Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เรื่องเหล้าที่คุณรู้ผิด

เรื่องเหล้าที่คุณรู้ผิด

Description: การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ดูจะเป็นสิ่งที่กลมกลืนอยู่ในชีวิตของผู้คนมาช้านาน โดยมักมีเหตุผลในการดื่ม เช่น เพื่อเข้าสังคม เพื่อสนุก เพื่อลิ้มรส ฯลฯ จนเกิดความเข้าใจต่างๆ นานาที่ผิด มาฟังเฉลยความเชื่อต่าง ๆ ว่าจริงเท็จเป็นอย่างไร

ที่มา : สสส.

Search

Read the Text Version

เร่อื งเหล้า ทคี่ ณุ รู้ผิด

การดืม่ เครอื่ งด่ืมแอลกอฮอลด์ จู ะเป็นสงิ่ ที่ กลมกลนื อยู่ในวถิ ีชวี ติ ของผู้คนมาชา้ นานแล้ว โดยคนมกั มเี หตุผลในการดื่ม เชน่ เพ่อื เขา้ สงั คม เพอื่ ความสนกุ เพ่อื ล้มิ รสชาติ ฯลฯ แล้วนกั ดม่ื ทง้ั หลายก็สั่งสมประสบการณ์ จนเกดิ เปน็ ความเข้าใจต่างๆ นานา เกี่ยวกับวิถแี หง่ การด่มื ทีบ่ อกตอ่ กนั วา่ ดื่มแบบนัน้ สิดี ด่ืมแบบนส้ี ดิ ี โดยท่ีแทจ้ ริงแลว้ อาจเป็นความเชอ่ื ท่ีผดิ หรือไม่ไดร้ ูจ้ รงิ ๆ มาฟงั เฉลยความเช่ือตา่ งๆ ทเ่ี กยี่ วกบั เครอื่ งด่มื แอลกอฮอล์ ซึ่งมักไดย้ ินไดฟ้ งั กนั ทัว่ ไปว่าจริงเทจ็ อยา่ งไร

ความเช่ือท่ี 1 ดม่ื เป็นยา คงเคยได้ยินความเชื่อท่ีว่า “ดมื่ เหลา้ แลว้ ชว่ ยใหเ้ ลอื ดลมสบู ฉดี รา่ งกายแขง็ แรง” กันมาบ้าง แต่ความจริงแล้วประโยชน์จากการด่ืมแอลกอฮอล์ใช่ว่าจะเกิดขึ้นง่ายๆ มีทีมวิจัยและหมอท่ีให้ข้อมูลว่าเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์อาจพอมีประโยชน์บ้างกับ คนเมืองหนาว และหากจะดม่ื เพอื่ ช่วยป้องกนั โรคหลอดเลือดหัวใจก็จะพบในกลมุ่ คน อายุ 40-45 ปี และผู้หญิงที่อยใู่ นวยั หมดประจ�ำเดอื นเท่าน้นั แถมยงั เปน็ หลกั การดม่ื ทอ่ี ยใู่ นปรมิ าณน้อยและเทา่ ๆ กนั ในแต่ละวนั เสียด้วย ส�ำหรบั บ้านเรายงั ไม่มีงานวิจยั หรือแพทยท์ ใ่ี หข้ อ้ มูลวา่ การดืม่ แบบนี้จะมีประโยชนก์ ับคนไทย สงิ่ ทตี่ อ้ งพงึ ตระหนกั กค็ อื ตลอดเสน้ ทางทแี่ อลกอฮอลส์ มั ผสั อวยั วะภายในรา่ งกาย นัน้ อาจเป็นตน้ ตอของโรคต่างๆ “อยากสขุ ภาพดี ต้องออกก�ำลังกาย ทานอาหารทีม่ ปี ระโยชน์ ไม่ดื่มแอลกอฮอล์ ไมส่ ูบบุหร่ี และพกั ผ่อนใหเ้ พยี งพอ”

ความเชอ่ื ท่ี ความเชื่อที่ 2 3 ไวน์ เบยี ร์ หรือคอ็ กเทล ด่ืมเหล้า อันตรายน้อยกว่าเหล้า เพิม่ สมรรถภาพ ความเช่ือน้ีท�ำให้คนมีความรู้สึก ทางเพศ ตระหนักและห่วงตัวเองมากข้ึนก็จริง แต่ก็เป็นการเปล่ียนจากการด่ืมเหล้า ความเช่ือที่ว่ายาดองสูตรสมุนไพร หันไปด่ืมเคร่ืองด่ืมประเภทอื่นท่ีดูจะมี เ พ่ิ ม พ ลั ง ท า ง เ พ ศ ห รื อ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ์ ดีกรีความร้ายน้อยกว่าแทน แต่ความ แอลกอฮอล์ที่โฆษณาสรรพคุณเพิ่ม จริงแล้ว ผลกระทบจากการดื่มเคร่ือง สมรรถภาพทางเพศ ชว่ ยแกป้ ัญหาการ ด่ืมแอลกอฮอล์ไม่ได้ขึ้นอยู่กับประเภท หยอ่ นสมรรถภาพทางเพศนน้ั ความจรงิ ของเคร่ืองดื่ม แต่ขึ้นอยู่กับปริมาณ แลว้ การดม่ื สรุ าไมม่ ที างเพม่ิ สมรรถภาพ แอลกอฮอลแ์ ละรปู แบบการดมื่ ตา่ งหาก ทางเพศได้ มีแต่ยิ่งด่ืมมาก ย่ิงท�ำให้ ไม่ว่าจะเป็นเหล้า ไวน์ เบียร์ หรือ สมรรถภาพทางเพศเสอื่ มลง อวยั วะเพศ เครื่องด่ืมหวานๆ อย่างค็อกเทลและ ไมแ่ ข็งตวั เหล้าปั่น บอกได้เลยว่ายิ่งท�ำให้เราได้รับ พบว่าผู้ป่วยจ�ำนวนมากท่ีมีภาวะ ปรมิ าณแอลกอฮอลม์ ากข้ึนโดยไมร่ ้ตู ัว ติดสุรา มักมีอาการเสื่อมสมรรถภาพ ทางเพศพ่วงมาดว้ ย เพราะแอลกอฮอล์ “เครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอลป์ ระเภทไหน เขา้ ไปเปลย่ี นระดบั ฮอรโ์ มนเพศ และยงั ก็มีอันตรายทั้งส้ิน” เป็นพิษต่ออวัยวะต่างๆ เพราะฉะนั้น อยา่ หลงเช่ือคำ� โฆษณาเกนิ จริง

ความเชอื่ ที่ 4 ดม่ื เปน็ ไม่เมา ไม่แฮงค์ นักดื่มโดยเฉพาะวัยรุ่นมักคิดค้นวิธีด่ืมแปลกๆ เพื่อป้องกันอาการเมาแฮงค์ท่ีนักวิจัย ตวั จรงิ ยงั งง! มารู้จกั วธิ ีทนี่ ักดมื่ นยิ มมากท่สี ดุ 5 อนั ดับท่คี วามจริงแลว้ ไม่ได้ผล 1. ดมื่ น้�ำหรอื เกลอื แร่ โดยการด่มื น้ำ� เปลา่ 1 ขวด แลว้ ด่ืมเครือ่ งดื่มแอลกอฮอล์ตามปกติ ซ่ึงจะท�ำให้เราด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ได้น้อยลง เพราะเราอ่ิมน�้ำขวดน้ัน แต่ความจริง แลว้ ความสามารถในการดูดซึมแอลกอฮอล์ไมไ่ ด้นอ้ ยลงไปด้วย เราก็จะเมาอยดู่ ี น้�ำอาจ ชว่ ยชดเชยภาวะการขาดน�้ำได้ แต่ไมไ่ ดล้ ดผลของความมนึ เมาลง 2. ด่ืมกาแฟหรือน้�ำชา มีระดับความยากกว่าวิธีแรก และอาจต้องใช้ความสามารถใน การชงและประคองแก้ว ด่มื เหลา้ ไป ด่ืมกาแฟไป เพราะสารคาเฟอนี ในกาแฟจะชว่ ยให้ ผู้ด่ืมมีอาการมึนเมาพร้อมกับต่ืนตัวตลอดเวลา ท�ำให้ดื่มเหล้าได้มากข้ึน แต่สุดท้ายก็จะ เมาแบบไม่รตู้ ัวอยดู่ ี เพ่ิมเตมิ บางคนอาจบอกวา่ ดมื่ กาแฟแกอ้ าการแฮงค์ แตแ่ มจ้ ะรสู้ กึ ตน่ื ตวั จากฤทธขิ์ องคาเฟอนี แตอ่ าการบกพรอ่ งของระบบประสาทกย็ งั คงอยู่เพยี งแคช่ ว่ ยใหร้ สู้ กึ งว่ งซมึ นอ้ ยลงเทา่ นนั้ เอง

3. กนิ วิตามิน สมนุ ไพร ฮอรโ์ มน ฯลฯ อะไรกต็ ามทเ่ี ขาบอกมสี รรพคณุ แก้ อาการเมาหรอื เมาคา้ งนน้ั อาจพบวา่ เปน็ การเสยี เงนิ โดยเปลา่ ประโยชน์ เพราะ ทางการแพทยย์ งั ไมพ่ บวา่ ตัวยาเหล่านีแ้ ก้อาการเมาหรืออาการแฮงคไ์ ดจ้ ริง 4. ดม่ื นำ้� หวาน ผลไมร้ สหวาน หรอื กลโู คส แตถ่ งึ จะหวานแคไ่ หนกช็ ว่ ยไดเ้ พยี ง ชดเชยภาวะนำ้� ตาลในเลอื ดตำ�่ ทำ� ใหร้ สู้ กึ สดชนื่ ขน้ึ มาไดบ้ า้ ง แตไ่ มไ่ ดล้ ดผลจาก แอลกอฮอล์และกลไกอื่นๆ เลย 5. ออกก�ำลงั กายใหเ้ หงอ่ื ออก เพราะคิดวา่ เหงื่อเป็นตวั ขบั แอลกอฮอล์ แตด่ ู จะเขา้ ใจผดิ เพราะแอลกอฮอลก์ วา่ รอ้ ยละ 90 ถกู กำ� จดั ทต่ี บั นอ้ ยมากทจ่ี ะถกู ขบั ออกทางรขู มุ ขนและไต อกี ทง้ั ถา้ เราเคลอื่ นไหวตวั มากขณะดม่ื กย็ ง่ิ ทำ� ใหเ้ รา มนึ เมามากขนึ้ อีกหลายเทา่ ! สรุปแล้วไม่มวี ิธีใดทแ่ี กอ้ าการเมาและแฮงค์ได้จรงิ เลย

ความเชอ่ื ท่ี 5 ดมื่ คลายหนาว อากาศหนาวด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์จะช่วยให้ร่างกายอบอุ่นและนอน หลบั สบาย เปน็ ความเชอ่ื ทไ่ี ดย้ นิ อยบู่ อ่ ยๆ แตค่ วามจรงิ แลว้ กค็ อื กลไกทท่ี ำ� ให้ เรารสู้ กึ วา่ รา่ งกายอบอนุ่ และหนา้ แดงระเรอื่ หลงั ดม่ื นนั้ เกดิ จากความบกพรอ่ ง ในการก�ำจัดสารอะเซทัลดีไฮด์ให้เป็นกรดอะซิติก จึงท�ำให้เกิดการค่ัง ของสารอะเซทัลดีไฮด์ซึ่งมคี วามเป็นพษิ สูง และการดื่มแอลกอฮอล์ไม่ได้ช่วยเพิ่มอุณหภูมิของร่างกาย แต่เกิดจาก ฤทธขิ์ ยายตัวของหลอดเลือดฝอยใต้ผิวหนัง ท�ำใหค้ วามรอ้ นระบายออกจาก ร่างกายมากขึ้น เราจึงรู้สึกร้อนวูบวาบและน�ำไปสู่การเกิดภาวะอุณหภูมิใน รา่ งกายทตี่ ำ�่ กวา่ ปกติ และหากเมาจนหลับโดยทไ่ี มม่ ีการทำ� ใหร้ ่างกายอบอนุ่ เพยี งพอ ก็อาจท�ำใหเ้ สียชวี ิตไดด้ ังทปี่ รากฏตามข่าว

ความเช่อื ท่ี 6 ดื่มอยา่ งรบั ผดิ ชอบ ความเช่ือที่ว่า “ดื่มได้ แต่ดื่มอย่างรับผิดชอบ” หรือ “ด่ืมน้อยๆ ดื่มอย่างมีสติ” ฟังดูเหมือนจะดี แต่ความจริงแท้ก็คือ พอน้�ำเมาเข้าปาก เมื่อนั้นเราก็จะค่อยๆ ขาดสติ จากทเ่ี คยตง้ั ปณธิ านไวว้ า่ จะดม่ื เทา่ นี้ กจ็ ะกลายเปน็ ดมื่ ไปเรอื่ ยๆ เหนอ่ื ยกพ็ กั หมดกซ็ อ้ื ใหม่ และการจะบอกว่าควรด่ืมในปริมาณเท่าไรถึงปลอดภัยเป็นสิ่งท่ียากมาก เพราะ แตล่ ะคนมคี วามเสีย่ งไมเ่ ท่ากัน ขึน้ อยู่กับหลายปจั จยั ท้ังสภาพรา่ งกาย ความถีใ่ นการดื่ม วธิ ดี ม่ื รปู แบบการดม่ื ทสี่ ำ� คญั แมจ้ ะดม่ื แลว้ ไมร่ สู้ กึ มนึ เมากไ็ มไ่ ดห้ มายความวา่ จะปลอดภยั จากปัญหาต่างๆ และท่ีต้องตระหนักก็คือ เคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์มีคุณสมบัติพิเศษที่ไม่ธรรมดา ในการทำ� ลายสติและความยัง้ คดิ ของผู้ดืม่

ความเชือ่ ที่ ความเชื่อท่ี 7 8 เมาไม่ขบั ด่ืมเพ่อื เสรมิ หากขับรถต้องห้ามเมา หากจะเมา ประสบการณช์ ีวิต ตอ้ งไมข่ บั รถ เพราะการด่ืมเหลา้ เพยี ง 1 แกว้ กท็ ำ� ใหค้ วามสามารถในการขบั ขี่ โดยเฉพาะในหมู่วัยรุ่นมักมีความเช่ือ ยานพาหนะลดลงแลว้ โดยเฉพาะวยั รนุ่ เชน่ น้วี ่า การดื่มแอลกอฮอล์เป็นการเรียนรู้ หรอื คนท่ยี ังไม่ช�ำนาญในการขับขี่ การ ชวี ติ อยา่ งหนงึ่ ทำ� ใหไ้ ดเ้ ขา้ สงั คม ไดเ้ ปดิ โลก เมาไม่ขับอาจช่วยแก้ปัญหาและลด และเต็มที่กับชีวิต โตหรือแก่ตัวไป เด๋ียวก็ การเกิดอุบัติเหตุลงได้ แต่ต้องไม่ลืมว่า หยุดด่ืมได้เอง ท้ังท่ีความจริงแล้ว การด่ืม เมาแลว้ ไมข่ บั ไมไ่ ดห้ มายความวา่ เราจะ แอลกอฮอลท์ ำ� ใหค้ วามสามารถในการเรยี น ปลอดภยั 100% เพราะยงั มโี รคตา่ งๆ ท่ี การท�ำงาน และการจดจ�ำลดลง เพราะฤทธ์ิ เป็นผลจากการด่ืมแอลกอฮอล์อีกมาก ของแอลกอฮอล์จะไปท�ำลายสมองส่วน เช่น โรคมะเร็งหรือโรคตับ รวมไปถึง ฮิปโปแคมปัสและสมองส่วนหน้า ซึ่งส่งผล อุบัติเหตุที่ไม่ได้เกิดจากการขับขี่ยาน ตอ่ พฒั นาการของสมองอยา่ งถาวร แมว้ า่ จะ พาหนะ เพราะยิ่งเรารู้ตัวว่าไม่ต้องขับ ดื่มเพียงเล็กน้อยกต็ าม เราก็จะย่งิ ดื่มมากข้ึน

ความเชื่อท่ี 9 ตวั ของเรา ไม่ได้ทำ� ใหใ้ ครเดอื ดร้อน ใครทค่ี ดิ วา่ ดม่ื แลว้ ไมไ่ ดท้ ำ� ใหใ้ ครเดอื ดรอ้ นเปน็ สทิ ธสิ ว่ นบคุ คลนนั้ อยากใหล้ อง คดิ ดๆี เพราะจริงๆ แล้วหากเกิดปัญหา เชน่ การเกิดอบุ ัตเิ หตุบนทอ้ งถนน การเปน็ โรคภัยที่เกดิ จากการด่มื แอลกอฮอล์ กก็ ่อให้เกิดความเสยี หายสว่ นรวมได้ ไมว่ ่าจะ เป็นการตอ้ งซอ่ มบ�ำรงุ วตั ถุของสว่ นรวมที่เสยี หาย การทรี่ ัฐบาลตอ้ งน�ำเงนิ ภาษมี า ดแู ลรกั ษาผปู้ ว่ ยทไ่ี ดร้ บั ผลกระทบจากการดมื่ สรุ าทมี่ ากกวา่ มลู คา่ ภาษที เ่ี กบ็ ได้ และ ยังไม่นบั รวมไปถงึ การสญู เสยี ทรัพยากรและคา่ เสียโอกาสตา่ งๆ ที่สำ� คญั เปน็ ต้น

1. เครื่องดมื่ แอลกอฮอล์เปน็ สาเหตุของความเจบ็ ปว่ ยกวา่ 200 โรค ขอ้ มลู ของกรมอนามัยโลกพบวา่ เครอื่ งดื่มแอลกอฮอลเ์ ปน็ สาเหตขุ องความเจบ็ ปว่ ย กวา่ 200 โรค ซง่ึ ทำ� ใหม้ ผี เู้ สยี ชวี ติ ทว่ั โลกราวปลี ะ 3.3 ลา้ นคน และกอ่ ใหเ้ กดิ ความสญู เสยี ทางสขุ ภาพเทา่ กบั รอ้ ยละ 5.9 ของภาระโรคทวั่ โลก เพราะการดม่ื แอลกอฮอลเ์ กย่ี วขอ้ งกบั โรคกลุ่ม NCDs อาทิ โรคหลอดเลอื ดสมอง โรคหัวใจและหลอดเลอื ด การติดสุรา โรคซึม เศรา้ และกลมุ่ มะเรง็ ได้แก่ มะเร็งปากและล�ำคอ, มะเรง็ หลอดอาหาร, มะเรง็ ล�ำไส้ใหญ่ และทวารหนัก, มะเรง็ ตับ หรอื มะเร็งเตา้ นม เปน็ ตน้ ท้ังยงั เป็นสาเหตกุ ารเสียชีวติ อนั ดบั ต้นๆ ของหลายโรคดงั ที่กล่าวมา รวมถึงการบาดเจบ็ จากอบุ ตั ิเหตุและจราจร แม้แต่การ ตดิ โรคเอดสก์ ด็ ว้ ย เน่ืองจากขาดสติในการมเี พศสัมพันธ์ 2. น้อยมากทด่ี ื่มเพื่อให้ได้ประโยชน์ มีงานวิจัยที่ชี้ให้เห็นว่า การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในบางลักษณะอาจส่งผลดี ต่อการปอ้ งกนั โรคหลอดเลือดหวั ใจ และมีผลการศกึ ษารองรบั มากท่ีสุด แม้วา่ กลไกการ ปอ้ งกนั โรคจะยงั ไมช่ ดั เจนกต็ าม แตก่ ต็ อ้ งมปี จั จยั รว่ มหลายอยา่ ง เชน่ การบริโภคเครื่อง ดื่มแอลกอฮอล์ในปริมาณที่ต่�ำและสม�่ำเสมอ การบริโภคร่วมกับ ม้ืออาหาร และต้องอาศยั ปัจจยั ส่วนตัวของผู้บรโิ ภค เช่น เพศและอายุ เปน็ ต้น แต่ในโลกแห่งความเป็นจริงน้ัน การดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ไม่ได้เพ่ือหวังผลในการ ป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจ และมีผู้ดื่มจ�ำนวนน้อยมากท่ีจะได้ประโยชน์จากการดื่ม เคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ ซึ่งหากพิจารณาจากภาระโรคโดยรวมแล้ว การบริโภคเครื่องด่ืม แอลกอฮอลก์ ่อโทษตอ่ สขุ ภาพของประชากรโลกมากกวา่ ประโยชน์ถงึ 28.7 เทา่ ทีเดียว

จดั พมิ พ์และเผยแพรโ่ ดย SOOK PUBLISHING เรยี บเรียงข้อมูลบางส่วนจาก หนงั สอื L-ก-ฮ พอกนั ที โดยแผนงาน พัฒนาศักยภาพนักวิจัยด้านนโยบาย แอลกอฮอล์ สำ� นักงานพัฒนานโยบาย สขุ ภาพระหว่างประเทศ และศนู ย์วิจยั ปญั หาสุรา หนังสือเร่ืองเหล้าก้าว 10 โดย ศูนย์วจิ ัยปญั หาสรุ า สามารถสบื ค้นขอ้ มลู และหนงั สอื เพิ่มเตมิ ไดท้ ่ี หอ้ งสร้างปญั ญา ศูนยเ์ รียนร้สู ุขภาวะ ส�ำนกั งานกองทุนสนับสนุนการสรา้ งเสริมสขุ ภาพ (สสส.) หรอื ดาวน์โหลดได้ที่แอปพลเิ คชนั SOOK Library และ resource.thaihealth. or.th โทร. 02-343-1500 กด 3