Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore TEP508

TEP508

Published by jirawin.de, 2017-10-28 05:10:43

Description: Week10- Multimedia and Interactive 1 Page

Keywords: TEP508

Search

Read the Text Version

นวตั กรรม และเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศึกษา ดาวน์โหลดสไลด์ไดท้ ่ีลิงค์ https://goo.gl/mnS3bx

15 นาที สําหรบั การคดิ วิเคราะห์ดาวน์โหลดสไลดไ์ ด้ที่ลิงค์https://goo.gl/mnS3bx





หลายๆ อยา่ งผสมรวมกนั สอ่ื ขา่ วสาร ช่องทางการติดต่อส่ือสารการใชค้ อมพวิ เตอรเ์ พอ่ื แสดง และนําเสนอในรปู ข้อความ รปู ภาพ เสยี ง วีดที ศั น์ โดยเช่อื มโยงกบั อุปกรณ์ตา่ งๆ ที่ใชเ้ พอ่ื การท่องไปในเน้อื เร่อื ง การมีปฏิสัมพนั ธ์ การสรา้ ง และการส่อื สาร



• Normal Text • Music• Hypertext • MIDI • Bitmap • Vector • Clipart • Digital Camera



Audio TechnologyImage TechnologyText TechnologyAnimation & 3D Technology Authoring System Technology Publishing Technology

Broadcasting & Conference TechnologyStorage Technology



ช่วยเพิ่มประสทิ ธิภาพ และประสทิ ธิผลในการเรยี นการสอนสถานการณ์ลาํ ลอง เกม การทบทวน สถานการณ์จําลองของการผ่าตดั โดยใช้ส่ือประสม ด้านวศิ วกรรมศาสตร์ใช้สื่อประสมของการออกแบบวงจรไฟฟ้า

ดึงดูดความสนใจการสืบค้นเชื่อมโยงฉับไวการโตต้ อบระหวา่ งสอื่ กบั ผ้เู รียนใหส้ ารสนเทศหลากหลายทดสอบความเข้าใจสนับสนุนความคิดรวบยอด



การสร้างภาพเคลือ่ นไหว ด้วยการนําภาพนง่ิ มาเรยี งลําดบั กนั และแสดงผลอยา่ งตอ่ เนื่อง ทําให้ดวงตาเหน็ ภาพทม่ี กี ารเคลือ่ นไหวในลักษณะภาพตดิ ตา (Persistence of Vision) เม่ือตามนุษยม์ องเห็นภาพที่ฉายอยา่ งต่อเนอื่ ง เรตนิ าจะรกั ษาภาพนไี้ วใ้ นระยะสนั้ ๆประมาณ 1/3 วนิ าที หากมีภาพอ่ืนแทรกเขา้ มาในระยะเวลาดงั กล่าว สมองของมนษุ ย์จะเช่ือมโยงภาพทั้งสองเข้าด้วยกันทําให้เห็นเป็นภาพเคลื่อนไหวท่ีมคี วามต่อเนื่องกันแม้ว่าแอนิเมชันจะใช้หลักการเดียวกับวีดิโอ



คือ แอนิเมชันท่ีเกิดจากการวาดภาพหลายๆ พันภาพ แต่การฉายภาพเหล่านั้นผ่านกล้องอาจใช้เวลาไมก่ ่ีนาที

คือ การสร้างภาพเคลื่อนไหวโดยการฉายภาพนิ่งหลายๆ ภาพต่อเน่ืองกันด้วยความเร็วสูงใช้เทคนิคการถ่ายภาพหรือวาดรูป หรือรูปถ่ายแต่ละขณะของหุ่นจําลองท่ีค่อย ๆ ขยับจะเรยี กว่า ภาพเคลื่อนไหวแบบการเคลื่อนที่หยุด หรือการวางเรียงส่ิงของแล้วนําเสนอออกมาเปน็ เร่ืองราวของภาพเคลื่อนไหว

คือ การสร้างภาพเคล่ือนไหวด้วยคอมพิวเตอร์โดยอาศัยเคร่ืองมือท่ีสร้างจากแนวคิดทางคอมพิวเตอร์กราฟิกช่วยในการสร้าง ดัดแปลง ให้แสง และเงา ตลอดจนการประมวลผลการเคล่ือนทต่ี า่ ง ๆ

โดยจะเปรียบเทียบการการออกแบบสื่อการเรียนการสอน

การทีเ่ ราจะสร้างสรรคง์ านแอนิเมชนั ได้ ตอ้ งเรม่ิ จากไอเดีย หรือแรงบันดาลใจก่อนเชน่ เดียวกับการทําบทเรียนออนไลน์ | สอื่ การสอน จะต้องมีไอเดีย หรือแรงบนั ดาลใจในการออกแบบ

โครงเรือ่ ง จะประกอบไปด้วยการเลา่ เร่ืองทีบ่ อกถงึ เนือ้ หาเรอ่ื งราวทุกอย่างในภาพยนตรท์ ้งั ตัวละคร ลาํ ดบั เหตุการณ์ ฉาก แนวคิด ความน่าสนใจน้ีสามารถทําให้ผู้ชมรู้สกึ ประทบั ใจ จนสามารถระลกึ ในความทรงจําเช่นเดียวกับการทําบทเรียนออนไลน์ | ส่ือการสอน จะต้องวางโครงเร่ืองเน้ือหาการเรยี นการสอน ใหม้ ีความน่าสนใจ ทําให้ผ้เู รยี นประทบั ใจ และสามารถจดจําเน้ือหาได้

จับใจความสําคัญของเน้ือเรื่องใหอ้ อกมาในแต่ละฉาก กาํ หนดมุมกลอ้ ง เทคนิค การเคล่อื นไหว เสียงดนตรี ตัวละคร…เช่นเดียวกับการทําบทเรียนออนไลน์ | สือ่ การสอน จะต้องแสดงใจความสําคัญของเนื้อหาบนสื่อการสอน ท่ีจะทําการถ่ายทอดให้กับผูเ้ รียนใหไ้ ด้

เปน็ การใชภ้ าพในการเล่าเร่อื งใหไ้ ด้ครบถ้วน ทง้ั เหตุการณ์ ท่ี เกดิ ข้ึน อารมณ์ในเหตุการณ์น้ันๆ สหี น้า ทา่ ทาง ลกั ษณะ ตา่ งๆ ของตัวละคร บอกถงึ สถานที่ และมมุ มองของภาพเชน่ เดียวกับการทําบทเรียนออนไลน์ | สือ่ การสอนจะตอ้ งมีการลําดับเนอ้ื หาการเรียนการสอน กจิ กรรมตา่ งๆ ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง องคป์ ระกอบของการเรยี นในแต่ละคร้ัง

เป็นขั้นตอนของการอดั เสียง ในกระบวนการของการทํางานแอนิเมชันเชน่ เดียวกับการทําบทเรียนออนไลน์ | ส่อื การสอน จะต้องมีบทพดู มีการใชฎน้ า้ เสยี ง ดนตรมี าประกอบการ ออกแบบส่ือการเรียนการสอน

เป็นขัน้ ตอนของการตรวจสอบความเรยี บร้อย ในการสร้างงานแอนิเมชันเชน่ เดียวกับการทําบทเรียนออนไลน์ | สื่อการสอน จะต้องมีการตรวจสอบคามถูกตอ้ ง ไม่วา่ จะเป็นเนอ้ื หา ใจความสาํ คญั คาํ ถกู ผิด และอาจนําไปทดลองใชก้ อ่ น

เป็นขน้ั ตอนของการปรบั แตง่ ช้นิ งาน หลงั จากนาํ ไปใชง้ านแล้ว ก็จะตอ้ งปรับปรุงใหม้ ีคุณภาพดยี ่ิงๆ ขน้ึเช่นเดียวกับการทําบทเรียนออนไลน์ | สื่อการสอน จะต้องทาํ การปรับปรุงเน้อื หา ใจความสําคัญใหม้ ีความ ทันสมยั อยู่ตลอดเวลา รวมถึงองคป์ ระกอบตา่ งๆ ทีอ่ ยใู่ น สือ่ การเรียนการสอนด้วย



การกําหนดการเปลี่ยนแปลงของวัตถุ ที่แตกตา่ งกนั ในทกุ ๆ เฟรมเหมาะสําหรับการสรา้ งภาพเคล่ือนไหวท่ีมีความซับซ้อนมากๆ แตข่ ้อเสยี คอื ไฟลภ์ าพจะมีขนาดใหญ่

เปน็ การสร้างภาพเคลื่อนไหวจากเฟรมเรม่ิ ต้น และเฟรมสุดทา้ ย ซึง่ โปรแกรมจะสรา้ งการเปลย่ี นแปลง ระหว่างเฟรมให้โดยอัตโนมัติ

เปน็ การประยุกต์ใช้จากการเคลื่อนไหวในแบบ Motion Tween และ Shape Tween



ปฏิสัมพันธ์ คือ การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในกลุ่ม ในการจัดการเรียนการสอน นิยมสร้างความสัมพันธ์ในห้องเรียนด้วยการให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียน กิจกรรมประเภทต่าง ๆ ที่จะให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน

แตใ่ นบรบิ ทของ e-Learning หมายถงึ กับการกระทําของผู้เรียน

การท่ีจะทาํ ให้ผู้เรียนมีแรงจูงใจในการเรียนได้มากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กบั … การออกแบบโปรแกรมการโตต้ อบ และใหแ้ รงเสรมิ กบั การกระทาํ ของผ้เู รยี น เอาไว้แบบไหนและอย่างไร ปัจจัยสําคัญท่ีสดุ ในการกระตุ้นใหเ้ กิดแรงจูงใจของผูเ้ รียน

ด้วยเหตุน้ีในการสร้างระบบการเรียนจึงมีความจําเปน็ ที่จะต้องคิดดว้ ยว่า… กับการกระทําของผู้เรียน จึงจะทําให้ระบบการเรยี นน้ันมปี ระสิทธิภาพสูง ซึ่งเป็นความสําคญั ของการออกแบบส่ือการสอนในบริบทของห้องเรียน

1. การเรียนรู้เกดิ ข้นึ ได้ เพราะมวี ัตถปุ ระสงค์ หรอื แรงจูงใจ 2. การเรียนรเู้ กิดจากการพยายามตอบสนองหลายรูปแบบ เพ่ือบรรลุถึงเป้าหมายคอื การแกป้ ัญหา 3. การตอบสนองจะต้องกระทําจนเป็นนิสยั



การที่จะศึกษาเก่ียวกับปฏิสัมพันธ์ และการเรียนรู้ในสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนนั้น จะต้องทราบเก่ียวกบั คุณลักษณะของสือ่ คอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน ประกอบด้วยคุณลักษณะ 4 ประการ คอื หมายถึง เน้ือหาสาระ (content) ที่ได้รับการเรียบเรียงแล้วเป็นอย่างดี ซึ่งทําให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ หรือได้รับทักษะอย่างหน่ึงอย่างใด ตามท่ีผู้สร้างได้กําหนด วตั ถปุ ระสงค์ไว้ โดยอาจจะนําเสนอเนอ้ื หาในลักษณะทางตรง หรอื ทางอ้อมก็ได้

คือ การตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลทั้งจากบุคลิกภาพ สติปัญญาความสนใจ พ้ืนฐานความรู้ คือลักษณะสําคัญของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยผู้เรียนจะมีอิสระในการควบคุมการเรียนของตนเอง รวมทั้งการเลือกรูปแบบการเรียนที่เหมาะสมกับตนได้ เช่น สามารถควบคุมเน้ือหา ควบคุมลําดับของการเรียน ควบคุมการฝึกปฏิบัติหรือการทดสอบ เปน็ ต้น

เนื่องจากผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน หากได้มีการโต้ตอบ หรือปฏิสัมพันธ์กับผู้สอน ดังนั้นคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ออกแบบมาอย่างดีจะต้องเอื้ออํานวยให้เกิดการโต้ตอบระหว่างผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอนอย่างต่อเนื่องและตลอดท้ังบทเรียน

การอนุญาตให้ผู้เรียนเพียงแต่คลิกเปล่ียนหน้าจอไปเรื่อย ๆ ทีละหน้า ไม่ถือว่าเป็นปฏิสัมพันธ์ท่ีเพียงพอสําหรับการเรียนรู้ แต่ต้องมีการให้ผู้เรียนได้ใช้เวลาในส่วนของการสร้างความคดิ วิเคราะห์ และสรา้ งสรรคเ์ พอ่ื ให้ไดม้ าซง่ึ กจิ กรรมการเรียนนัน้ ๆ

เป็นการประเมินความเข้าใจของผู้เรียนไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบของการทดสอบแบบฝกึ หดั หรือการตรวจสอบความเข้าใจในรูปแบบใดรปู แบบหนง่ึ

เพราะการเรียนจากคอมพิวเตอร์ช่วยสอนควรมีประสิทธิภาพมากกว่าเรยี นจากหนงั สือเพราะสามารถสอ่ื สารกบั ผเู้ รียนได้ 2 ทาง

การเรียนรู้ของมนุษย์นั้นใช่เพียงแตก่ ารสังเกตแตร่ วมไปถึงการปฏิบัติดว้ ย… การมีปฏิสัมพันธ์ไม่เพียงแต่สรา้ งความสนใจได้เท่าน้ัน แต่ยังช่วยให้เกิดความรู้ทักษะใหมใ่ หผ้ ู้เรียน



อย่างไรก็ตาม… แม้ว่าจะมีการเนน้ ความสาํ คัญในสว่ นของปฏสิ มั พนั ธม์ ากการที่จะออกแบบบทเรียนอย่างสฎม่าเสมอและมีปฏสิ มั พนั ธ์น้ัน จะต้องเกยี่ วข้องกับ เน้อื หา และเออ้ื อาํ นวยตอ่ การเรียนรู้ของผูเ้ รยี น (ถนอมพร, 2541)

การนําลักษณะปฏิสัมพันธ์ที่ดี มาใช้ในการออกแบบ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนจงึ นับเป็นความสาํ คัญ และช่วยส่งเสรมิ ให้เกิดการเรียนรู้ ตรงตามวัตถุประสงคข์ องบทเรียนนั้น

1. อะไรคือจุดเริ่มตน้ ของการสร้างงานแอนิเมชัน2. Story Board เปรยี บได้กบั อะไรในการออกแบบสื่อการเรยี นการสอน3. ลักษณะการเคลอ่ื นไหวในแบบ Tween มลี กั ษณะเปน็ อยา่ งไร4. ลักษณะการส่อื สารแบบ Two way Communication มีความสัมพนั ธ์ อย่างไรกับการออกแบบสื่อการเรียนการสอน5. ท่านคิดว่าการออกแบบสื่อการเรียนการสอนให้มีปฏิสัมพันธ์นั้นช่วยส่งเสริม ประสิทธิภาพในการเรียนการสอนหรือไม่ อย่างไร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook