบ์ างอย่างยงั ไม่รองรับการป้อนข้อมูล ด้วยท่าทาง ในการปอ้ นคำโดยใชการปอ้ นข้อมลู ดว้ ยท่าทาง ให้ทำดังนี้ 1. แตะตำแหน่งท่คี ุณต้องการพมิ พเ์ พอ่ื เปิดแป้นพมิ พ์ 2. เลื่อนน้วิ ชาๆ ผ่านตวั อักษรของคำที่คุณต้องการปอ้ น 3. ปลอ่ ยนิ้วเมอื่ คำท่คี ณุ ต้องการปรากฏในหนา้ ตวั อย่างแบบลอย หรอื อยู่ ตรงกลางแถบคำแนะนำ หากต้องการเลือกคำอื่นในแถบคำแนะนำ ให้ แตะคำ ๆ น้นั หากคำท่ตี ้องการไม่แสดงขณะท่ใี ชการป้อนข้อมลู ดว้ ยทา่ ทาง คณุ สามารถ

33 พิมพ์ด้วยตนเองไดห้ ากคณุ ทำทา่ ทางสำหรบั คำหนึ่งๆ และต อ้ งการ เปลยี่ นแปลงคำดังกลา่ ว ให้แตะคำเพือ่ ดตู ัวเลือกอื่นๆ ในแถบคำแนะนำ พมิ พด์ ้วยการพูด คุณสามารถพดู เพอ่ื ป้อนข้อความในเกือบทุกทท่ี ่คี ุณสามารถปอ้ นข้อความ ด้วยแป้นพมิ พบ์ นหน้าจอ 1. แตะชองข้อความ หรือตำแหนง่ ในข้อความที่คุณได้ป้อนลงในชอง่ ขอ้ ความแล้ว 2. แตะ แปน้ ไมโครโฟนบนแป้นพิมพบ์ นหน้าจอ 3. เมอื่ คุณเหน็ รปู ไมโครโฟน ใหพ้ ูดสงทคี่ ุณตอ้ งการพมิ พ่์ เฉพาะภาษาอังกฤษ คณุ ยงั สามารถพูดวา่ “จุลภาค” “มหัพภาค” “เครอื่ งหมายคำถาม” “เครอ่ื งหมายตกใจ” หรือ “อัศเจรีย”์ เพอ่ื ป้อน เครอ่ื งหมายวรรคตอน เมอ่ื คณุ หยดุ พดู บรกิ ารจดจำเสียงจะถอดเสียงส่ีงทีค่ ณุ พดู ไปและป้อนลงใน ชอ้ งข้อความโดยขดี เส้นใตไ้ ว้ คุณสามารถแตะแป้นลบ เพอื่ ลบข้อความทข่ี ดี เส้นใตไ้ ดห้ ากคณุ เร่มิ พมิ พห์ รือปอ้ นข้อความเพม่ิ ด้วยการพูด เส้นนใต้ จะหาย ไป เพอ่ื ปรับปรงุ การประมวลผลการปอ้ นข้อมลู ด้วยเสยงของคณุ Google อาจ บนั ทกึ เสียงของพ้ืนหลงั โดยรอบเปน็ เวลาสองถึงสามวนิ าทลี งในหนว่ ยความ จำชว่ั คราวได้ ตลอดเวลา การบันทึกนี้จะอยู่ในอปุ กรณ์แค่ชัว่ ขณะเดยี วเท่านั้น และไมม่ กี ารสงไปยงั Google

34

35 อ้างองิ การทาํ งานโทรศัพทเ์ คลอื่ นท่ี https://www.siamhealth.net/public_html/Health/good_health_living/electro/mobile.html ไอคอน https://help.motorola.com/hc/3213/444/global/th-th/d0e15.html โทรออกและรบั สายโทรศพั ท์ https://support.google.com/phoneapp/answer/2811745?hl=th ต้ังค่า iPhone, iPad หรอื iPod touch ของคุณ https://support.apple.com/th- th/HT202033?fbclid=IwAR0TlNfndKu_wYWurs_oDOXiBcBYWMgcZ0rPcAreMNZhMj5obbEwniCejTk ยินดีตอ้ นรบั สู่ Android คูม่ อื สำหรบั ผเู้ รมิ่ ต้นใช้งาน Android https://www.savtec.org/articles/howto/welcome-to-android-a-beginners-guide-to-getting-started- with-android.html?fbclid=IwAR2e38yFmyEKEI1bfl5hghnGp2p_Xbbm- JG30wHomG8E9DxqcHHexDNV4_o การปอ้ นขอ้ มลู https://static.googleusercontent.com/media/www.google.com/th//help/hc/images/android/andr oid_ug_42/th_Kitkat-1.10.pdf?fbclid=IwAR2Ec8MGQ5Q8- jgGvEjNaOcLVAPDj2RTkjNhVsXNqmOSySnWokXH_NLYf_c

36


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook