Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัย

วิจัย

Published by onsuda655, 2019-10-19 00:42:41

Description: วิจัย

Search

Read the Text Version

คู่มือจ๋วิ สำหรับอำจำรย์นกั พฒั นำ วจิ ยั ในชน้ั เรยี น (Classroom Action Research) วจิ ยั ในชน้ั เรียน คือ “หวั ใจ” ของการศกึ ษา เอกสำรเผยแพร่เพอ่ื กำรเรยี นกำรสอน จัดทำโดย: คณะศลิ ปศำสตร์ สถำบนั กำรพลศกึ ษำ วิทยำเขตกระบ่ี

สว่ นประกอบของโครงการวจิ ัยในช้นั เรียน การเขียนโครงการวจิ ยั 1. ชอื่ เรอื่ ง ................................................................... ในช้นั เรียนเปน็ การกาหนด ชอ่ื ผ้วู ิจัย .................................................................. รายละเอยี ดเกี่ยวกับขั้นตอน การดาเนินงานวิจัยแต่ละเรื่อง 2. ความเปน็ มาและความสาคัญของปญั หาวจิ ยั อยา่ งชัดเจน ต้งั แตข่ ้ันแรกจนถงึ ..................................................................................... ขนั้ สดุ ทา้ ยเพอ่ื เป็นแนวทาง ..................................................................................... ในการทาวจิ ัย 3. ปญั หาการวจิ ยั ..................................................................................... ส่วนประกอบมดี งั นี้ ..................................................................................... 4. วัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัย 5. สมมตฐิ านการวิจยั (ถา้ ม)ี 6. ประโยชนท์ ่ไี ดร้ บั จากการวจิ ยั 7. ตัวแปรในการวิจยั 7.1 ตัวแปรอิสระ ได้แก่ .......................................................... 7.2 ตวั แปรตาม ได้แก่ ......................................................... 8. การศกึ ษาเอกสารทเ่ี กี่ยวข้องกบั การวิจยั ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... 9. วธิ ดี าเนนิ การวิจยั 9.1 แบบแผนการวจิ ัย ................................................................................................ 9.2 ประชาการและกล่มุ ตวั อยา่ ง/กลมุ่ เปา้ หมาย ................................................................................................ 9.3 เครอื่ งมอื ทใ่ี ชใ้ นการวจิ ัย เคร่ืองมอื การแกป้ ัญหา/พัฒนา ................................................................................. เคร่อื งมอื ในการเก็บรวบรวมข้อมลู ................................................................................... การสร้างและหาคณุ ภาพเครอ่ื งมอื ................................................................................... 9.4 การเก็บรวบรวมขอ้ มูล ................................................................................................... 9.5 วธิ กี ารวิเคราะหข์ อ้ มลู ...................................................................................................

10. ปฏทิ ินปฏบิ ัตงิ านวจิ ยั ...................................................................................................... ...................................................................................................... 11. เอกสารอา้ งองิ หรอื บรรณานกุ รม ...................................................................................................... ...................................................................................................... แนวทางการเขียนโครงการวจิ ัยในชนั้ เรียน 1. ช่อื เรือ่ ง การตงั้ ช่อื เรื่องทีด่ ีควรมีองค์ประกอบในช่อื เรอ่ื ง 3 ประการ ดังน้ี 1.1 ลักษณะการศึกษา เป็นการระบุว่าใช้วิธีการศึกษาแบบใด เช่น การสารวจ การ เปรียบเทยี บ การทดลอง การหาความสัมพันธ์ การสังเคราะห์ การสร้างนวัตกรรม เป็นตน้ 1.2 ตวั แปรทศ่ี ึกษา ชอ่ื เร่อื งวิจยั จะระบตุ ัวแปรอสิ ระ และตวั แปรตามทจ่ี ะศกึ ษา 1.3 กลุ่มเป้าหมายทจี่ ะศึกษา ชือ่ เรอื่ งวจิ ยั จะระบุประชากรและกลุม่ ตวั อย่างเปน็ ใคร ตัวอยา่ งท่ี 4.1 การต้ังช่อื เร่ืองการวจิ ยั ในช้นั เรียน 1. การทดลองสอนซ่อมเสรมิ วิชาภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 โดยใชส้ ือ่ ประเภท เครือ่ งเล่น ลกั ษณะการศกึ ษา คือ การทดลอง ตัวแปรทศี่ กึ ษา ตวั แปรอิสระ คอื การสอนโดยใช้สื่อประเภทเครือ่ งเล่น ตวั แปรตาม คอื ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นวิชาภาษาไทย กลุม่ เปา้ หมายท่ศี กึ ษา คือ นักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3 2. การสรา้ งชุดการสอนเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องในการเรยี นคณิตศาสตร์ของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 4 ลักษณะการศกึ ษา คอื การสร้างนวตั กรรม (การสรา้ งชุดการสอน) ตัวแปรที่ศกึ ษา ตัวแปรอสิ ระ คือ ชุดการสอน ตัวแปรตาม คอื ผลการเรยี นวิชาคณิตศาสตร์ กล่มุ เป้าหมายทศี่ กึ ษา คือ นักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 4 2. ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหาวิจัย แนวทางในการเขียนความเป็นมาและความสาคัญของ ปญั หาการวิจัยมีวิธีการ ดังน้ี 2.1 กล่าวถึงสภาพทีพ่ งึ ปรารถนา หรือสงิ่ ทีพ่ งึ ประสงค์ท่มี ุง่ หวังจะใหเ้ กดิ ขึ้น

2.2 กลา่ วถงึ สภาพปญั หาหรือปัญหาท่ปี ระสบอย่โู ดยบรรยายสภาพปัญหาจากการวิเคราะห์และถ้า มขี ้อมลู ท่ีเป็นตวั เลขประกอบนามาระบไุ วด้ ว้ ย 2.3 ผลที่ตามมา หรือปัญหาท่ีเกิดจากความแตกต่างของสภาพท่ีพึงปรารถนากับสภาพปัญหาที่ ประสบอยู่ 2.4 ประเดน็ ที่ตอ้ งการทาวิจยั เพอื่ หาแนวทางในการแกป้ ัญหา 2.5 สง่ิ ท่ีเปน็ ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะได้รับจากแนวทางในการแกไ้ ขปัญหา 3. ปัญหาการวจิ ัย/คาถามการวจิ ยั วิธีการตงั้ ปญั หาการวิจัย/คาถามการวิจยั มหี ลักการดงั น้ี 3.1 เป็นขอ้ ความท่เี ป็นประโยคคาถาม 3.2 ประกอบด้วยตัวแปรในการวิจยั 3.3 มกี ล่มุ เป้าหมายที่ต้องการศกึ ษา 3.4 สอดคล้องกับสภาพปญั หาทีเ่ กดิ ขึ้น 4. วัตถุประสงค์ของการวิจัย การเขียนวัตถุประสงค์ของการวิจัยจะขึ้นต้นด้วย “เพื่อ” แล้วตามด้วย ลกั ษณะ 3 ประการ ดงั นี้ 4.1 ลกั ษณะของการศึกษา เป็นการบ่งบอกว่าจะศึกษาในลกั ษณะใด 4.2 ตัวแปร ผ้วู ิจยั จะต้องกาหนดว่าจะศึกษาเกย่ี วกับตัวแปรอะไร 4.3 กลุม่ ตัวอย่าง ควรระบวุ ่าศกึ ษากบั ใคร ตัวอย่างท่ี 4.2 วัตถุประสงค์ของการวจิ ัย วัตถุประสงคข์ องการวจิ ัย 1. เพอ่ื เปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าคณติ ศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 เรื่อง สมการระหวา่ งการสอนโดยใช้ชดุ การสอนกับการสอนแบบบรรยาย 2. เพ่ือเปรยี บเทียบความสนใจในการเรยี นวิชาคณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง สมการระหวา่ งการสอนโดยใช้ชดุ การสอนกับการสอนแบบบรรยาย จากวัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั ในขอ้ 1 สามารถแยกให้เหน็ ลกั ษณะ 3 ประการ ดงั นี้ (1) ลกั ษณะของการศกึ ษา เปน็ การเปรียบเทยี บ (2) ตัวแปร ได้แก่ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นวิชาคณติ ศาสตร์ เรอ่ื งสมการ (3) กลุม่ ตัวอยา่ ง ได้แก่ นักเรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 จากวตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ัยในขอ้ 2 สามารถแยกใหเ้ ห็นลักษณะ 3 ประการ ดงั น้ี (1) ลกั ษณะของการศึกษา เปน็ การเปรียบเทียบ (2) ตวั แปร ได้แก่ ความสนใจในการเรยี นวชิ าคณติ ศาสตร์ เรอ่ื งสมการ (3) กลุ่มตัวอยา่ ง ไดแ้ ก่ นักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4

5. ประโยชนท์ ่ไี ดร้ บั จากการวิจัย ในการทาวิจัยผู้วิจัยจะต้องช้ีให้เห็นว่าผู้อ่านเห็นประโยชน์ของการวิจัย โดยการคาดคะเนผลที่ไดร้ ับจากการวจิ ัย ซ่ึงอาจจะคาดคะเนได้ 2 ทาง คือ ประโยชน์ในแง่ของความรู้ท่ี ได้รับ และประโยชน์ในแงข่ องการนาผลการวิจยั ไปใช้ หลักการเขียนประโยชนท์ ี่ไดร้ ับจาการวิจยั 5.1 เขียนเปน็ ข้อๆ โดยใชภ้ าษาส้นั ๆ กะทดั รัด และไดใ้ จความชดั เจน 5.2 ประโยชน์ของการวจิ ัยควรสอดคล้องกบั จดุ ม่งุ หมายของการวิจัย กลา่ วคอื ครผู ้สู อน จะต้องพจิ ารณาจดุ มงุ่ หมายแตล่ ะข้อวา่ ก่อให้เกิดความรู้ หรือผลอะไร แล้วจึงพิจารณาต่อไปว่าความรู้ หรือ ผลนน้ั จะเปน็ ประโยชนต์ ่อใคร แลว้ จะสามารถนาไปใชใ้ นเรือ่ งใด 5.3 ไมค่ วรเขียนประโยชน์ของการวิจัยเกนิ ความจริง ตัวอย่างท่ี 4.3 ประโยชน์ของการวิจัย วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพือ่ เปรยี บเทยี บผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นวิชาคณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง สมการระหว่างการสอนโดยใชช้ ดุ การสอนกบั การสอนแบบบรรยาย 2. เพ่อื เปรยี บเทยี บความสนใจในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 เรื่อง สมการระหว่างการสอนโดยใช้ชุดการสอนกบั การสอนแบบบรรยาย ประโยชน์ของการวิจยั (เขียนใหส้ อดคลอ้ งกับวตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั ขา้ งต้น) (1) ทาให้ได้ขอ้ มูลท่ชี ่วยใหค้ รผู ู้สอนไดค้ น้ พบวิธีการสอนทเ่ี หมาะสมกับผูเ้ รียน ซ่ึงข้อ คน้ พบดังกล่าวจะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การพัฒนาทกั ษะทางคณิตศาสตร์ (2) ได้ชุดการสอนวชิ าคณติ ศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 เร่อื งสมการ ซ่ึงจะเป็น แนวทางให้ผสู้ นใจได้ศกึ ษาคน้ ควา้ (3) ทาให้ได้ข้อมูลที่ช่วยให้ครูผู้สอนทราบความสนใจในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ระหวา่ งการสอนโดยใชช้ ุดการสอนกบั การสอนแบบบรรยาย ซึ่งจะเปน็ ขอ้ มลู ในการปรับปรุงการ เรียนการสอนทมี่ ีประสทิ ธิภาพต่อไป 6. ตัวแปรในการวจิ ัย ตวั แปร คือ คุณลกั ษณะของส่ิงที่ตอ้ งการศึกษา ซ่ึงสามารถแปรค่าได้ เช่น เพศ วิธีการสอน อายุ แรงจงู ใจใฝ่สัมฤทธ์ิ ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น เป็นต้น 7. การศึกษาเอกสารที่เก่ียวข้องกับการวิจัย การศกึ ษาเอกสารท่เี ก่ียวข้องกบั การวจิ ยั เป็นการกระทาหลังจากท่ีครูผู้สอนได้ประเด็นปัญหาการ วจิ ยั แลว้ ท้งั น้ีเพื่อเป็นการค้นคว้าสนับสนุน หรือเพ่ือให้เป็นประโยชน์ในการวางแผนและดาเนินการวิจัย

อย่างมีประสิทธิผล นอกจากนจี้ ะทาใหค้ รูผสู้ อนทราบวา่ มีนักวชิ าการ และนกั วิจัยอื่นๆ ได้ศึกษาคน้ ควา้ วิจัย เกี่ยวขอ้ งกับปัญหาวิจยั ของตนไวอ้ ยา่ งไรบ้าง และผลการวิจัยเป็นอย่างไร การศึกษาเอกสารมีประโยชน์ตอ่ ครผู ู้สอนที่จะทาวจิ ัยในชั้นเรียน ดังต่อไปนี้ 7.1 ทาให้ทราบข้อเท็จจริง ทฤษฎี หลักการ ความรู้ และความคิดเห็นต่างๆ ซึ่ง สง่ ผลให้งานวจิ ยั ทก่ี าลังทามีพนื้ ฐานรองรบั ทดี่ ี และมคี วามน่าเชอ่ื ถือ 7.2 ชว่ ยในการกาหนดปญั หาวจิ ัย 7.3 หลกี เล่ยี งการทาวิจัยซ้ากบั ผอู้ ่นื ในลกั ษณะการลอกเลยี นแบบ 7.4 เปน็ การแสดงถงึ ทิศทางและแนวโนม้ ของการวิจยั ที่ผ่านมา และความเชื่อมโยงของ งานวิจยั ท่กี าลงั ทาอยกู่ ับงานวิจยั ทีผ่ า่ นมา 7.5 เปน็ การเรยี นรงู้ านวิจัยท่ีผ่านมา ซ่ึงอาจจะจุดประกายความคิด และแง่มุมใหม่ๆ หรอื หลกี เล่ยี งขอ้ ผิดพลาดทอ่ี าจเกิดขนึ้ โดยไมจ่ าเป็น 7.6 ทาให้เกิดความเข้าใจอย่างกระจ่างในหวั ขอ้ ปัญหาวิจัย 7.7 ช่วยในการเลือกตัวแปร เพราะจากการศึกษาเอกสารทาให้ครูผู้สอนมองเห็น ความสมั พันธ์ของตัวแปรตา่ งๆ ทาใหส้ ามารถเลือกตวั แปรมาใช้ในการวจิ ยั ได้อย่างเหมาะสม 7.8 ช่วยในการกาหนดแบบแผนวิธีวจิ ยั ซ่งึ ไดแ้ ก่ การชว่ ยกาหนดเกยี่ วกบั ขอบเขตการ วิจยั การออกแบบการวิจยั เครื่องมอื และการเกบ็ ขอ้ มูล วธิ กี ารวิเคราะหข์ ้อมลู และการแปลความ ตลอดจน การอภปิ รายผลการวจิ ัยและการใหข้ อ้ เสนอแนะ ลกั ษณะของเอกสารและงานวิจยั ท่ีเก่ยี วข้อง มลี กั ษณะสาคญั ๆ (ธรี วฒุ ิ เอกะกลุ , 2551: 202) ดงั น้ี 1) แนวคิดทฤษฎีทีเ่ กย่ี วข้อง เป็นผลการศกึ ษาแนวคิดทฤษฎีหรือเอกสารที่อ้างอิงท่ีเกี่ยวข้องกับ ปัญหาการวิจัยที่ต้องการศึกษา จะต้องเลือกนาเสนอเอกสารที่เกี่ยวข้องกับปัญหาการวิจัยโดยตรงเพ่ือ สนบั สนุนหรอื เปน็ แนวทางให้เหน็ ภาพรวมของส่งิ ทีช่ ว่ ยสนบั สนุนตัวแปรทีใ่ ชใ้ นการศกึ ษาวจิ ยั 2) งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การนาเสนองานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับปัญหาการวิจัยท่ีทาการศึกษาน้ัน นิยมใช้งานวิจัยของคนไทยและของต่างประเทศ ปริมาณงานวิจัยที่จะนามาอ้างอิงไม่มีข้อกาหนดชัดเจนว่า จะต้องใช้จานวนก่ีเร่ือง จงึ จะพอเหมาะต่อการนาเสนอ ข้ึนอยู่กับว่าจะสามารถสังเคราะห์งานวิจัยเหล่านั้น และสามารถค้นควา้ งานวจิ ยั ทีเ่ กีย่ วขอ้ งไดจ้ านวนมากเพยี งใด และทส่ี าคญั ควรเปน็ งานวิจยั ท่ีไม่เก่าจนเกินไป โดยปกติแล้วในปัจจุบันน้ีควรใช้เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องย้อนหลังไม่ควรเกิน 10 ปี ของการอ้างอิง ผลงานวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วข้อง จึงจะถือวา่ มีงานวจิ ยั ที่เกีย่ วข้องไมเ่ ก่าจนเกินไป การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย ครูผู้สอนจาเป็นต้องพิจารณาว่าเอกสาร นั้นมีคุณค่า น่าเช่ือถือหรอื ไม่ เพียงใด เพ่ือให้ไดค้ วามรู้ หรอื ขอ้ เทจ็ จรงิ ที่ถูกตอ้ ง สาหรบั หลกั เกณฑก์ ารเลอื กเอกสารมี ดังน้ี 1) ความรใู้ นเนือ้ หาน้ันถกู ต้อง 2) เอกสารนั้นมคี วามทันสมัย 3) เปน็ ความรู้ใหม่ หรอื เป็นเรอื่ งทท่ี นั สมยั 4) เอกสารนนั้ มีหนงั สืออา้ งองิ พอที่จะแนะแนวทางในการศกึ ษาขอ้ มูลปญั หาของผู้วจิ ัย 5) เอกสารนนั้ ไดเ้ สนอแนวคิดอันเป็นประโยชนต์ ่อผ้วู ิจัย

6) เอกสารนนั้ เปน็ เครอื่ งชี้นาในการศึกษาขอ้ มลู ของผู้วจิ ัย 7) ความรใู้ นเอกสารมปี ระโยชน์ตรงกับความตอ้ งการของผู้วิจยั 8) ผ้แู ต่งมคี วามเชยี่ วชาญ และมีประสบการณใ์ นงานเขียนเปน็ อย่างดี 9) ภาพประกอบ ตาราง ภาพ หรือแผนที่ ถูกต้องชัดเจน 10) พมิ พจ์ ากโรงพิมพ์ หรอื สานักพิมพท์ ีเ่ ชอ่ื ถือได้ การเขียนรายงานเอกสารทเี่ กี่ยวข้องกบั การวจิ ัย มีหลักปฏบิ ัตโิ ดยทั่วไป คอื 1) การวางเคา้ โครง ก่อนเขยี นจะตอ้ งวางเค้าโครงเสยี ก่อน ว่าจะเขียนเรอื่ งใดไปหา เรอ่ื งใด เพ่ือความสะดวกในการเขียนควรทาเปน็ หัวขอ้ จากน้ันจงึ เรยี บเรยี งเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง ใส่ในแต่ละหวั ขอ้ การวางเค้าโครงเอกสารท่เี กีย่ วขอ้ งจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ ๆ คือ ส่วนแรก ประกอบด้วย 1) นิยาม 2) แนวคิดทฤษฎี (กรอบแนวคิด ทฤษฎี และรูปแบบ ความสมั พันธ์ของตัวแปรทผี่ วู้ ิจัยศึกษา) ส่วนที่สอง เป็นงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง ซึ่งประกอบด้วยงานวิจัยท่ีทาในประเทศ และทาใน ตา่ งประเทศ ตวั อย่างที่ 4.4 การวางเค้าโครงเอกสารท่ีเกีย่ วขอ้ ง เอกสารและงานวจิ ัยท่เี กย่ี วขอ้ ง ความนา........................................................................................................ .....................(ช้แี จงว่าจะนาเสนอเนือ้ หากีต่ อน อะไรบา้ ง) ตอนท่ี 1 นิยาม แนวคดิ ทฤษฎี 1.1 ความหมายและความสาคญั 1.2 แนวคิด ทฤษฎี 1.3 ............................................................ 1.4 ............................................................ ตอนที่ 2 งานวิจัยทเ่ี กี่ยวขอ้ ง 2.1 งานวิจัยที่ทาในประเทศ 2.2 งานวจิ ยั ทท่ี าในต่างประเทศ 2) การเขียนรายงาน เมื่อวางเค้าโครงเป็นหัวข้อ ๆ แล้วก็เขียนรายงานตามเอกสาร และ งานวิจัยทค่ี น้ พบ การเขียนจะต้องผสมผสานกลมกลืนเป็นเนือ้ เดียวกัน กรณผี ลการวจิ ยั เหมอื นกัน จะต้อง เขียนรายงานให้เหน็ วา่ ข้อคน้ พบนีส้ นับสนุนกัน แตถ่ ้าขัดแย้งกนั ก็ต้องเขยี นใหเ้ ห็นขอ้ แตกต่าง และอภิปราย ใหเ้ หตผุ ลประกอบด้วย โดยปกตแิ ต่ละตอนจะมเี นื้อความสาคัญเดียว เม่ือมีเนื้อความสาคัญใหม่ก็ให้ย่อหน้า เปน็ ตอนใหม่

วธิ กี ารเขยี นเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง มีลักษณะสาคญั ๆ ดงั นี้ 1) กอ่ นท่จี ะเร่ิมกล่าวถึงเอกสารและงานวจิ ัยท่เี กยี่ วขอ้ งในแตล่ ะประเด็น ควรเขียนหัวข้อสาคัญๆ ทจี่ ะนาเสนอใหท้ ราบวา่ งานวิจยั เรอื่ งนน้ั จะนาเสนอในหวั ขอ้ สาคัญๆ อะไรบา้ ง โดยเรียงลาดับตามตัวแปร แลว้ จงึ ตามด้วยงานวจิ ัยที่เกยี่ วขอ้ งภายในประเทศ และต่างประเทศตามลาดับ 2) หัวข้อแรกของเอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้อง ควรกล่าวถึงความหมายของตัวแปรท่ีใช้ใน การศึกษาวิจัยกอ่ นด้วยการนาเสนอเอกสารอา้ งอิงของผ้รู ูห้ รอื ผู้มีช่ือเสยี งในทางวชิ าการท่ีเกี่ยวข้องกับเรื่องที่ ทาวจิ ยั การนาเสนอควรกลา่ วถึงเฉพาะสิง่ ท่เี กี่ยวขอ้ งกับตวั แปรท่ีใชใ้ นการวิจัยเท่านัน้ ดว้ ยการสรุปประเดน็ หรือสังเคราะห์ข้อความดว้ ยภาษาของตนเอง พรอ้ มทง้ั การอา้ งองิ เอกสารท่นี ามาใช้ด้วยทุกคร้งั 3) ไมค่ วรนาเสนอเอกสารและงานวิจัยทเ่ี กย่ี วขอ้ งเรยี งลาดับตามตวั อักษร ควรเป็นการนาเสนอ เรยี งตามลาดับตัวแปร หรือสิง่ ท่ีต้องการนาเสนอท่ีจดั เปน็ หมวดหม่ไู ว้แล้ว 4) ถ้าหากเอกสารและงานวิจัยทเ่ี ก่ียวข้องเล่มใด ของใคร หรือเรื่องใด ที่มีข้อความสอดคล้อง ตรงกัน เหมือนกัน ควรใช้วิธีการสังเคราะหข์ อ้ ความและใชก้ ารอ้างองิ ทต่ี ่อเน่อื งกนั ไป 5) งานวจิ ัยทเี่ กีย่ วข้อง ควรนามาเฉพาะประเดน็ ที่สอดคล้องกบั ตัวแปรทใ่ี ช้ในการวิจัยเท่าน้นั ไม่ ควรนาบทคัดย่อทั้งหมดของงานวิจยั ทเ่ี กีย่ วข้องมานาเสนอทัง้ หมด ใหเ้ ลือกพิจารณาเฉพาะทีเ่ กีย่ วข้องกับเรอ่ื ง ที่ทาวจิ ยั ของตนเอง 6) การเขียนแต่ละประเด็น แต่ละตัวแปร ควรให้สอดคล้องสัมพันธ์กันให้มีการใช้คาเช่ือม ข้อความทอ่ี า่ นแลว้ ให้มีความรู้สึกตอ่ เน่อื งสัมพนั ธ์กนั 7) กอ่ นท่จี ะเปลี่ยนประเดน็ ใหม่ หรอื ตวั แปรใหม่ หรอื หวั ข้อใหม่ จะตอ้ ง ใชภ้ าษาของตนเองใน การสรปุ ประเดน็ ทีก่ ลา่ วมาแล้ว ใหผ้ ้ศู กึ ษางานวจิ ยั ได้ทราบความคิดเหน็ ของงานวจิ ัยวา่ เปน็ อย่างไร เห็นด้วย หรอื ไมเ่ ห็นดว้ ยกบั สิง่ ท่นี ามาอ้างอิงเพราะเหตุใด ปรากฏตัวอย่างการเขียนเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง ดังน้ี การเขยี นอา้ งองิ เปน็ การแสดงให้รู้ว่าผู้เขยี นได้นาความรู้ ความคิดหรือข้อมูลมาจากแหล่งใดบ้าง มาเป็นส่วนหน่ึงของงานเขยี นของตน ซ่ึงการนาความรู้มาใชน้ ั้นอาจจะนามาโดยการคดั ลอกข้อความบางส่วน หรอื การนามาเขยี นเรยี บเรยี งใหม่ หรือสรปุ ความ จุดมุ่งหมายของการอ้างอิงเอกสารมี 2 ประการ (ผ่องพรรณ ตรัยมงคลกูล.2543: 59-62) ดังนี้ 1) เป็นการให้เกยี รติผู้เขียนเดิมท่ีเป็นเจ้าของความคิด หรือข้อมูลน้ัน การให้เกียรติ เช่นน้ีถือ เป็นความซอื่ ตรงทางวิชาการ และเปน็ จรรยาบรรณพนื้ ฐานของการเขยี นงานวิชาการ 2) เปน็ การเอื้อประโยชน์แก่ผู้อ่านในการสืบค้นต่อไป ในกรณีท่ีผู้อ่านสนใจข้อมูลรายละเอียด เพ่ิมเตมิ กส็ ามารถคน้ คว้าได้จากงานเขียนตน้ ฉบบั ทีไ่ ดอ้ ้างแหล่งไว้ การอ้างอิงจะปรากฏในงานเขียน 2 แห่ง ซ่ึงสอดคล้องรับกัน คือ การอ้างอิงในเน้ือหา เอกสารอ้างองิ หรอื บรรณานุกรม (bibliography) การอ้างอิงในเนือ้ หาเปน็ การบอกแหล่งทมี่ าแทรกในเนอื้ หาที่เขียนน้ัน โดยไม่แยกต่างหาก จะใช้ วงเลบ็ ( ) กากบั ก่อนหรอื หลังขอ้ ความที่ได้อา้ ง โดยรูปแบบของการอ้างอิงแทรกในเนือ้ หาเป็นดงั นี้ (ชอื่ – สกลุ ,//พ.ศ./:/เลขหน้าทอี่ ้างอิง

ตัวอย่างท่ี 4.5 การอ้างอิงโดยการคัดลอกข้อความจากแหล่งอ้างองิ โดยตรง การวิจัยในชัน้ เรียน หมายถึง วิธกี ารหรอื กระบวนการทไ่ี ดม้ าซ่ึงข้อความรูห้ รอื คาตอบที่มีลักษณะเป็นแบบแผน เทคนิค วิธกี ารหรอื ผลผลิตทใี่ ชใ้ นการแกป้ ัญหาทเ่ี กิดขนึ้ จาก การจดั การเรยี นการสอนในชน้ั เรียน (บุญมี พนั ธ์ไุ ทย, 2543: 10) การอา้ งอิงโดยการเรียบเรยี งใหม่ หรอื สรุปความ เปน็ การเรยี บเรียงหรอื สรุปความ ดว้ ยภาษา ของผู้วิจยั ทาใหง้ านเขยี นกระชบั นา่ อ่าน และเขา้ ส่ปู ระเด็นไดร้ วดเร็ว ตัวอย่างท่ี 4.6 การอา้ งอิงโดยการเขียนเรยี บเรยี งใหม่หรือสรปุ ความ การวิจัยในช้นั เรยี นกอ่ ใหเ้ กิดผลดตี อ่ วงการศกึ ษา และวชิ าชีพครูอยา่ งนอ้ ย 3 ประการ คอื 1) นักเรียนจะมกี ารเรียนรู้ทมี่ ีคุณภาพ และประสิทธภิ าพ 2) วงวชิ าการ การศึกษาจะมีองคค์ วามรู้และ/หรอื นวัตกรรมทางการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ ปน็ จริงมากขน้ึ อันจะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ครแู ละเพ่ือนครู และ 3) วถิ ชี วี ติ ของครู หรอื วฒั นธรรมในการทางาน ของครจู ะพัฒนาสคู่ วามเปน็ ครมู อื อาชพี (Professional Teacher) มากยิ่งขึ้น ทงั้ นี้เพราะครู นกั วจิ ัยจะมีคุณสมบัติของการเปน็ ผ้แู สวงหาความรอู้ ย่างตอ่ เนอื่ ง (สวุ ฒั นา สวุ รรณเขตนิคม, 2540: 29-30) 8. วธิ ีดาเนินการวจิ ัย 8.1 แบบแผนการวิจัย ระบลุ งไปวา่ ใชแ้ บบแผนการวจิ ัยอะไร ได้แก่ การวิจัยเชิงทดลอง การ วจิ ยั เชิงสารวจ การวิจัยรายกรณี เป็นต้น 8.2 กลุ่มตัวอย่าง/กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มตัวอย่างของการวิจัยจะเป็นกลุ่มเป้าหมายที่ครูผู้สอน ตอ้ งการศกึ ษา สาหรับการวจิ ัยในชั้นเรยี นแลว้ สว่ นใหญจ่ ะเปน็ ผเู้ รียนในชนั้ เรียนท่ีครูได้ทาการสอนอยู่แล้ว หรือกล่มุ ผ้เู รียนทเี่ ปน็ เป้าหมายในการแกป้ ัญหาหรือพัฒนาการเรยี นรู้ ตัวอย่างที่ 4.7 กลุ่มตัวอย่าง/กลุ่มเป้าหมาย กลมุ่ เป้าหมาย เปน็ นกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4/1 โรงเรยี น ............................. อาเภอเมือง จังหวัดยะลา ในปกี ารศึกษา 2551 จานวน 15 คน ทอี่ า่ นคาควบกล้าไมถ่ ูกตอ้ ง

8.3 เคร่อื งมอื ที่ใชใ้ นการวิจัย เครื่องมอื ท่ีใชใ้ นการวิจยั หมายถึง สิ่งท่ีใช้ในการเก็บรวบรวม ข้อมลู ที่ผู้วิจยั สนใจศึกษา ซึง่ ไดแ้ ก่ แบบทดสอบ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบสังเกต แบบบันทึก ข้อมลู แบบตรวจสอบ รายการ เปน็ ตน้ ครูผสู้ อนจะตอ้ งระบุลักษณะเคร่ืองมือ วิธีการใช้เคร่ืองมือ ซึ่ง เครื่องมือท่ใี ชน้ ้ัน ครูผู้สอนอาจจะพฒั นาข้นึ เองหรือประยุกตข์ ึ้นจากเคร่ืองมือของผู้อื่น และถ้าให้ถกู ตอ้ งตาม ระเบียบวิธกี ารวิจัย ครูผ้สู อนจะตอ้ งรายงานคุณภาพและการหาคณุ ภาพของเคร่ืองมอื นั้นด้วย 8.4 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ระบุถึงวิธีการท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลว่าจัดเก็บในช่วงเวลาใด ใครเป็นคนเกบ็ เก็บอย่างไร สถานที่เกบ็ ขอ้ มูลเปน็ ทใี่ ด และใช้เวลานานเทา่ ใด 8.5 วธิ ีการวเิ คราะหข์ ้อมูล ระบุวธิ กี ารทีใ่ ชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมูล ถ้าเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพอาจจะ วิเคราะห์โดยการวิเคราะห์เนื้อหา ความถี่ แต่ถ้าเป็นข้อมูลเชิงปริมาณอาจจะวิเคราะห์โดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย หรือการนาเสนอในรูปตาราง กราฟ เป็นตน้ 9. ปฏิทนิ ปฏิบัติงานวจิ ัย ระบุปฏิทินปฏิบัติงานวิจัยตลอดท้ังโครงการจนกระทั่งงานวิจัยเสร็จสมบูรณ์ ปฏิทินปฏิบัติ งานวจิ ยั ควรประกอบด้วยกิจกรรมและขัน้ ตอนตา่ งๆ รวมทัง้ ระยะเวลาท่ใี ช้ในแตล่ ะขัน้ ตอน 10. เอกสารอา้ งองิ หรอื บรรณานกุ รม ระบุถึงแหล่งขอ้ มูล เอกสาร การสัมภาษณ์ รายงานการวจิ ัย หรือบทความต่างๆ ท่ีได้ใช้ศึกษา เพื่อสนับสนนุ การเขยี นโครงรา่ งการวจิ ัย การเขียนเอกสารอา้ งอิง หรือบรรณานุกรมจะยึดรูปแบบการเขียนแบบใดแบบหน่ึงที่ได้รับการ ยอมรบั อยา่ งเปน็ ทางการกไ็ ด้ เชน่ รูปแบบการเขยี นวทิ ยานพิ นธข์ องมหาวทิ ยาลัยตา่ งๆ ในตอนทา้ ยของการเขียนรายงานวจิ ัยในชั้นเรยี น จะมีการรวบรวมแหล่งอ้างองิ ต่างๆ ที่ผู้เขียนได้ อา้ งอิงไว้ในเนือ้ หาภายใตห้ ัวข้อเอกสารอา้ งองิ หรอื บรรณานุกรมอย่างใดอย่างหนง่ึ ท้งั นี้ เพือ่ ช่วยให้ผู้อ่าน ท่สี นใจเนอ้ื หาไดศ้ ึกษาคน้ คว้าเพิม่ เตมิ ตอ่ ไป เอกสารอา้ งองิ เป็นการรวบรวมแหล่งอ้างอิงทกุ รายการทไี่ ดอ้ ้างองิ ไว้จรงิ ในเนื้อหา บรรณานุกรม เป็นการรวมแหล่งอ้างอิงซึง่ ผ้เู ขยี นได้ใชป้ ระโยชน์ ทั้งรายการท่ีได้อ้างอิงไว้และ ไม่ได้อา้ งองิ ไวใ้ นเนื้อหา การเขยี นรายการอา้ งอิงต่างๆ จะมีรูปแบบเฉพาะ ซ่ึงรูปแบบต่างๆ จะมีรายละเอียดต่างกันอยู่ บ้าง แต่มีส่วนประกอบหลกั ของแต่ละรายการเหมอื นๆ กนั ดังน้ี 1) กรณที เ่ี ป็นหนงั สอื ชอ่ื ของผเู้ ขยี น.//(ปีพ.ศ.).//ช่อื งานเขียน.//ครงั้ ท่พี มิ พ์.//เมอื งทพ่ี ิมพ์/:/โรงพมิ พ์ หรอื สานกั พมิ พ์. 2) กรณีทีเ่ ป็นบทความจากวารสาร ชื่อผู้เขียนบทความ.//(ปีพ.ศ.)// *ชอ่ื บทความ* /ชอื่ วารสาร.//ปีท่ี หรือเลม่ ที่ (ฉบบั ท)่ี /:/ หนา้ ทต่ี พี ิมพ์บทความ/:/ วัน เดอื น ปีท่ีพิมพ์บทความ

3) กรณที เี่ ป็นบทความจากหนังสือพมิ พ์ ชื่อผเู้ ขยี นบทความ//(ปีพ.ศ.).//*ชื่อบทความ*/ช่ือหนงั สอื พมิ พ.์ //วนั เดือน ของหนงั สอื พมิ พ์ ฉบบั ที่ตีพมิ พ์-บทความ.//หนา้ ที่ตีพิมพบ์ ทความ 4) กรณที ี่เป็นรายงานการวจิ ัยสว่ นบุคคล ชื่อผู้วิจยั .//(ปี พ.ศ.) .// รายงานการวจิ ยั เรอ่ื ง.....................//เมอื งท่พี ิมพ.์ // โรงพมิ พ์ สานักพิมพ์ หรอื ชอ่ื หนว่ ยงานที่พิมพ์ 5) กรณีที่เป็นวิทยานพิ นธ์ ชื่อผทู้ าวิทยานิพนธ.์ // (ปี พ.ศ.) .// ช่ือวทิ ยานิพนธ์.// ระดบั วทิ ยานิพนธ์ เมอื งทีต่ ง้ั มหาวิทยาลยั . ชอ่ื มหาวทิ ยาลยั . การเรยี งลาดบั เอกสารอา้ งองิ เปน็ ดังนี้ 1) ถ้าผเู้ ขียนเปน็ คนไทยใหใ้ ช้ชอื่ ตน้ ขน้ึ กอ่ น แต่ถ้าผเู้ ขยี นเปน็ ชาวตา่ งประเทศให้ใช้ช่ือสกลุ ขึน้ ก่อน 2) การเรยี งลาดับผู้เขยี นให้นาผเู้ ขียนชาวไทยขนึ้ ก่อนชาวต่างประเทศ 3) เรยี งลาดับผู้เขียนตามตัวอักษร 4) ถา้ รายการเอกสารแต่งโดยผ้เู ขียนคนเดียวกนั มากกวา่ 1 รายการใหเ้ รยี งลาดับตามปที ่เี ขียน ตัวอยา่ งที่ 4.8 การเขยี นเอกสารอ้างอิง ลว้ น สายยศ และองั คณา สายยศ. (2538). เทคนคิ การวิจัยทางการศกึ ษา. พมิ พค์ รงั้ ที่ 5. กรงุ เทพฯ: สวุ รี ยิ าสาส์น. วาโร เพ็งสวสั ดิ.์ (2542). การวจิ ยั ทางการศกึ ษาปฐมวัย. สกลนคร: โปรแกรมวิชาการวัดผล การศกึ ษา คณะครุศาสตร์ สถาบนั ราชภัฏสกลนคร. วารสารวิทยบรกิ าร. 11(2): 30 -38; พฤษภาคม – สิงหาคม. _______ . (2544). รายงานการวิจัยเรอื่ งการสรา้ งชดุ พัฒนาตนเอง เรอ่ื งการวจิ ัยในชัน้ เรยี น. สกลนคร : โปรแกรมวิชาการจดั การวดั ผลการศึกษา คณะครศุ าสตร์ สถาบนั ราช ภฏั สกลนคร. สาลี่ เหมือนมงคลกลุ . (2533). แนวโน้มของการจดั การศกึ ษาระดับปฐมวยั ศกึ ษาของไทย. วิทยานิพนธ์ ค.ม. กรุงเทพฯ : จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั สวุ มิ ล วอ่ งวาณิช. (2544). การวิจยั ปฏิบัติการในช้ันเรยี น. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์ อักษรไทย อทุ ุมพร จามรมาน. (2537). การวจิ ัยของครู. ม.ป.ท. Bell,J. (1993). Doing Your Research Project. Philadelphia, PA: Open University Press. Espich, Jame E and Bill William. (1967). Developing Programmed Instructional Materials. Califamia : fearon Publishers Palo Alto.

 ลกั ษณะของโครงการวจิ ยั ในชนั้ เรียนท่ีดี โครงการวจิ ัยในชั้นเรยี นท่ีดีมลี ักษณะ ดังนี้ 1. มวี ตั ถุประสงค์ของการวจิ ัยชดั เจนแน่นอน 2. มคี วามสอดคลอ้ งกลมกลืน และมคี วามตอ่ เนื่องระหวา่ งรายการ หรอื ขั้นตอนตา่ ง ๆ 3. มีสาระสาคญั ท่ีครบถว้ น ครอบคลมุ และถกู ตอ้ ง 4. มีความเปน็ ไปไดใ้ นทางปฏิบัติ ทงั้ ในดา้ นทรพั ยากรและเทคนิควธิ ี 5. มีความชัดเจน เขา้ ใจตรงกนั และตดิ ตามได้ 6. มีประโยชน์ มคี ุณค่า ตัวอยา่ งจากงานวจิ ยั 8.2 กลมุ่ เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีปัญหาการปรับตัวกับเพ่ือน โรง เรียน ...............อาเภอเมือง จงั หวัดยะลา ปกี ารศกึ ษา 2550 จานวน 3 คน 8.3 เครอื่ งมอื ทีใ่ ช้ในการวิจัย 1) การสังเกตและการบันทึกการสงั เกต เช่น สงั เกตนกั เรยี นทัง้ ทีอ่ ยใู่ นห้องเรียน และ นอกห้องเรยี นจานวน 1 ครง้ั ๆ ละ 30 นาที และจะจดบันทกึ พฤติกรรมพรอ้ มกบั ตีความหมาย พฤติกรรมทุกครง้ั ท่ไี ด้สงั เกตทันที 2) การสมั ภาษณ์ สัมภาษณ์กับบุคคลท่เี กีย่ วข้องกบั กลุ่มตวั อย่าง ซง่ึ ไดแ้ ก่ นักเรียนท่ีเป็น กลุ่มตวั อย่าง อาจารย์ อาจารย์แนะแนว เพ่อื นนักเรียนในหอ้ งเดียวกัน และผ้ปู กครองนักเรยี น 3) การเยย่ี มบา้ น ไปสงั เกตความเป็นอย่ทู างบา้ นและรวบรวมข้อเท็จจรงิ ด้วยตนเอง พร้อม ทั้งสมั ภาษณผ์ ู้ปกครองและบุคคลในบา้ นตามความเหมาะสม 4) การเขยี นอตั ชวี ประวตั ิ ให้นักเรยี นเขียนอตั ชีวประวัตขิ องนักเรียนตามความเป็นจริง เป็น การเขียนแบบไม่กาหนดหวั ข้อ 5) บันทึกประจาวัน ให้นักเรียนเขียนบันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับตนเอง เป็นการเปิดเผย เรอื่ งราวความรู้สกึ สว่ นตัวที่มีต่อเหตุการณ์ และสภาพแวดลอ้ มรอบตวั 6) สงั คมมติ ิ ให้นกั เรียนทาสังคมมติ ิเพอ่ื ใหท้ ราบความสัมพนั ธข์ องนกั เรียนในห้องเดยี วกัน บรรยากาศทางสงั คมและอารมณ์ภายในกล่มุ 7) แบบสอบถาม สอบถามรายละเอียดบางประการที่เป็นประโยชน์ในการวินิจฉัยปัญหา โดยสอบถามข้อมูลส่วนตวั ความรสู้ กึ ตา่ งๆ และความรูส้ ึกนกึ คิดท่มี ีต่อตนเอง 8) แบบทดสอบ ซึง่ ได้แก่ แบบทดสอบเชาวป์ ัญญา แบบทดสอบบุคลิกภาพ 8.4 การเก็บรวบรวมขอ้ มลู สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเองโดยละเอียดทุกขั้นตอน โดยใช้เคร่ืองมือต่างๆ ดัง รายละเอยี ดท่ีกล่าวไว้ในหวั ขอ้ 8.3 เครอ่ื งมือท่ีใชใ้ นการวจิ ัย

8.5 วิธีการวิเคราะห์ขอ้ มูล นาขอ้ มูลทเ่ี กบ็ รวบรวมได้มาวเิ คราะหเ์ ชงิ เนื้อหาเพอ่ื สรปุ หาขอ้ เท็จจริง โดยสรปุ เป็นภาพรวมทัง้ 3 เคน คอื ลักษณะของปญั หา ประวัติดา้ นต่างๆ โดยยอ่ การวนิ จิ ฉยั การช่วยเหลอื การปอ้ งกนั การสง่ เสริมและการตดิ ตามผล 9. ปฏทิ ินปฏบิ ตั งิ านวิจัย สัปดาห์ทีป่ ฏบิ ัตงิ านระหวา่ งเดอื น ม.ิ ย. – ส.ค. 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ขั้นตอนการปฏบิ ตั งิ าน 1. กาหนดปัญหาและกลมุ่ เปา้ หมาย 2. ศึกษาเอกสารทีเ่ กย่ี วขอ้ ง 3. เขยี นโครงการวจิ ัย 4. สร้างเคร่อื งมือเกบ็ รวบรวมข้อมลู 5. เกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 6. วิเคราะห์ขอ้ มลู 7. สรปุ ผลและเขยี นรายงานการวจิ ัย 8. จัดพมิ พแ์ ละเข้ารูปเลม่ 9. เผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั 10. เอกสารอ้างองิ หรอื บรรณานกุ รม กมลรัตน์ หล้าสุวงษ.์ (2527). การศกึ ษาบคุ คลเปน็ รายกรณ.ี กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. กนั ยา สุวรรณแสง. (2533). การพฒั นาบคุ ลิกภาพและการปรับตัว. กรงุ เทพฯ: ภาควชิ าการศึกษา คณะ ศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร.์ นภิ า นิธยายน. (2530). การปรบั ตัวและบคุ ลกิ ภาพ. กรงุ เทพฯ: โอ.เอส.พริ้นตงิ้ เฮา้ . ......(ลงเอกสารทุกเรอื่ งที่ผวู้ ิจยั ได้ใช้เป็นแหล่งข้อมูลในการทาวจิ ยั เรือ่ งน้)ี ........


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook