Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานภูมิทัศน์

งานภูมิทัศน์

Description: งานภูมิทัศน์

Search

Read the Text Version

การสารวจภูมิทศั น์ 3508-1001 เจษฎากรณ์ ธิมายอม วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบุรี

งานภมู ทิ ัศน์ ในเชงิ ของการพฒั นาโครงการ \"งานภูมทิ ัศน์\" หมายถงึ พ้ืนท่ีภายนอกอาคารท่ีมกี ารปรับแต่งพนื้ ท่ีใหม้ ี ประโยชนใ์ ชส้ อยท่มี ีประสทิ ธภิ าพ มีความร่มรน่ื สวยงามและมีเอกลกั ษณ์ รวมทั้งการมีองคป์ ระกอบพ้นื ฐาน เชน่ ระบบการใหแ้ สงสว่าง ระบบใหน้ า้ ต้นไม้ ระบบระบายน้าและระบบป้องกันน้าท่วม ระบบอ้านวยความ สะดวก เชน่ ม้านงั่ ถงั ขยะ ปา้ ย ตลอดจนสิ่งประเทืองใจ เช่น น้าพุ นา้ ตก หรอื ประติมากรรม งานภมู ทิ ัศน์มีท้ังขนาดเล็กท่ีไมซ่ ับซ้อนที่เรยี กว่าสวนประดับ หรอื สวนหย่อม ไปจนถงึ งานซบั ซ้อนและ มีขนาดใหญ่ เช่น สวนสาธารณะขนาดใหญ่ในเมอื ง งานภมู ิทศั นโ์ รงแรมพักผ่อนหรขู นาดใหญ่ งานผงั บริเวณ โครงการขนาดใหญ่ งานลานเมืองและสถานท่ีสา้ คัญอ่นื ๆ ในเชิงการออกแบบและก่อสรา้ ง “งานภูมทิ ัศน์” หมายถึงชดุ งานที่แยกออกจากงานอาคารและงาน ภายในเพ่ือความสะดวกในการประมลู และก่อสร้างเนอื่ งจากผู้รบั เหมาก่อสรา้ งภมู ิทัศนม์ ีความช้านาญและมี ลกั ษณะการทา้ งานที่แตกต่างจากผ้รู บั เหมางานอาคารและงานภายใน ปกติงานภมู ิทัศน์จะแยกแบบออกเปน็ สองชดุ แต่สัมพันธ์กนั ได้แกง่ าน ภูมิทัศน์ดาดแขง็ (Hardscape) ได้แก่ส่วนของงานทเี่ ปน็ องค์ประกอบแข็ง เชน่ ผวิ พืน้ โครงสร้างและงานระบบต่างๆ และ \"ภมู ทิ ัศน์ดาดอ่อน\" ได้แกส่ ว่ นของงานทีเ่ ป็นงานดิน งานปลูก

วิธีการศึกษา 3.1 การเกบ็ รวบรวมและวเิ คราะหข์ อ้ มลู เบ้อื งตน้ การเก็บรวบรวมข้อมลู ต่างๆ ภายในพ้ืนท่โี ครงการเป็นสง่ิ จา้ เป็นอย่างยิง่ ทจ่ี ะตอ้ งทราบถงึ ขอ้ มลู เบื้องตน้ เพ่อื น้ามาใช้ ในการวเิ คราะห์ ประเมนิ ผล เปรยี บเทียบถึงขอ้ ดีและขอ้ เสยี ของศกั ยภาพทางด้านตา่ งๆ เชน่ ขอ้ มูลทางดา้ นธรรมชาติ ข้อมูลท่ไี ดจ้ ากการกระทา้ ของมนษุ ย์ เป็นตน้ ซ่ึงข้อมลู เหล่านส้ี ามารถนา้ มาชว่ ยในการแก้ปญั หาการดแู ลรกั ษาภมู ิทัศน์ ในพื้นทีโ่ ครงการ และเป็นแนวทางในการแก้ไขท่ถี ูกต้องและเหมาะสมต่อพ้ืนท่โี ครงการ ทั้งยังเปน็ การวางแผนการดแู ลรักษ าภมู ทิ ัศนใ์ นอนาคต เพื่อที่จะไดง้ านดูแลภมู ทิ ัศนท์ ่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ และประหยดั งบประมาณในการดแู ลรกั ษางานภมู ิทศั น์ โดยข้อมลู ต่างๆทีจ่ ะตอ้ งทราบมดี งั นี้ 3.1.1 ขอ้ มลู และการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ปัจจยั ทางธรรมชาติ 3.1.1.1 ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภมู ปิ ระเทศโดยทั่วไปของพื้นท่ีโครงการนัน้ จะเห็นไดว้ ่าพืน้ ท่โี ครงการในปจั จบุ นั มีการตดั และถมหนา้ ดิน ขน้ึ มาใหมเ่ พอื่ ให้สอดคล้องกบั งานออกแบบงานกอ่ สร้างภูมทิ ศั น์ 3.1.1.2 รปู ทรงสนั ฐาน ลกั ษณะรปู ทรงสันฐานโดยทั่วไปของพื้นทีไ่ ดร้ บั บรจิ าคจากกองทัพทหาร มรี ปู ร่างเป็นสเี่ หลยี่ มคางหมู ไม่มพี นื้ ที่เว้าแหว่งแตโ่ ดยทั่วไปแลว้ พน้ื ทีโ่ ครงการมกี ารจัดสรรการใชท้ ่ีดินเป็นอยา่ งดี ท้าใหพ้ ื้นทโ่ี ครงการไมม่ ปี ญั หาดา้ น สาธารณปู โภค และสาธารณูปการ และอันเน่อื งมาจากงานออกแบบภมู ทิ ศั นด์ ว้ ยมาเสริมให้พ้ืนท่คี รบองค์ประกอบและ สวยงาม 3.1.1.3 ความลาดชนั ลักษณะความลาดชันโดยท่ัวไปของพื้นท่ีโครงการนั้น แตเ่ ดมิ มีวชั พืชข้นึ ปกคลมุ ไปหมดและเมื่อมีการก่อสรา้ ง โครงการข้ึนมาและจะขาดไมไ่ ด้ทจ่ี ะตอ้ งมีหน่วยในแขนงต่างๆเข้ามาท จี่ ะดา้ เนินการกอ่ สรา้ ง อาทิเชน่ งานทางด้านสถาปัตยกรรม และทข่ี าดไมไ่ ดง้ านก้อสรา้ งภูมทิ ศั นเ์ ขา้ มาวางผงั ในการใช้ทีด่ นิ ดังกลา่ วของพน้ื ท่โี ครงการ ดังนั้นพ้ืนท่โี ครงการในปัจจบุ ันจึงมีลกั ษณะความลาดชันอันเนอ่ื งมาจากงานก่อสร้างภมู ทิ ัศนใ์ นโครงการท่ีมกี าร ขุดตดั ดินและถมตามทตี่ า่ งๆ ของโครงการท้าใหม้ ีแหลง่ น้าเกิดขึน้ ในพ้ืนทโี่ ครงการใช้ประโยชนด์ า้ นอน่ื ๆต่อไป 3.1.1.4 การระบายน้า การระบายน้าภายในพืน้ ท่โี ครงการส่วนใหญจ่ ะไมค่ อ่ ยมปี ัญหาในเรื่องการระบายนา้ การระบายนา้ ในโครงการ จะถกู ระบายออกดา้ นหนา้ ของโครงการ โดยทีน่ ้าบางสว่ นกจ็ ะระบายลงสแู่ หลง่ นา้ และซมึ สดู่ ิน 3.1.1.5 แหลง่ น้าในพื้นทโี่ ครงการ แหลง่ นา้ ในพืน้ ที่โครงการน้ันท่ีพบจะมรี ปู แบบ 2 แบบ ทน่ี ้ามาใชใ้ นโครงการท้งั ดา้ นสาธารณูปโภคและ สาธารณูปการคอื 1. แหลง่ น้าทีไ่ ด้มาจากงานก่อสรา้ งภมู ิทัศน์ในลา้ ดับแรกของโครงการ คือการขดุ ตัดเพอื่ ทจี่ ะนา้ ดนิ มาถมพนื้ ที่ อ่ืนๆ ของโครงการและการใชน้ า้ ไม่เสียคา่ ใชจ้ ่ายอีกด้วย 2. แหลง่ นา้ ทไ่ี ดม้ าจากการประปาสว่ นภูมภิ าคที่นา้ มาใช้ในโครงการไม่วา่ จะกรณใี ดๆกอ้ ตาม และจะมกี ารเสยี คา่ ใช้จา่ ยตามปริมาณใช้นา้ ดังกล่าวของโครงการ

3.1.1.6 ดิน ดนิ ในพน้ื ท่ีโครงการแบง่ ออกเปน็ 3 ชัน้ คือ ช้นั ดินเดมิ ชัน้ ดินถมคร้งั ที่ 1 และช้นั ดนิ ถมครั้งท่ี 2 ทม่ี เี ป็นหน้า ดินด้ามอี นิ ทรยี วตั ถุเปน็ จา้ นวนมากน้ามาใชใ้ นการปรบั ปรงุ พื้นที่เพ่อื ท้าการก่อสร้างภมู ทิ ัศน์ ส้าหรับชนั้ ดนิ เดิม จะอย่ลู กึ กวา่ ชนั้ ดนิ ใหมป่ ระมาณ 1.00-1.50 เมตร ชนั้ ดินเดมิ จะมลี กั ษณะเปน็ ดนิ เหนียว และดนิ ถมครง้ั ท่ี 1 จะมีลกั ษณะ เปน็ ดนิ ลกุ รังและดนิ ภเู ขา จะอยลู่ กึ กว่าชน้ั หนา้ ดนิ ประมาณ 0.50-1.00 และชัน้ บนสุดเปน็ ชนั้ หน้าดนิ ทมี่ ธี าตุอาหารสูงสดุ เหมาะแกง่ านก่อสรา้ งภมู ิทศั นเ์ ป็นอย่างมาก 3.1.1.7 พืชพรรณ พรรณไมท้ ่ีมีอยใู่ นปจั จุบัน เปน็ พรรณไม้ที่จดั ปลูกขนึ้ ใหม่จากการออกแบบก่อสร้างภมู ิทัศนไ์ ม่ว่าจะเปน็ ไม้ยนื ตน้ ไม้พุ่ม ไมค้ ลมุ ดนิ ตา่ งๆ ลว้ นแล้วเกิดจากการปลกู ขนึ้ มาใหม่ ซ่งึ สามารถจ้าแนกชนดิ พืชพรรณได้เป็น 4 ชนดิ ดงั นี้ 1. ไมย้ นื ตน้ เป็นไมท่ น่ี า้ มาปลกู หลังจากทา้ การก่อสรา้ งอาคารสา้ นักงานเสร็จสิน้ โดยรวมระยะเวลาของวงปี ประมาณ 5-10 ปี ส่วนใหญ่เปน็ ไมป้ ระเภทปาลม์ และไมย้ ืนต้นทหี่ าไดต้ ามท้องถ่นิ 2. ไมพ้ มุ่ ส่วนใหญแ่ ล้วไมพ้ ่มุ จะนา้ มาปลกู เกาะกลมุ่ กันเพ่อื จัดเป็นสวนหย่อมใช้พรรณไม้ทต่ี ่างกันท้ังในเร่ือง ใบ ต้น สี ทั้งนจ้ี ะตอ้ งค้านงึ ถึงหลักของศลิ ปะอกี ดว้ ย 3. ไมค้ ลุมดนิ ปลกู ไวส้ ้าหรับตกแตง่ บริเวณหรือจดั สวนหย่อม น้ามาประกอบกับไมพ้ มุ่ เพอ่ื ให้แตกตา่ งกันใน ระดับของหลกั การจดั สวนจะตอ้ งคา้ นึงถงึ หลกั ศลิ ปะอกี ดว้ ยเพอ่ื ใหเ้ กิดความ สวยงามและสมดลุ 4. หญ้าสนาม จะมีสองประเภทแลว้ แต่วตั ถุประสงคใ์ นการใช้งานได้แก่ - หญา้ มาเลเซยี เปน็ หญา้ ท่ีเจริญเตบิ โตได้ดีในทรี่ ม่ กใ็ ช้ปลูกบริเวณทมี่ รี ่มรา้ ไร ที่แสงแดดส่องไม่ถึง - หญ้านวลน้อย เป็นหญา้ ทเี่ จริญเตมิ โตได้ดใี นทก่ี ลางแจง้ ในพ้นื ที่โครงการ 3.1.1.8 ส่งิ มีชวี ิต พบส่ิงมีชีวติ ประเภท นก และปลา ภายในพืน้ ที่โครงการนัน้ ท้าให้เกิดทศั นียภาพทส่ี วยงาม มีชวี ิตชีวาเพมิ่ ข้ึน อกี ท้งั ยงั สร้างกจิ กรรมแกผ่ มู้ าใช้พนื้ ท่ี คือการใหอ้ าหารปลา และสรา้ งความเพลิดเพลินแกผ่ ู้ใช้บริการ 3.1.1.9 ทัศนยี ภาพ ทศั นยี ภาพพ้นื ทีโ่ ครงการจากการสา้ รวจโดยรวม แบง่ ออกเปน็ 2 ลกั ษณะ คอื 1. ทัศนียภาพโดยรอบของพืน้ ที่โครงการ - มมุ มองทางดา้ นเหนอื ตดิ กบั สนามกีฬาทหารมณฑล ทหารบกท่ี 33 สามารถมองจากด้านนอกได้ เนอ่ื งจากด้านขา้ งโครงการเป็นถนนเข้าสสู่ นามกีฬาและมรี วั่ ในระดบั ต้่าตลอดแนว - มุมมองทางด้านทิศใต้ตดิ กบั ทหารมหาดเลก็ รักษาพระองค์ ตลอดท้งั แนวเป็นไปดว้ ยตน้ ไม้ใหญร่ ก ทบึ เปน็ มมุ มองที่ปิดทง้ั หมด - มุมมองทางด้านทศิ ตะวันออก ตดิ กับถนนเชยี งใหม่ – แม่ริม เป็นมมุ มองท่สี ามารถเห็น สวนสาธารณะ ลานนา ร. 9 ได้อย่างชัดเจน เนอื่ งจากมมุ มองที่เปดิ ด้านหน้าของสวนสาธารณะ - มุมมองทางด้านทศิ ตะวนั ตก ติดกับอ่างเก็บน้าหนองฮ่อ สามารถมองจากภายนอกไดอ้ ยา่ งชัดเจน 2. ทศั นียภาพโดยท่วั ไปภายในพ้ืนทโี่ ครงการ - มมุ มองภายในพนื้ ท่โี ครงการทางทศิ เหนอื เป็นมมุ มองเปดิ โลง่ สามารถมองเหน็ พื้นทข่ี ้างเคยี ง เนือ่ งจากรว่ั ของโครงการมรี ะดับตา้่

- มมุ มองภายในพื้นทีโ่ ครงการทางทิศใต้ เป็นมุมมองปดิ มีต้นไม้ใหญ่รกทึบ - มมุ มองภายในพืน้ ที่โครงการทางทิศตะวนั ออก เป็นมมุ มองเปดิ โล่งเนอื่ งจากเปน็ พน้ื ที่ดา้ นหน้า โครงการ - มมุ มองภายในพื้นที่โครงการทางทศิ ตะวนั ตก เปน็ มมุ มองที่ไมส่ วยงามเนอื่ งจากเปน็ พ้ืนทด่ี ้านหลัง โครงการและดา้ นนอกโครงการมรี า้ นคา้ ขายอาหาร มีอ่างเกบ็ นา้ มุมมองโดยรวมเน่ืองจากเป็นพืน้ ท่สี วนสาธารณะในพ้นื ท่ี จงึ มตี น้ ไม้ใหญม่ ากมาย มีบรรยากาศร่มร่ืน และมสี ระน้า ท้าให้เกดิ ความสวยงาม ภมู ทิ ัศน์ ภูมทิ ัศน์ โดยทัว่ ไปค้าวา่ \"ภูมิทัศน์\" หมายถึง ภาพรวมของพ้นื ท่ีใดพ้ืนท่หี นึง่ ทีม่ นุษย์ รับรู้ทางสายตาใน ระยะหา่ ง อาจเป็นพนื้ ท่ีธรรมชาตทิ ปี่ ระกอบดว้ ยรูปทรงของแผน่ ดนิ นา้ ต้นไม้ สัตว์และสรรพสิง่ มนุษยส์ รา้ งใน สภาพอากาศหน่งึ และชว่ งเวลาหน่งึ ที่เรยี กวา่ ภูมทิ ัศน์ธรรมชาติ หรือภาพรวมของเมอื งหรือสว่ นของเมอื ง เรยี กวา่ ภูมิทศั น์เมืองนอกจากนีย้ งั มกี ารใชค้ ้า “ภมู ิทัศน์” กับพ้ืนท่ที ี่มลี ักษณะเฉพาะเด่นชัด เช่น ภูมทิ ัศน์ ทะเล ภมู ิทศั น์ภเู ขา ภูมทิ ศั น์ทะเลทรายหรือ ภูมิทัศน์พระจันทร์ ซึง่ หมายถงึ ภาพรวมของพื้นทบ่ี นผวิ ดวงจนั ทร์ ท่มี นุษย์อวกาศไปเยือน ภมู ทิ ศั น์ ตรงกบั คา้ ภาษาอังกฤษว่า Landscape มีผ้บู ัญญัตคิ ้านใ้ี ชแ้ ทนการทับศัพท์ภาษาอังกฤษเปน็ ครัง้ แรกเมอ่ื พ.ศ. 2520 ในรายงานทางเทคนิคด้านภมู ิสถาปัตยกรรม โครงการอุทยานประวตั ศิ าสตรส์ โุ ขทยั คาวา่ ภูมทิ ศั นย์ งั หมายรวมถึง • จติ รกรรมภมู ทิ ศั น์ (Landscape art) ได้แกง่ านจิตรกรรมภาพววิ ทิวทัศน์ หรอื สื่ออน่ื ท่ีแสดงภมู ิทศั น์ • ภาพถา่ ยภมู ิทัศน์ (Nature photography) ได้แก่งานการถ่ายภาพภาพวิวทิวทศั น์ • ภมู ทิ ศั น์สถาปัตยกรรม หรือภมู สิ ถาปตั ยกรรม (Landscape architecture) ไดแ้ กศ่ ลิ ปะและ วิทยาศาสตร์วา่ ดว้ ยการวางแผน การออกแบบ และการจัดการงานภูมิทัศน์สาธารณะ งานภูมทิ ัศน์และ สวนส่วนบคุ คลซ่งึ สามารถแบ่งเป็นสาขาย่อยได้ดงั นี้

o การออกแบบภูมิทศั น์ (Landscape design) ได้แกก่ ารออกแบบท่วี า่ งทง้ั ในเมืองและชนบท o ภมู ทิ ศั นว์ ศิ วกรรม (Landscape engineering) ได้แก่งานด้านเทคนิคในงานภมู ิสถาปัตยกรรม o การวางแผนภูมิทัศน์ (Landscape planning) ไดแ้ ก่การวางแผนพ้ืนท่ีขนาดใหญ่ และ/หรอื งานพัฒนาโครงการภมู ทิ ัศนร์ ะยะยาว o การจดั การงานภมู ิทศั น์ (Landscape management) ได้แกก่ ารดูแลและจดั การภูมิทัศน์ มนษุ ยส์ รา้ งและภูมิทัศนธ์ รรมชาติ o งานภูมิทศั นส์ วน (Landscape gardening) ได้แก่งานออกแบบสวนในคฤหาสก์ขนาดใหญ่ ซึง่ นิยมท้าและมคี วามสา้ คัญในคริสต์ศตวรรษที่ 18-19 ในยโุ รป โดยเฉพาะประเทศอังกฤษ นบั เป็นตน้ ตอของภมู สิ ถาปัตยกรรม • ภมู ิทศั นช์ ุมชน (Urban landscape) ไดแ้ ก่การออกแบบหรอื ปรบั ปรงุ คุณภาพทางทัศนียภาพใน สภาพแวดลอ้ มทเี่ ปน็ ส่วนของเมือง โดยเฉพาะที่เปน็ ชมุ ชนให้มคี วามรม่ รื่น สวยงาม มเี อกลกั ษณ์และร่ม รืน่ • ภมู ิทศั นน์ ิเวศวิทยา (Landscape ecology) ไดแ้ กส่ าขาย่อยในวชิ านเิ วศวทิ ยาท่ีว่าดว้ ยการศกึ ษา สาเหตุ ผลกระทบและกระบวนการของรปู ลักษณ์ภมู ิทัศน์ของพนื้ ทีท่ ถ่ี ูกเปล่ยี นแปลง • ภมู ิทศั นว์ ัฒนธรรม (Cultural landscapes) ไดแ้ ก่ “การรวมเขา้ ดว้ ยกันในงานของธรรมชาตแิ ละงาน ของมนษุ ย”์ เป็นการแสดงใหเ้ ห็นภาพของวิวัฒนาการของสังคมมนุษยแ์ ละการตัง้ ถ่ินฐานตามกาลเวลา ทลี่ ว่ งเลยมา ซ่ึงไดร้ ับอทิ ธิพลจากข้อจา้ กัดทางกายภาพและ/หรือโอกาสในสงิ่ แวดล้อมธรรมชาตแิ ละ จากการสืบทอดทางสงั คม เศรษฐกจิ และพลังอิทธพิ ลทางวัฒนธรรมทงั้ ทเ่ี กดภายในและที่ไดร้ บั จาก ภายนอก

TURN-KEY SERVICES ออกแบบ / กอ่ สรา้ งปรบั ปรุงภมู ิทศั น์ ครบวงจร 1. ขั้นตอนการสารวจ a. สา้ รวจบรเิ วณพน้ื ที่, สภาพแวดล้อมโดยรวม, ทิศทางของแสงแดดและลม, ระดบั พ้นื ที่, สง่ิ ปลูกสร้างเดิมหรือพันธไ์ุ มเ้ ดมิ b. สา้ รวจความตอ้ งการของลูกคา้ ด้านรสนิยมหรอื สไตลท์ ่ีชน่ื ชอบ ดา้ นประโยชนใ์ ชส้ อย และเรอื่ งงบประมาณที่ทางลกู ค้า กา้ หนด ท้งั นี้ ทางผอู้ อกแบบจะใหค้ ้าแนะนา้ และแลกเปล่ยี นความคิดเห็นกับลูกค้าโดยตรง 2. ขัน้ ตอนการออกแบบ a. น้าเสนอแบบร่างขนั้ ต้นหรือแบบแสดงแนวความคิด (Conceptual design) b. น้าเสนอแบบผงั บริเวณ (Master plan) c. (ถ้าม)ี แบบงานระบบตา่ งๆท่ีเกย่ี วข้องเท่าทจ่ี า้ เป็น d. เสนอราคางานปรับปรงุ ภูมทิ ศั น์ (Quotation) 3. ขัน้ ตอนงานกอ่ สร้าง / ปรบั ปรุงภูมทิ ัศน์ a. ปรบั ระดับ/สภาพพื้นที่เดิม ปรบั ระดับผงั บริเวณเพ่ือเตรยี มพ้นื ท่ี วาง/ปแู ผ่นป้องกันความเสียหายที่จะเกิดขึน้ กบั พ้นื ทีเ่ ดมิ b. (ถ้ามี)ก่อสรา้ งส่วนงาน Hardscape ข้ึนฐานราก/โครงสร้างต่างๆทเี่ ก่ยี วข้องกบั งานภมู ทิ ศั น์ เช่น งานพนื้ งานบอ่ งานโครงสรา้ งนา้ ตก งานโครงเหลก็ ส้าหรับไมร้ ะแนงหรือส้าหรบั สวนแนวต้ัง และอน่ื ๆ c. (ถา้ มี)เริม่ วางงานระบบสาธารณปู โภคของงานทเ่ี กี่ยวข้องกับงานภูมทิ ัศน์ เชน่ งานวางระบบสง่ น้าและระบายน้า, งานระบบรดน้าอตั โนมัต,ิ งานวางระบบเดนิ สายไฟและร้อยทอ่ ไฟ d. งานปลกู Softscape planting เชน่ งานลงไม้ใหญ,่ ไม้ยืนต้น, ไมร้ ิมร้วั , ไมพ้ ุม่ , ไม้เลื้อย, ไม้คลมุ ดนิ , หญ้า ตามล้าดบั e. เกบ็ วัสดอุ ปุ กรณแ์ ละทา้ ความความสะอาดพื้นทีเ่ พอื่ สง่ มอบงาน f. แนะนา้ วธิ ีใช้งานตา่ งๆทเ่ี กย่ี วขอ้ งและวธิ ีดแู ลบา้ รุงรักษาต้นไม้

งานคานวณระดับ การระดับเปน็ การหาความสัมพนั ธข์ องความสูงสดุ ของจดุ ต่างๆ หรือวตั ถใุ ดบนพื้นโลก ซ่งึ การรหาคา่ ระดับ นั้นอยูใ่ นแนว Vertrial Plane เพ่ือเปรยี บเทยี บความต่างๆว่ามีมากน้อยเพยี งใด เชน่ การหาคา่ ระดบั ความสงู ของจดุ 2 จุด บนภมู ิ ประเทศ ซง่ึ จดุ หนึ่งเราทราบค่าระดบั ความสงู จากระดบั มาตรฐานแลว้ เราก็สามารถหาคา่ ระดบั ความสูงอีกจุดหนงึ่ ได้ การอา่ นคา่ เมื่อ cross hair ทับอยูบ่ นไมส้ ตาฟ การอา่ นคา่ ท่ีไม้สตาฟเราต้องใช้ความละเอยี ดมาก เพราะไมส้ ตาฟไม่ไดแ้ บ่งรายละเอียดไว้ ชดั เจน โดยเฉพาะคา่ “ มลิ ลเิ มตร “ เราจงึ ตอ้ งนับเองโดยประมาณ โดยแบง่ ความยาวทีไ่ ม้สตาฟ ในช่วง 1 ซ.ม. ออกเปน็ 10 ชอ่ ง แลว้ อ่านคา่ ท่สี ายใยดิง่ ทบั กับสายใยราบเส้น กลาง (Middle Hair Line ) ตัดกันจจะเปน็ คา่ ล้าดับทต่ี ้องการ เน่ืองจากกลอ้ งระดับมีทั้งชนิดหัวตรงและหวั กลับ ดงั น้นั จึงขอแนะนา้ การ อา่ นค่าที่ถกู ต้อง คือ ใหอ้ ่านจากค่าน้อยไปหาคา่ มากเสมอ ไมว่ า่ จะเป็นกล้องชนดิ ใดก็ตาม

ตัวอย่างการอ่านค่าไมว้ ัดระดับ สายใยกลางเทา่ กับ 1.188 เมตร สายใยบนเทา่ กับ 1.228 เมตร สายใยล่างเท่ากบั 1.148 เมตร สมมตุ ิวา่ เราไม่สามารถอ่านค่าสายใยบนได้ วธิ หี าการหาค่าสายใยบนคือการนา้ ค่าสายใยกลางลบสายใยล่าง แล้วบวกดว้ ยตัวสายใยกลางจะได้ค่าเปน็ สายใยบน ตัวอย่าง 1.188-1.148=0.040+1.188=1.228 ok สายใยบนจะเท่ากับ 1.228 สมมุติวา่ เราไมส่ ามารถอา่ นค่าสายใยล่างได้ วิธหี าการหาค่าสายใยลา่ งคือการน้าคา่ สายใยบนลบสายใยกลาง

แลว้ ลบดว้ ยตัวสายใยกลางจะไดค้ า่ เป็นสายใยล่าง ตัวอยา่ ง 1.228-1.188=0.040 นา 1.188-0.040=1.148 ok สายใยลา่ งจะเท่ากับ 1.148 หมายเหตุ:ในงานปฏิบตั ภิ าคสนามจรงิ อาจมีพวกตน้ ไมใ้ บไม้ บงั แนวกล้องท้าให้ไม่ สามารถอา่ นค่าสายใยบนไดแ้ ละในพนื้ ทท่ี ม่ี ีหญา้ รกก็ ท้าให้ไม่สามารถอา่ นค่าสายใยล่างไดเ้ ชน่ กนั วธิ กี ารค้านวณหาคา่ สายใยท่ไี ม่สามารถอา่ น ได้จึงส้าคัญเช่นกนั ในการปฏบิ ัตงิ านจริง

รปู ภาพไม้ระดับทีน่ ยิ มใชใ้ นปจั จบุ นั และการอา่ นค่าไม้ ระดบั ส่ิงทค่ี วรรูเ้ กีย่ วกับงานระดับ

B.M. หมาย ถึงหมดุ หลกั ฐานถาวรท่มี คี า่ ระดบั คงท่ี โดยนับเนือ่ งจากระดบั นา้ ทะเลปลานกลาง TP.หมายถึงจุดตงั้ ไมส้ ตาป์เพ่ือเปลีย่ นจดุ ตง้ั กล้องส้าหรบั การถ่ายระดับต่อเนื่อง B.S หรือเรียกอีกอย่างว่าไม้หลัง เป็นคา่ ท่ีอ่านได้คร้งั แรกหลังจากการต้งั กล้องไมร่ ว่ มกบั ค่าBM F.S หรือเรยี กอกี อย่างวา่ คา่ ไม้หน้า เปน็ ค่าท่ีอา่ นได้เปน็ ครั้งสุดทา้ ยก่อนย้ายกล้อง IFS. เปน็ คา่ ระดบั ท่ีได้จากการส่อง BSแลว้ หรือเรีอกอีกอย่างหนง่ึ ว่าไม้กลาง HI หมายถึง ค่าระดับแนวแกนกลอ้ งท่ไี ดร้ ะดับแล้วซึ่งเปน็ ความสูงต่อเน่ืองจากระดับน้าทะเลปลานกลาง Elev หมายถงึ คา่ ความสูงต่้าต่อเน่ืองท่มี าจากค่าการคา้ นวณ ตัวอย่าง

จากรปู ถา้ เราต้องการทราบคา่ ระดับความต่างระหว่าง A และ B จากระดับน้าทะเลปานกลาง M,S,L เทา่ หับ 10,000 M เราอา่ นคา่ ทหี่ มดุ A ได้เทา่ กับ 2,500 อ่านค่าหมุด B ได้เรยี กวา่ FS เท่ากับ 1,200 ความสงู ต่าง A and B = B S - FS = 2.500-1.200 =+1.300 ถ้าตอ้ งการทราบ MSL

HI = คา่ ระดับท่ี A+BS = 10.000+2.500 = 12.500 m ค่าระดบั ของหมุด B = HI-FS = 12.500-1.200 = 11.300 m การทาระดบั ต่อเน่ือง การทา้ ระดับต่อเนอ่ื ง คือ การหาความสูงระหวา่ งหมุด 2 หมุด บนพนื้ ดินอยหู่ า่ งไกลกนั หรอื การคร่ ะดบั ของหมดุ ต่างๆต่อเนื่องกันเป็นระดับทางยาว โดยปกตกิ ารก้าหนดจุดตง้ั กล้องและจุดต้ังไม้ สตาฟจะกะระยะให้มองเห็นไดช้ ดั เจน ทั้งไมห้ น้าและไมห้ ลังนยิ มใช้ประมาณ 20-50 เมตร ในการตัง้ กล้อง วัดระดับแต่ละครั้ง สิง่ ท่ีถือว่าเปน็ ขอ้ สา้ คญั ที่สุด สา้ หรบั งานระดับ คือ รกั ษาระยะทางของ BS กบั FS ใหเ้ ท่ากบั หรือใกลเ้ คียงกนั เพื่อลดความคลาดเคลอ่ื นของแนว เล็งไมไ่ ด้ระดับกบั ความโค้งของโลก รปู ตัวอยา่ ง การทา้ ระดบั ต่อเนื่องจากหมดุ A ไปยงั หมดุ B สมมติให้หมุด A มี คา่ 10,000m จากระดบั MSL

การคา้ นวณคา่ ระดับ ค้านวณโดยอาศัยระดับแกนกล้อง HI เป็นหลักโดยการใชส้ ตู ร คือ 1) H.I = Elev ณ.หมดุ BM + ค่า BS 2) Elev ณ.หมดุ ท่ตี ้องการ = HI – FS การตรวจสอบการค้านวณ ทกุ ครงั้ ทีท้าระดับ เราต้องตรวจสอบคา่ ระดับในสมดุ สนาม แตล่ ะ Party วา่ ถูกต้องหรือไม่ ใช้ สตู ร ∑BS - ∑FS = Last Elev - First Elev ผลรวมค่าไมห้ ลัง – ผลรวมคา่ ไม้หนา้ = ความสูงจรงิ หมดุ สดุ ท้าย - ความสูงจรงิ ของหมดุ แรก ตัวอยา่ งการบันทึกสมุดสนาม (การคา้ นวณค่า HI) STA B.S HI FS Elev 40 m remark A 1.500 101.500 100.000 50 m A อยบู่ นทางเท้า สะพาน TP1 2.000 102.400 1.100 100.400 60 m TP2 1.800 103.200 1.000 101.400 ทางทศิ ใต้ B 2.500 100.700 B อย่ทู างสะพานทศิ เหนือ TOTAL ∑5.300 ∑4.600 คนกล้อง คนจด วัดระยะ Check ∑ BS - ∑ FS = 5.300 – 4.600 = +0.700 Lotst Elev - First Elev = 100.700 -100.000 = + 0.700 OK ถูกตอ้ ง

นค้ี อื การตรวจสอบความถูกตอ้ งของงาน การคานวณหาค่าระดับ Elev + BS จะได้ HI HI – FS จะได้ Elev ตัวอย่าง 100.000 + 1.500 = 101.500 101.500 – 1.100 = 100.400 100.400 + 2.000 = 102.400 102.400-1.100 = 101.400 101.400 +1.800 = 103.200 103.200 -2,500 = 100.700 ตัวอย่างคานวณแบบ rise + Fall - STA B.S FS (+) rise (-)Fall Elev Post A 1.500 100.000 m TP1 2.000 1.100 +0.400 100.400 40 TP2 1.800 1.000 +1.000 101.400 50 B 2.500 -0.700 100.700 60 TATAL ∑5.300 ∑4.600

Check ∑BS - ∑FS 5.300-4.600 = +0.700 ∑ rise - ∑ Fall 1.400 – 0.700 = +0.700 OK ถูกตอ้ ง การคานวณหาคา่ ระดับ BS - FS = ค่า + ใสใ่ นชอ่ ง rise ถา้ คา่ ลบ ใสใ่ นชอ่ ง fall แล้วนาค่ามา ถา้ rise เปน็ + คา่ fall เป็น -นา2คา่ น้ี มาบวกกบั ลบ คา่ Elev ตวั อย่าง 1.500-1.100 = +0.400 2.000 – 1.000 = +1,000 1.800 – 2.500 = -0.700 100.000 + 0.400 = 100.400 100.400 + 1.000 = 101.400 101.400 - 0.700 = 100.700 งานคา้ นวณงานระดับ (profile leving)

การทา profile Leving คอื การทา้ ระดบั ตามแนว center line ของแนวถนน คลองส่งน้า แนวสาย ไฟฟา้ แรงสงู เป็นตน้ ก่อนที่จะทา้ Drofile จะต้อง วางแนว canter line ใหม้ นั้ คงเสียก่อน จากน้ันกา้ หนดแนว station ลงบนแนว center line ระหว่าง station แล้วแตช่ นิดของงาน เช่น 20-25เมตร เมือ่ ก้าหนด ระยะห่างแล้วก็ถา่ ยระดับไปบน station การทา้ profile leving ท้าใหท้ ราบถึงจดุ สูงตา้่ ของ ผิวดินบรเิ วณท่ีเป็น center line ซึ่งสามารถ น้าคา่ ระดับ เหลา่ นี้ ไปเป็นข้อมูลในการออกแบบ สง่ิ ก่อสร้างตา่ งๆ

รปู การปฎิบตั งิ าน

การคานวณจากการปฏิบัติงาน Sta Bs Hi Ifs Fs elev Bm 2.910 202.910 200.000 0+000 2.220 200.690 0+025 1.670 201.240 0+050 2.250 200.660 0+075 2.890 200.020 0+100 2.500 200.410 Tp1 0.911 202.650 1.171 201.739 0+125 0.190 202.460 0+150 0.210 202.440 0+175 0.630 202.020 0+200 1.960 202.690 0+225 2.610 200.040 0+250 2.880 199.770 1.713 200.937 ผลรวม bs 3.821 ผลรวม fs 2.884 สตู ร elev+BS=HI-IFSและ FS= elev การตรวจสอบความถกู ต้องของงาน 3.821-2.884= 0.937 200.937-200.000= 0.937 ok 200.000-202.650= -2.650 1.171-3.821 = -2.650 ok วธิ กี ารคานวณทัง้ หมด นา้ ค่า elev+bs=hi-fsและคา่ ระดบั ไมก้ ลาง( IFS )ทงั้ หมด=elev ตามสตู ร 200.000+2.910=hi 202.910-2.220=200.690 hi 202.910-1.670=201.240 hi 202.910-2.250=200.660 202.910-2.890=200.020 hi 202.910-2.500=200.410 hi 202.910-1.171=201.739+bs 0.911= hi 202.650-0.190=202.460 hi 202.650-0.210=202.440 hi 202.650-0.630=202.020 hi 202.650- 1.960=202.690 hi 202.650-2.610=202.040 hi 202.650-2.880=199.770 hi 202.650-1.713=200.937


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook