Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore my best-65

my best-65

Published by punsupa2020, 2022-08-04 11:43:34

Description: my best-65

Search

Read the Text Version

ก คำนำ นวัตกรรมการจดั การเรียนการสอน เรื่อง “การพัฒนาสื่อเว็บไซต์วิชาภาษาอังกฤษ เพื่อช่วยฝกึ ทักษะการ ทำแบบฝึกหัดและข้อสอบแบบ Authentic Examination Papers ผ่านสื่อ Liveworksheets” เป็นนวัตกรรมที่ คิดค้นและพัฒนาขึ้น เพื่อใช้แก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษ ซึ่งแนวทางการจัดการเรียนการ สอนแบบเดมิ ยงั ไม่สง่ ผลใหผ้ ู้เรยี นเกิดการเรียนรู้เทา่ ท่ีควร เนือ่ งมาจากบรบิ ทของส่ิงแวดล้อมและการเข้าถึงสื่อและ เทคโนโลยีของผเู้ รยี นคอ่ นข้างไมค่ รอบคลมุ ดงั น้นั เพ่อื ใหเ้ กิดการพัฒนาทักษะกระบวนการแนวคดิ เชงิ ภาษาท่ีดีขึ้น ครูผสู้ อนจึงใชว้ ธิ ีการประยุกต์จากเทคโนโลยีมาประกอบการสอนโดยสร้างเวบ็ ไซตป์ ระจำวชิ าขึ้น ตลอดจนนักเรียน สามารถฝึกฝนได้เต็มที่นอกเหนือจากที่เรียนในเวลาเรียน ซึ่งทำให้ผู้เรียนเห็นความก้าวหน้าของตนเอง ส่งผลให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ อีกทั้งยังเป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียนฝึกฝนทักษะได้ทุกเวลาจาก เทคโนโลยซี ่งึ ทำให้กจิ กรรมนา่ สนใจมากยิ่งขนึ้ ขอขอบคุณ ผู้บริหาร และบุคลากรโรงเรียนบ้านทุง่ สมอ และ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน ที่ให้ความร่วมมือ ในการขับเคล่ือนนวตั กรรมจนประสบความสำเร็จ หวังเปน็ อย่างยิ่งวา่ นวัตกรรมการจัดการเรยี นการสอนดังกล่าว จะเป็นประโยชน์ต่อโรงเรียนและหน่วยงาน หรือผู้ที่สนใจ ในการนำไปประยุกต์ใช้เพื่อแก้ปัญหาการจัดการเรียน การสอนในโอกาสตอ่ ไป สพุ ัฒนพงศ์ พันธุส์ ุภะ ผจู้ ดั ทำ

ข สารบญั เรอ่ื ง หนา้ คำนำ ก สารบัญ ข 1 1. ชื่อเร่ือง 1 2. ความเปน็ มา/ความสำคัญ 4 3. วตั ถุประสงคแ์ ละเปา้ หมาย 5 4. ขั้นตอนการดำเนินงาน 12 5. ผลการดำเนนิ งาน 14 6. ปจั จัยความสำเร็จ 14 7. บทเรยี นทีไ่ ดร้ ับ (Lesson Learned) 15 8. การเผยแพร่การใช้ผลงานหรือนวัตกรรม ภาคผนวก 16 -แบบประเมนิ ความพึงพอใจของนกั เรียนและผู้ปกครอง 17 -แบบบนั ทกึ ผลการทดสอบของข้อสอบแบบ Authentic Examination Papers 18 -ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู กล่มุ ตัวอย่าง 2 กลุ่ม 27 -ตัวอย่างแบบฝึกหดั และข้อสอบแบบ Authentic Examination Papers 29 -ตัวอย่างผลงานของนักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4 45 -ดูผลงานของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 ท้งั หมด 52

แบบรายงานนวัตกรรม/ผลการปฏบิ ตั ทิ เ่ี ปน็ เลศิ (Best Practices) ชือ่ ผลงาน การพฒั นาส่ือเวบ็ ไซตว์ ิชาภาษาอังกฤษ เพ่ือชว่ ยฝึกทักษะการทำแบบฝึกหดั และ ข้อสอบแบบ Authentic Examination Papers ผา่ นสื่อ Liveworksheets ชอื่ ผนู้ ำเสนอผลงาน นายสุพัฒนพงศ์ พันธุส์ ุภะ ตำแหน่ง ครูชำนาญการพิเศษ โรงเรียน/หนว่ ยงาน สงั กัด โรงเรยี นบา้ นทุง่ สมอ โทรศพั ท์ สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 2 065-3238930 E-mail [email protected] 1. ความเป็นมาและความสำคญั 1.1 เหตผุ ล ความจำเป็น ปัญหาหรือความต้องการท่ีจดั ทำผลงานนวัตกรรม สภาพปัญหาของผู้เรียนด้านภาษาอังกฤษยังพบปัญหาอย่างมากในการ ฟัง พูด อ่าน เขียน และการคิด วิเคราะห์ เนื่องจากนักเรียนจะต้องมีพื้นฐานทักษะทั้ง 4 มาระดับหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง เสียงพยัญชนะ เสียงสระ คำศัพท์ และประโยคที่เกี่ยวขอ้ งกับเรื่องที่เรียน ซึ่งแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเดมิ ยังไมส่ ่งผลให้ผูเ้ รยี น เกิดการเรียนรู้เท่าที่ควร เนื่องมาจากบริบทของสิ่งแวดล้อม การเข้าถึงสื่อ/เทคโนโลยีของผู้เรียนค่อนข้างไม่ ครอบคลุม จึงส่งผลให้การจัดการเรียนรู้ต่อผู้เรียนยังไม่เป็นไปตามเป้าหมาย ดังนั้น เพื่อให้เกิดการพัฒนาทักษะ กระบวนการแนวคิดเชิงภาษาทดี่ ีข้ึน ครูผสู้ อนจึงใชว้ ธิ ีการประยุกตจ์ ากเทคโนโลยีดว้ ยการนำส่ือเว็บไซต์ประจำวิชา ภาษาอังกฤษ มาช่วยฝึกทักษะการทำแบบฝึกหัดและข้อสอบแบบ Authentic Examination Papers โดยใช้ผ่าน สื่อ Liveworksheets ซึ่งนวัตกรรมที่นำมาปรับประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหา ควรมีลักษณะเร้าความสนใจของ ผเู้ รยี นและท้าทายความสามารถ เขา้ ใจงา่ ย มภี าพ เสียง วดิ ีโอประกอบ วางรูปแบบสวยงามและสามารถฝึกได้ด้วย ตนเอง อันจะส่งผลใหน้ ักเรียนได้พฒั นาทักษะทั้ง 4 ดงั กล่าว และสามารถประยุกต์ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ซึ่งการนำนวัตกรรมดังกล่าวมาใช้ มีความสำคัญและมีประโยชน์ต่อการเรียนการสอนวิชาที่เป็นทักษะมาก เพราะ เป็นสื่อการสอนที่ช่วยลดภาระของครู ช่วยให้นักเรียนได้ฝึกทักษะให้ดีขึ้น ส่งเสริมในเรื่องความแตกต่างระหว่าง บุคคล ทำให้นักเรียนประสบผลสำเร็จในทางจิตใจมากขึ้น ช่วยเสริมทักษะแนวคิดเชิงภาษาให้คงทน รวมทั้งเป็น เครื่องมือวัดผลการเรียนหลังจากเรียนบทเรียนแล้ว ตลอดจนนักเรียนสามารถทบทวนได้ด้วยตนเอง ทำให้ครู มองเห็นปัญหาต่างๆ ของนกั เรียนไดช้ ดั เจนขน้ึ นักเรียนสามารถฝึกฝนได้เตม็ ท่นี อกเหนอื จากทเ่ี รียนในเวลาเรียนซึ่ง ทำให้ผู้เรียนเห็นความก้าวหน้าของตนเอง เพื่อให้กิจกรรมมีความหลากหลาย ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ อีกทั้งยังเป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียนฝึกฝนทักษะได้ทุกเวลาจากเทคโนโลยีซึ่งทำให้ กจิ กรรมน่าสนใจมากยิง่ ข้นึ

2 1.2 แนวคิดหลกั การสำคญั ที่เกย่ี วข้องกับผลงานหรือนวตั กรรม 1.2.1 เว็บไซตบ์ รกิ าร google site Google site เป็นแอปพลิเคชั่นออนไลน์ที่ทำให้การสร้างเว็บไซต์ของทีมกลายเป็นเรื่องง่าย เหมือนการแก้ไขเอกสาร ผู้คนสามารถรวบรวมข้อมูลทีห่ ลากหลายไว้ในที่เดยี วได้อย่างรวดเร็วได้แก่วีดีโอ ปฏิทิน งานนำเสนอ ไฟล์แนบ และข้อความและสามารถใช้งานร่วมกับกลุ่มเล็กๆ ทั้งองค์กรหรือทั้งโลก เพือ่ ดหู รอื แกไ้ ขไดอ้ ย่างง่ายดายไปทีแ่ ผงควบคุมของคุณลักษณะทีส่ ำคัญของผลิตภณั ฑไ์ ด้แก่ 1. กำหนดสว่ นติดต่อของเวบ็ ไซตด์ ้วยตนเอง เพอื่ ทำให้รปู ลักษณ์ของกลมุ่ หรือโครงการมี ความคล้ายคลงึ กัน 2. สร้างหน้ายอ่ ยใหมด่ ้วยการพมิ พ์ 3. เลือกประเภทหน้าเว็บจากรายการทีเ่ พม่ิ ขนึ้ เรื่อยๆ ไดแ้ ก่ หน้าเว็บประกาศ ตู้เอกสาร กระดานข้อมลู และรายช่ือ 4. รวมศนู ย์ขอ้ มูลที่ใช้งานร่วมกัน ฝังเน้อื หาที่มีข้อมูลมาก ลงในหนา้ เวบ็ ใดๆและอปั โหลด ไฟล์แนบต่างๆ 5. จดั การต้ังค่าการอนุญาต เพอื่ ใหเ้ ว็บไซตข์ องคณุ เปน็ ส่วนตัวหรือสามารถแก้ไขและดไู ด้ อย่างกว้างขวางตามท่คี ณุ ต้องการ 6. ค้นหาในเนื้อหาของ Google Site ด้วยเทคโนโลยีการค้นหาของ Google การใช้ Google Sites เพื่อการเรียน การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการโดยใช้กูเกิ้ลไซต์(Google site) ช่วยในการเรียนการ สอนของครูทำให้เชื่อมโยงเนื้อหาสาระของศาสตร์ต่างๆ ได้ง่ายยิ่งขึ้นโดยสามารถเชื่อมโยงเนื้อหา แหล่ง ความรตู้ า่ งๆ ไม่ว่าจะเปน็ รูปแบบไฟลเ์ อกสาร วีดโี อ หรอื ไฟลเ์ สียงเขา้ สูร่ ะบบอินเทอรเ์ นต็ (Internet) และ ผเู้ รียนสามารถเข้าถึงแหลง่ ข้อมลู ได้ง่ายย่ิงข้นึ จะชว่ ยให้กระบวนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามความ สนใจ ความสามารถ ทเี่ กี่ยวข้องสัมพันธ์กันให้ 3 ผูเ้ รียนเปลยี่ นแปลงพฤติกรรม สามารถนำความรู้ ทักษะ และเจตคติไปสร้างงาน แก้ปัญหาและใช้ในชีวิตประจำวันได้ง่ายยิ่งขึ้น Google site สามารถใช้เป็น ช่องทางในจดั การเรียนการสอนของครูโดยเฉพาะครูผ้สู อนที่ไม่เชยี่ วชาญในด้านเทคโนโลยกี ารส่ือสาร โดย เว็บไซตท์ ่ีสรา้ งดว้ ย Google site เป็นเวบ็ ไซต์อย่างง่าย ไมส่ ลับซับซ้อน ครผู ู้สอนสามารถเรียนรู้ใช้งาน ได้ ไม่ยาก อีกทั้งครยู ังสามารถตรวจผลงานของนักเรียนได้อย่างรวดเร็ว ทันใจ การนำเสนอเนื้อหาในรายวิชา ต่างๆ เป็นไปได้งา่ ย ซึ่งเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตได้พัฒนาไปอยา่ งรวดเร็ว จากกระแสที่มา แรงทำให้หลายประเทศทัว่ โลกต่างเข้าสู่การเปลยี่ นแปลงท่ีมีการนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาร่วมพัฒนา กิจกรรมตา่ งๆ ของประเทศ ณ วันนีเ้ ครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยเฉพาะบริการ WWW (World Wide Web) ได้ก้าวมาเป็นเครื่องมือชิ้นสำคัญในการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเรียนการสอนการฝึกอบรม รวมถึงการ ถ่ายทอดวิชาความรู้ นับเป็นการเพิ่มช่องทางในการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้สอนและผู้เรียนมากยิ่งขึ้น โปรแกรม Google Site เป็นหนึ่งใน Google Apps for Education ที่ถูกพัฒนาขึ้นมาเพือ่ สนับสนับสนนุ การเรียนการสอน โดยอาศัยคุณสมบัติและทรัพยากรของเวิลด์ไวด์เว็บมาเป็นสื่อกลางในการถ่ายทอดใน

3 ลักษณะของบทเรียนออนไลน์ สามารถเชื่อมโยงเนื้อหา และแหล่งความรู้ต่างๆ ให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึง แหล่งข้อมูลได้ง่ายยิ่งขึ้น มีบริการรูปแบบต่างๆ มากมายที่สามารถเอื้อประโยชน์ในการนำมาใช้ในการ จัดการเรียนการสอน 1.2.2 วงจรคุณภาพ PDCA วงจรคณุ ภาพ PDCA วงจรบริหารสข่ี น้ั ตอนทีป่ ระกอบไปดว้ ย Plan (การวางแผน) Do(ปฏิบัต)ิ Check (ตรวจสอบ) และ Action (การดำเนินการ) วงจรการบรหิ ารงานคุณภาพใชใ้ นการควบคมุ และพัฒนากระบวนการ PDCA ท้ังสีข่ ้ันตอนเปน็ กระบวนการทสี่ ามารถทำซ้ำได้ เพื่อใหส้ ถานศึกษาสามารถบริหารความเปล่ยี นแปลงได้ อย่างประสบความสำเรจ็ วงจรการควบคุมคุณภาพมีรายละเอยี ด ดังนี้ Plan (วางแผน) หมายถงึ การวางแผนการดำเนินงานอย่างรอบคอบ ครอบคลมุ ถึงการกำหนดหัวข้อที่ ตอ้ งการปรบั ปรุงเปลีย่ นแปลง ซงึ่ รวมถงึ การพัฒนาสง่ิ ใหมๆ่ การแก้ปญั หาท่ีเกดิ ขึ้นจากการปฏิบัติงาน อาจ ประกอบด้วย การกำหนดเปา้ หมาย หรือวตั ถปุ ระสงค์ของการดำเนนิ งาน Plan การจดั อันดับความสำคญั ของ เปา้ หมาย กำหนดการดำเนินงาน กำหนดระยะเวลาการดำเนินงาน กำหนดผูร้ ับผิดชอบหรอื ผู้ดำเนินการและ กำหนดงบประมาณทจี่ ะใช้ การเขยี นแผนดงั กล่าวอาจปรบั เปลีย่ นได้ตามความเหมาะสมของลักษณะ การ ดำเนินงาน การวางแผนยงั ช่วยให้เราสามารถคาดการณ์สงิ่ ที่เกดิ ขึน้ ในอนาคต และช่วยลดความสูญเสียตา่ งๆ ที่ อาจเกิดข้ึนได้ Do (ปฏิบตั ติ ามแผน) หมายถึง การดำเนินการตามแผน อาจประกอบด้วยการมโี ครงสร้างรองรบั การ ดำเนินการ มีวิธกี ารดำเนินการและมผี ลของการดำเนินการ Check (ตรวจสอบการปฏบิ ัตติ ามแผน) หมายถึง การประเมนิ แผน อาจประกอบดว้ ยการประเมิน โครงสร้างท่รี องรับ การดำเนินการ การประเมินข้นั ตอนการดำเนนิ งาน และการประเมนิ ผลของ การดำเนินงาน ตามแผนที่ได้ต้งั ไว้ โดยในการประเมนิ ดงั กล่าวสามารถทำได้เอง โดยคณะกรรมการท่ีรับผดิ ชอบแผนการดำเนนิ งาน น้นั ๆ ซึง่ เป็นลักษณะของการประเมนิ ตนเอง โดยไม่จำเป็นตอ้ งตั้งคณะกรรมการ อีกชุดมาประเมินแผน หรือไม่ จำเป็นตอ้ งคดิ เครื่องมือหรอื แบบประเมินทีย่ ุ่งยากซบั ซอ้ น Act (ปรับปรุงแก้ไข) หมายถึง การนำผลการประเมินมาพัฒนาแผน อาจประกอบดว้ ยการนำผลการ ประเมินมาวิเคราะห์วา่ มโี ครงสร้าง หรือขัน้ ตอนการปฏบิ ตั ิงานใดทีค่ วร ปรบั ปรุงหรือพฒั นาส่ิงทดี่ ีอยแู่ ลว้ ใหด้ ี ยงิ่ ขนึ้ ไปอกี และสงั เคราะห์รูปแบบการดำเนินการใหม่ทเ่ี หมาะสม สำหรบั การดำเนนิ การในปีต่อไป การจัดการ เรยี นการสอนต้องเป็นไปอยา่ งตอ่ เนื่องเพ่ือเปน็ การกระตนุ้ การเรียนร้ขู องผู้เรียนท้งั ในห้องเรยี นและนอกห้องเรียน ครูผูส้ อนจึงใชว้ ธิ กี ารจดั การเรียนการสอนผ่านสอ่ื เวบ็ ไซตป์ ระจำวชิ า ที่สามารถบรู ณาการการใช้เทคโนโลยมี า สนบั สนนุ การจดั การเรียนการสอน ซ่งึ แนวคิดนีจ้ งึ เกดิ เปน็ นวัตกรรมนี้ข้ึนมา และใช้วงจรตรวจสอบคณุ ภาพ PDCA มาพัฒนาคุณภาพของงานให้มปี ระสทิ ธิภาพและเกิดประสิทธผิ ล ซง่ึ จะช่วยใหผ้ ูเ้ รียนเกดิ การพัฒนาการเรยี นใหม้ ี ประสทิ ธภิ าพมากขึ้น อีกทั้งเหมาะสมกบั การจดั การเรยี นการสอนในศตวรรษที่ 21

4 กรอบแนวคดิ การวิจัย ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม การใช้สื่อเว็บไซต์วิชาภาษาองั กฤษเพื่อช่วยฝึก - ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของนกั เรียน ทักษะการทำแบบฝึกหดั และข้อสอบแบบ ในรายวิชาภาษาองั กฤษ สำหรับ Authentic Examination Papers ผ่านสื่อ นักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 Liveworksheets - ความพงึ พอใจในการจดั การเรยี นการ สอนผ่านสื่อเวบ็ ไซต์วิชาภาษาองั กฤษ ตารางที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย 2. วัตถปุ ระสงคแ์ ละเปา้ หมายของการดำเนนิ งาน 2.1 จุดประสงค์ 2.1.1 เพือ่ พฒั นาทักษะ การทำแบบฝึกหดั และข้อสอบแบบ Authentic Examination Papers ผา่ นส่อื Liveworksheets รายวชิ าภาษาองั กฤษ สำหรับนักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 4 2.1.2 เพ่อื ศึกษาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรยี นในรายวิชาภาษาองั กฤษสำหรับนกั เรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 4 2.1.3 เพอ่ื ประเมินความพงึ พอใจในการจดั การเรยี นการสอนผา่ นสือ่ เว็บไซต์ วชิ าภาษาอังกฤษ 2.2 เปา้ หมาย 2.2.1 การพัฒนาทักษะ การทำแบบฝกึ หดั และข้อสอบแบบ Authentic Examination Papers ผา่ นส่อื Liveworksheets รายวชิ าภาษาองั กฤษ สำหรับนักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 ให้มีประสทิ ธิภาพ ท้ังในหอ้ งเรียนและนอกห้องเรยี น 2.2.2 นักเรยี นกลมุ่ ตัวอยา่ งในระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 23 คน โรงเรยี นบ้านทุ่งสมอ สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 2 ปีการศึกษา 2565 มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น รายวิชาภาษาองั กฤษสงู ข้ึน ร้อยละ 70 2.2.3 นกั เรยี นและผู้ปกครองมีความพึงพอใจในการจดั การเรียนการสอนผา่ นสือ่ ออนไลน์เวบ็ ไซต์ ประจำวิชาภาษาองั กฤษ ดว้ ย Google Site รอ้ ยละ 80

5 3. ข้นั ตอนการดำเนนิ งาน โรงเรียนบา้ นทุ่งสมอ เปน็ โรงเรียนขยายโอกาสทางการศกึ ษา ขนาดกลาง นักเรียนมีระดบั ผลการเรียน คอ่ นข้างตำ่ และปานกลาง บรบิ ทสภาพครอบครัวยากจน ขาดแคลน นักเรียนสว่ นใหญ่สามารถอ่านออกเขยี นได้ ตามวัยและพัฒนาการ นกั เรียนบางสว่ นท่ีมีปญั หาในการด้านการเรยี นหรือมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ทาง โรงเรยี นจะใหก้ ารชว่ ยเหลอื เพ่อื ให้มีพัฒนาการตามวัยอยา่ งใกล้ชิดตามหลักการของระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรยี น นอกจากน้ี นักเรยี นยงั ได้เรยี นร้ผู า่ นสือ่ เว็บไซต์วชิ าภาษาอังกฤษ ซ่งึ ได้ท้ังความรูแ้ ละไดท้ บทวนความรู้ นักเรียนทุก คนต้องได้เรยี นรู้อยา่ งท่ัวถึงและสามารถเขา้ เรยี นได้ตลอดเวลาอีกด้วย โดยมีกระบวนการผลิตนวตั กรรมดังน้ี 3.1 กลุ่มตวั อยา่ ง นักเรยี นกลมุ่ ตวั อย่าง คือ นกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนบา้ นทุ่งสมอ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จำนวนนักเรียน 23 คน 3.2 เครื่องมอื ท่ีใช้ในการสรา้ งผลงานนวัตกรรม เคร่อื งมือท่ีใชใ้ นการสรา้ งผลงานนวตั กรรมครัง้ น้ปี ระกอบด้วย 1. สือ่ เวบ็ ไซตว์ ิชาภาษาอังกฤษท่ีครสู ร้างข้นึ 2. แบบฝึกหดั และขอ้ สอบแบบ Authentic Examination Papers 3. ใบความรู้/ใบงาน การจัดการเรยี นการสอนในแต่ละชวั่ โมง 4. แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรยี นและผปู้ กครองในการใช้นวตั กรรม 3.3 ขน้ั ตอนและกระบวนการสร้างผลงานนวัตกรรม แนวคิดและกระบวนการออกแบบนวตั กรรมการศึกษา PDCA คือ ภาพท่ี 1 กระบวนการออกแบบนวตั กรรมการศกึ ษา PDCA

6 3.3.1 ขนั้ วางแผนปฏิบตั ิงาน (Plan : P) เป็นข้นั ตอนการจดั ทำแผนในการดำเนินการสร้าง การจัดการเรียนการสอนผา่ นสอื่ เวบ็ ไซตว์ ิชาภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 ดังนี้ 1. ศกึ ษาหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นทงุ่ สมอ รายวชิ าภาษาองั กฤษ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 ในด้านสาระการเรียนร้มู าตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลางคำอธิบายรายวชิ า โครงสร้าง รายวชิ าและหนว่ ยการเรียนรู้ 2. ศกึ ษาแนวคิด ทฤษฎแี ละวิธกี ารเขยี นเวบ็ ของ Google Site อยา่ งละเอยี ดเพ่ือสร้างส่ือ ออนไลน์ เว็บไซต์ ประจำวิชา ดว้ ย Google Site 3. เลอื กเนอ้ื หา แบบฝกึ หัด และข้อสอบแบบ Authentic Examination Papers 7 เรอ่ื ง 4. วิเคราะหห์ ลกั สตู รภาษาอังกฤษตามกรอบ CEFR ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 4 5. สรา้ งเว็บไซตก์ ารจัดการเรียนการสอนผ่านส่ือออนไลนเ์ ว็บไซต์ ประจำวิชาด้วย Google Site 6. นำการจัดการเรยี นการสอนผา่ นสอ่ื เวบ็ ไซต์วิชาภาษาอังกฤษ สำหรับนกั เรียนชนั้ ประถมศึกษา ปที ี่ 4 ไปขอคำแนะนำจากผูบ้ รหิ ารและคณะครูโรงเรียนบ้านทุง่ สมอในดา้ นความเหมาะสมของ องค์ประกอบของเว็บไซต์ เพื่อมาปรบั ปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ยิ่งขน้ึ 3.3.2 ขน้ั ตอนการทำตามแผน (DO : D) จัดการเรยี นการสอนโดยใชส้ อ่ื เว็บไซต์วชิ า ภาษาองั กฤษ รายวิชาภาษาอังกฤษช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 ดงั น้ี 3.3.2.1 การสรา้ งเว็บไซต์วชิ าภาษาองั กฤษ ด้วย Google Site ข้ันตอนการสรา้ งมีดงั น้ี 1. หลังจากท่เี ราสมคั ร Gmail แลว้ เราก็เขา้ ไปที่เว็บ www.googlesite.com เพอื่ สมคั รเขา้ ใชง้ าน Google site 2. ให้ login ดว้ ย account บญั ชขี อง gmail ท่สี มัครไว้ 3. เมอ่ื log in เขา้ มาแล้วจะพบกับหนา้ ต่างดังรปู ภาพท่ี 2 หน้าตา่ ง log in

7 4. ทำการตั้งช่ือไซต์ และเรมิ่ สรา้ งไซตใ์ หม่ ภาพท่ี 3 หนา้ ต่างออกแบบเว็บไซต์ใหม่ 3.3.2.2 การเขา้ ใช้งานออนไลน์ กอ่ นการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ ผสู้ อนควรบอกวิธีการใชง้ านเวบ็ ไซต์อย่างละเอยี ดเพ่อื ให้ นักเรียนไดใ้ ชง้ านเว็บไซต์ไดอ้ ย่างถกู ต้องและเปน็ การอำนวยความสะดวกให้แกน่ ักเรยี นก่อนได้รับการใชง้ าน ซงึ่ ล้ิง ในการเข้าใช้งานของเว็บไซต์วชิ าภาษาองั กฤษ ท่ีจะส่งใหน้ ักเรียน คือ https://sites.google.com/view/kru-nong-65/home ครูผูส้ อนควรจัดลำดับข้นั ตอนและให้รายละเอียดท่ีชดั เจนดังนี้ 1. การเข้าสู่เวบ็ ไซต์วชิ าภาษาอังกฤษ โดยพิมพว์ ่า https://sites.google.com/view/kru-nong-65/home ภาพท่ี 4 หน้าแรกของเว็บไซต์

8 2. เข้าสบู่ ทเรียนโดยกดทร่ี ปู ตามระดบั ชั้น ภาพที่ 5 บทเรียนแตล่ ะระดับ

9 3. เขา้ สบู่ ทเรยี น ภาพที่ 6 บทเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4

10 3.3.2.3 การอภปิ รายหลงั การจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ การสรา้ งเวบ็ ไซตบ์ ทเรยี นคอมพิวเตอร์ผา่ นเว็บด้วย Google Site รายวิชาภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 อภิปรายได้ดังนี้ ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนพบว่า ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นในรายวิชาภาษาองั กฤษสงู กว่าก่อนได้รับการจดั การเรยี นรู้ ซึง่ การไดใ้ ชน้ วัตกรรม Google Apps for Education มาเป็นตัวช่วยใช้ในการเรียนการสอนคะแนนเฉลี่ยจากการสอนหลังเรียนสูงกว่า คะแนนเฉลี่ยจากการสอนก่อนเรียน คือจัดการเรียนรู้โดยใช้เว็บไซต์ ประจำวิชาด้วย Google Site รายวิชา ภาษาอังกฤษทำให้คะแนนเฉลี่ยจากการสอนหลังเรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยจากการสอนก่อนเรียน ซึ่งจะเห็นได้ว่า เมื่อนำบทเรียนที่ผ่านสื่อออนไลน์เว็บไซต์มาใช้จะทำให้มีผลการเรียนท่ีเพิ่มสูงขึ้นอย่างเห็นได้ชัด และผลการ ประเมินความพึงพอใจ พบว่า ความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้เว็บไซต์ ประจำวิชา ด้วย Google Site รายวิชาภาษาอังกฤษในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า การจัดการเรียนรู้ โดยใช้เว็บไซต์ ประจำวิชา เว็บไซต์มีความน่าสนใจและน่าเรียนรู้ อยู่ในระดับมากที่สุด (������̅= 4.60) รองลงมา คือ สื่อเสริมสร้างความเข้าใจในบทเรียนอยู่ในระดับมาก (������̅= 4.40) และมีความสนุกสนานระหว่างในการชมเว็บไซต์ อยู่ในระดับมาก (������̅= 4.30) เนอื่ งจากบทเรียนคอมพวิ เตอร์ผ่านเวบ็ ด้วย Google Site ทำให้นักเรียนเรียนรู้เนื้อหา ได้อย่างมีความสขุ สนกุ สนาน น่าสนใจศกึ ษาเรยี นรู้ ซึง่ ความสอดคล้องกับนวัตกรรมของ ปริญญา อินทรา. (2556) ได้การสร้างและหาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน เรือ่ ง วงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์เบื้องต้น สำหรับนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 พบว่า บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่มีรูปแบบน่าสนใจ มีความชัดเจน มีรูปแบบ ดงึ ดดู ใจผู้เรียนจะสามารถดงึ ดูดผู้เรียนให้เกิดความสนใจทจี่ ะศึกษาและทำความเข้าใจในเนื้อหาได้ดยี ง่ิ ขน้ึ ส่งผลทำ ให้ผู้เรียนเกิดความพึงพอใจในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนอยู่ในระดับมาก ซึ่งจะเห็นได้ว่าเมื่อมีการนำสื่อที่มี รูปแบบที่สามารถดึงดูดความสนใจผู้เรียนมาใช้ประกอบการจัดการเรียนการสอนจะทำให้ผู้เรียนมีความสุข และ สนุกกบั การเรยี นรู้อย่างไม่เบ่อื หนา่ ย ซ่ึงกเ็ พือ่ ใหผ้ ู้เรยี นเกิดการเรียนร้ตู ามวัตถุประสงค์ 3.3.3 ข้ันตรวจสอบและประเมินผล (Check : C) 3.3.1 ประเมนิ ผลนักเรียน 3.3.2 ประเมินความพงึ พอใจ 3.3.3 เกบ็ ข้อมูล วเิ คราะห์ขอ้ มลู แปลความหมาย 3.3.4 จัดทำรายงายผลการจัดการเรียนรู้ 3.3.4 ขน้ั นำผลการประเมนิ มาปรบั ปรุง (Action : A ) การนำผลการประเมนิ มาพัฒนาแผน อาจประกอบด้วยการนำผลการ ประเมินมา วเิ คราะหว์ า่ มโี ครงสร้าง หรอื ขัน้ ตอนการปฏิบัติงานใดที่ควรปรับปรุงหรือพฒั นาส่งิ ที่ดีอยู่แลว้ ให้ดีย่ิงขึ้นไปอีก และ สังเคราะห์รูปแบบ การดำเนนิ การใหม่ทีเ่ หมาะสม สำหรับการดำเนินการ

11 3.4.1 ปรบั ปรุงเว็บไซต์วิชาภาษาอังกฤษโดยเพิ่มเติมเอกสารให้ความรู้เกี่ยวกบั ทกั ษะกระบวนการ ขน้ั พื้นฐาน ให้สอดคลอ้ งกับบทเรียน และแยกข้อแนะนำ ไปใช้ในการเรียนการสอน จดั ทำเปน็ คู่มอื การใช้ 3.4.2 ปรับปรงุ เว็บไซต์วิชาภาษาองั กฤษ รายวชิ าภาษาอังกฤษให้สอดคลอ้ งกับ มาตรฐานตัวช้ีวัด และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) 3.4.3 นำข้อเสนอแนะไปใชแ้ ละศึกษาค้นควา้ เพิ่มเตมิ เพอ่ื พฒั นาสร้างการจดั การเรยี นการสอน ให้มฟี งั ชน่ั การใชง้ านเพม่ิ ขึน้ ตามบรบิ ทของโรงเรยี น 3.4.4 ปรบั ปรุงพฒั นาแผนการจัดการเรยี นร้โู ดยนำข้อเสนอแนะและข้อควรปรับปรุง พฒั นาให้ สอดคลอ้ งกับเว็บไซตว์ ชิ าภาษาองั กฤษ 3.4.5 ขยายเครอื ข่ายการใช้เวบ็ ไซต์วิชาภาษาองั กฤษ ในระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 5-6 ต่อไป โมเดลเสนอผลงานนวัตกรรม เร่อื ง การพัฒนาสื่อเว็บไซต์วิชาภาษาอังกฤษ เพ่อื ชว่ ยฝกึ ทกั ษะการทำแบบฝกึ หดั และขอ้ สอบแบบ Authentic Examination Papers ผ่านสื่อ Liveworksheets

12 4. ผลการดำเนินงานและประโยชน์ที่ได้รบั จากผลงานหรือนวัตกรรม 4.1 สำหรับครู 4.1.1 เป็นสื่อเว็บไซต์วิชาภาษาอังกฤษ ในการจัดการเรียนรู้ที่ต้องการพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะ ความรู้ ความสามารถในการใช้งานเทคโนโลยี ซึ่งครูสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชั้นเรียนของตนได้หรือ พัฒนาเป็นนวตั กรรมการเรียนรู้ 4.1.2 เป็นสื่อทีใช้ในการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับทฤษฎี ได้พัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ การใช้นวัตกรรม Google Apps for Education มาเป็นตัวช่วยใช้ในการเรียนการสอน คือ บทเรียน อิเล็กทรอนิกส์ มีผลทำให้คะแนนเฉลี่ยจากการสอนหลังเรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยจากการสอนก่อนเรียน ซึ่งจะเห็นได้วา่ เมื่อนำบทเรียนที่ผ่านส่ือเว็บไซต์วิชาภาษาอังกฤษมาใช้ จะทำให้มีผลการเรียนที่เพิ่มสูงขึ้น อยา่ งเหน็ ไดช้ ัด ซงึ่ เป็นนวัตกรรมส่ือการเรยี นรรู้ ูปแบบใหม่ท่ีออกแบบและสอดแทรกเน้ือหาบทเรียนลงไป ให้ผู้เรียนมีส่วนรว่ มในการเรียนรฝู้ ึกปฏิบัติในการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง จนผู้เรียนเกดิ การเรยี นร้ไู ดใ้ นทสี่ ุด 4.1.3 เป็นสื่อที่ใช้ในการจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์และจุดหมายของหลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ทีเ่ น้นสมรรถนะผู้เรียน มาตรฐาน และตัวชว้ี ัด ทน่ี ำไปสู่ การปฏิบตั โิ ดยเฉพาะสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนท่ีมุ่งให้เกดิ ความสามารถในการสื่อสารและความสามารถ ในการคดิ 4.1.4 เป็นหลักฐานหรือร่องรอยในการพัฒนาผู้เรียนให้มีกระบวนการคิดซึ่งนวัตกรรมนี้สามารถ นำมาใช้เพื่อให้นักเรียนใช้เวลาว่างในการศึกษาได้ตลอดเวลาซึ่งได้ทั้งความรู้และและการได้ใช้เทคโนโลยี อกี ทั้งสำหรับเตรียมความพร้อมในการประเมินภายนอกของ สมศ. ดา้ นผเู้ รยี นมาตรฐานท่ี 4 ผู้เรียนควรมี ความสามารถในการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์คิดอย่างมีวิจารณญาณ คิดไตร่ตรอง คิดสร้างสรรค์อย่างมี วสิ ัยทัศน์ 4.1.5 เป็นสื่อที่มีการนำกลวิธีการสอนรูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีการจัดการ เรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยี เป็นการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ว่าขณะนี้มีเทคโนโลยี มีความกว้าหน้า ก้าวไกลไปในลักษณะรูปแบบใดบ้างทั้งทางด้านวัสดุ อุปกรณ์ และวิธีใหม่ๆ ให้ผู้เรยี นมีความรู้ความเข้าใจ และทกั ษะในการใชเ้ ทคโนโลยี มาเป็นเครอื่ งมือในการเรียนรูข้ องตนเองและงานมาใช้ควบคกู่ ับการจัดการ เรียนรู้ เช่น การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง การสังเกตและอธบิ าย (Predict - Observe - Explain) กลวิธีรู้ แล้ว อยากรู้และต้องการเรียนรู้ (Knowledge - Want to know – Learning : KWL) เป็นต้น ซึ่งกลวิธี เหลา่ นี้จะช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีประสิทธภิ าพและ ประสทิ ธผิ ลในดา้ นการสรา้ งองคค์ วามรู้ ทกั ษะกระบวนการคดิ กระบวนการ เรียนรู้ และทกั ษะทางสังคมมากขึ้น 4.1.6 เป็นสื่อที่ใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนจากกิจกรรมง่ายๆ และเหมาะสมกับ เนื้อหาตรงตามมาตรฐานและตวั ชว้ี ัดของหลักสตู รภาษาองั กฤษ 4.1.7 เป็นการกระตุ้นครูผู้สอนให้สนใจใฝ่รู้สืบเสาะหาความรู้เพิ่มเติมเพื่อพัฒนาตนเองอย่าง ตอ่ เน่อื งและนำสงิ่ ใหมๆ่ มาใชเ้ พือ่ พฒั นาการเรียนการสอนให้มปี ระสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ล

13 4.2 สำหรับนกั เรียน 4.2.1 เป็นส่ือท่ีนักเรียนสามารถเรยี นรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติด้วยตนเองหรือเป็นกลุ่มได้ตลอดเวลา เพอื่ สรา้ งทักษะชวี ติ และทักษะทางสังคม 4.2.2 เป็นสื่อที่สามารถใช้กระบวนการคิดได้อย่างหลากหลายโดยเฉพาะการคิดวิเคราะห์และ การคดิ สร้างสรรค์ ซึ่งเปน็ การคิดขัน้ สูงสุด 4.2.3 นกั เรียนรู้จักใช้เวลาวา่ งให้เปน็ ประโยชนส์ ำหรับฝึกทกั ษะการอ่านและการคิด 4.2.4 การจัดการเรียนการสอนผ่านสื่อออนไลน์ด้วยเว็บไซต์ ประจำวิชา สำหรับนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 4 พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาภาษาอังกฤษก่อนเรียนและหลังเรียนได้รับ ผลการเรียนรสู้ ูงกวา่ ก่อนได้รบั การจดั การเรยี นรู้ 4.2.5 ผลการประเมินความพึงพอใจ พบว่า ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอน ผ่านสื่อเว็บไซต์วิชาภาษาอังกฤษ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการจัดการ เรียนการสอนผา่ นส่อื ออนไลน์ดว้ ยเว็บไซต์ ประจำวชิ า ปรากฏผลดังตารางที่ 2 ขอ้ รายการประเมิน ������ S.D. แปลผล 4.80 .50 มากทส่ี ดุ 1. เวบ็ ไซต์มีความนา่ สนใจและน่าเรียนรู้ 4.33 .42 มาก 2. ความร้คู วามเข้าใจบทเรยี นหลงั การใชส้ ่ือ 4.25 .57 มาก 3. ความสะดวกในการใช้สอ่ื ออนไลน์ 4.38 .48 มาก 4. สื่อเสริมสร้างความเข้าใจในบทเรียน 4.33 .51 มาก 5. สื่อกระตุน้ การศึกษาค้นควา้ เพิ่มเตมิ 4.32 .52 มาก 6. อธบิ ายเนอ้ื หาเขา้ ใจงา่ ย 4.17 .45 มาก 7. เว็บไซตน์ ้สี ามารถช่วยใหน้ ักเรยี นจดจำได้ง่ายและนานมากข้ึน 4.20 .54 มาก 8. เป็นชอ่ งทางในการติดตอ่ ส่ือสารระหว่างครแู ละผูเ้ รยี น 4.33 .53 มาก 9. นกั เรียนส่งงานไดอ้ ยา่ งสะดวกรวดเร็ว 4.10 .39 มาก 10. มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจบทเรียนกอ่ นการใช้สื่อ 4.28 .48 มาก รวม ตารางที่ 2 แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนและผู้ปกครอง ในการใช้นวตั กรรม การจัดการเรียนการสอนดว้ ยเวบ็ ไซต์วชิ าภาษาอังกฤษ 4.3 สำหรบั ผปู้ กครอง 4.3.1 เป็นสอื่ ทล่ี ดภาระของผู้ปกครองและเป็นสือ่ ท่ีสามารถศกึ ษาได้ตลอดเวลา 4.3.2 เปน็ สื่อทชี ว่ ยกระตุ้นให้เกดิ การเรยี นร้เู พิม่ เติมได้องค์ความรทู้ างวิชา เกดิ ความ สนใจใฝ่รู้ รจู้ ักสบื เสาะหาความรู้ อยากรู้อยากเหน็ ไปพร้อม ๆ กับบตุ รหลาน

14 5. ปจั จยั ความสำเร็จในการดำเนินงานผลงานหรอื นวัตกรรม 5.1 บุคลากรที่มสี ว่ นในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนประสบผลสำเรจ็ คือผู้บรหิ าร โรงเรยี นบา้ นท่งุ - สมอ ทมี่ ีการสนบั สนุนและส่งเสริมให้จัดกิจกรรมการเรยี นรู้ท่ีหลากหลายตามศักยภาพของผเู้ รยี นสง่ เสริมสนบั สนนุ ให้ ครู ผจู้ ัดทำสอ่ื / นวตั กรรมเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ 5.2 ใชห้ ลกั การจดั กจิ กรรมแบบมสี ว่ นรว่ มโดยอาศัยความรว่ มมือของผู้บริหาร ครู นักเรียน โรงเรียนบา้ นท่งุ สมอ ผ้ปู กครอง และ ชุมชน หรือหน่วยงานที่เกย่ี วข้อง ร่วมกนั วางแผนเตรยี มความพรอ้ ม 5.3 ผู้บรหิ ารโรงเรยี นบา้ นทงุ่ สมอ ให้การนิเทศ ติดตาม และเย่ียมชัน้ เรียนอยา่ งกัลยาณมิตร สง่ เสรมิ สนับสนนุ การจดั กิจกรรม อย่างตอ่ เน่ือง ลงพ้ืนทเ่ี ย่ยี มบา้ นนกั เรียนทวั่ ถงึ ทุกคน 5.4 การดำเนนิ การพัฒนานวัตกรรมใหส้ ำเร็จลลุ ว่ งเกิดสมั ฤทธ์ผิ ลอยา่ งมปี ระสิทธิภาพและเกดิ ประสทิ ธิผล นนั้ จะตอ้ งอาศยั ความร่วมมือทีด่ ีจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ต้องเข้ามามีส่วนรว่ มในการจัดการศกึ ษา อีกทงั้ ผู้บริหาร ครผู สู้ อนและผู้ปกครองมีส่วนสำคัญท่ีจะต้องค่อยๆ ปลกู ฝงั ให้นกั เรยี นเกิดการเรียนรอู้ ยา่ งต่อเน่ือง 6. บทเรียนที่ไดร้ บั (Lesson Learned) 6.1 ผู้เรียนไดศ้ กึ ษาเทคโนโลยี โดยใช้ความรูด้ ้าน ICT มาประยกุ ตใ์ ช้ในการเรยี นวิชาภาษาอังกฤษ และสามารถศึกษาเรียนร้เู พ่ิมเตมิ ไดด้ ้วยตนเองไดต้ ลอดเวลา โดยใชก้ ารจัดการเรียนการสอนผา่ นสอื่ เวบ็ ไซต์ ภาษาองั กฤษ ให้เป็นประโยชน์ในการแลกเปล่ียนเรยี นร้ดู ้านการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน และสามารถ เผยแพร่ให้ผ้อู นื่ ไดศ้ ึกษา 6.2 นวตั กรรมการจดั การเรยี นการสอนผ่านสื่อเวบ็ ไซต์วชิ าภาษาอังกฤษ ทำให้นักเรยี นมีสว่ นร่วมใน กระบวนการเรียนรเู้ ชิงปฏิบตั ิอยา่ งมีระบบ ส่งผลใหพ้ ัฒนาคณุ ภาพนักเรียน พัฒนาทกั ษะกระบวนการคิด ผสมผสาน วทิ ยาการสมยั ใหม่ในการศึกษาหาความรู้ และพัฒนาเปน็ ความรูท้ ค่ี งทนตลอดไป 6.3 นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนผา่ นสอ่ื เวบ็ ไซต์วชิ าภาษาองั กฤษ เป็นสื่อในการจัดกิจกรรม การเรียนรู้การปลูกฝังให้ผู้เรียนรู้จักการ ฟัง พูด อ่าน และเขยี นความรู้เน้ือหาลงบทเรยี นลงใบงานทค่ี รูผู้สอน ได้ให้ในแต่ละสปั ดาห์ 6.4 ในการนำนวตั กรรมไปใช้น้นั ครูตอ้ งจดั การเรยี นรแู้ บบให้นักเรยี นปฏบิ ัติจรงิ โดยวธิ ีการท่ีหลากหลาย เน้น วธิ ีสอนแบบศนู ย์การเรยี น (Learning Center) คือ การสอนที่เน้นความสำคญั ของนักเรียน หรอื ยดึ นักเรยี น เป็นศูนย์กลางและใชเ้ ทคนคิ การจดั การเรยี นการสอนทีใ่ ชส้ ่ือประสมและกระบวนการกลุ่มเป็นสงิ่ สำคัญ เพ่อื ส่งเสริมใหก้ ารเรยี นการสอนมีชีวติ ชวี า ช่วยให้ผู้เรยี นได้ศึกษาคน้ คว้าและเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง เพือ่ ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียน แสวงหาความร้ดู ้วยตนเอง เช่น การสอน การลงมือปฏิบัติจริงจะช่วยใหน้ กั เรยี นเกิดความรู้ (K) ทักษะการทำงาน (P) และเกิดเจตคตทิ ีด่ ี (A) ในการทำงานต่างๆ ท่ีครูมอบหมาย

15 7. การเผยแพร่ การจดั การเรยี นการสอนผา่ นสอื่ ออนไลนด์ ว้ ยเว็บไซต์ครูโหน่ง https://sites.google.com/view/kru-nong-65/home ในรายวชิ าภาษาองั กฤษ ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรยี นบ้านทุ่งสมอ อำเภอเขาค้อ จงั หวัด เพชรบูรณ์ สามารถนำมาบูรณาการ รว่ มกบั กล่มุ สาระอน่ื ๆ ในการจดั การเรยี นการสอนของนักเรยี นได้

16

17 แบบประเมนิ ความพึงพอใจของนกั เรยี นและผู้ปกครอง ในการใช้นวัตกรรม การจดั การเรียนการสอนดว้ ยเวบ็ ไซต์วิชาภาษาองั กฤษ *********************************************************************** คำชแี้ จง : ให้ประเมนิ กจิ กรรมโดยทำเครื่องหมาย √ ใหต้ รงกับความคิดเห็นของท่านมากท่สี ดุ ตอนที่ 1 ขอ้ มูลทั่วไปของผ้ตู อบแบบประเมนิ 1.1 เพศ ชาย หญิง 1.2 สถานะ นกั เรียน ผปู้ กครอง ตอนที่ 2 ความพึงพอใจเกีย่ วการดำเนินงานและการจดั กจิ กรรมตา่ งๆ ระดับความพงึ พอใจ 5 = มากทส่ี ุด 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = น้อย และ 1 = น้อยทีส่ ุด ข้อ รายการประเมิน ระดับความพึงพอใจ 1 5432 1. เว็บไซตม์ คี วามน่าสนใจและน่าเรียนรู้ 2. ความร้คู วามเข้าใจบทเรียนหลังการใช้สื่อ 3. ความสะดวกในการใชส้ อ่ื ออนไลน์ 4. สอ่ื เสรมิ สรา้ งความเข้าใจในบทเรยี น 5. ส่อื กระตุน้ การศึกษาค้นคว้าเพม่ิ เตมิ 6. อธบิ ายเนื้อหาเข้าใจง่าย 7. เวบ็ ไซตน์ ีส้ ามารถชว่ ยใหน้ กั เรยี นจดจำไดง้ ่ายและนานมากข้ึน 8. เป็นช่องทางในการติดต่อสื่อสารระหวา่ งครูและผเู้ รียน 9. นกั เรียนสง่ งานไดอ้ ย่างสะดวกรวดเร็ว 10. มคี วามรู้ความเข้าใจบทเรยี นก่อนการใชส้ ือ่ ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

18 แบบบนั ทกึ ผลการทดสอบของขอ้ สอบแบบ Authentic Examination Papers

19 แบบบนั ทึกผลการทดสอบของข้อสอบแบบ Authentic Examination Papers ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 4 วิชาภาษาองั กฤษ ชุดท่ี 1 ทดสอบ ทดสอบ ท่ี ชื่อ – สกลุ คร้ังที่ 1 คร้ังที่ 2 ผลตา่ ง สรุปผล 100 100 การทดสอบ 1 นักเรียนคนท่ี 1 0 ไมผ่ ่าน 2 นักเรียนคนท่ี 2 5 10 5 ผ่าน 3 นักเรียนคนที่ 3 682 ผา่ น 4 นักเรียนคนท่ี 4 7 -7 ไมผ่ ่าน 5 นักเรียนคนที่ 5 10 10 ผา่ น 6 นักเรียนคนท่ี 6 9 -9 ไมผ่ ่าน 7 นักเรียนคนที่ 7 7 -7 ไมผ่ า่ น 8 นักเรียนคนท่ี 8 6 -6 ไมผ่ า่ น 9 นักเรียนคนท่ี 9 6 -6 ไมผ่ ่าน 10 นักเรียนคนท่ี 10 8 10 2 ผ่าน 11 นักเรียนคนท่ี 11 10 10 0 ผา่ น 12 นักเรียนคนที่ 12 10 10 0 ผา่ น 13 นักเรียนคนที่ 13 10 10 0 ผ่าน 14 นักเรียนคนที่ 14 9 10 1 ผา่ น 15 นักเรียนคนที่ 15 0 ไมผ่ า่ น 16 นักเรียนคนท่ี 16 10 10 0 ผา่ น 17 นักเรียนคนท่ี 17 0 ไมผ่ า่ น 18 นักเรียนคนที่ 18 583 ผา่ น 19 นักเรียนคนที่ 19 781 ผา่ น 20 นักเรียนคนที่ 20 9 10 1 ผา่ น 21 นักเรียนคนที่ 21 9 10 1 ผ่าน 22 นักเรียนคนท่ี 22 9 10 1 ผา่ น 23 นักเรียนคนที่ 23 0 ไมผ่ า่ น รวมทงั้ หมด 142 134 -8 เฉล่ีย 7.89 9.57 -0.35 ค่าเบย่ี งเบนมาตรฐาน 1.78 0.85 4.24 รอ้ ยละ 61.74 58.26 -3.48 ช่วงคะแนนต้ังแต่ 5 ขึ้นไปผ่าน = 14 คิดเปน็ ร้อยละ 60.87

20 แบบบนั ทึกผลการทดสอบของข้อสอบแบบ Authentic Examination Papers ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 4 วิชาภาษาองั กฤษ ชุดที่ 2 ทดสอบ ทดสอบ ท่ี ชื่อ – สกลุ ครั้งท่ี 1 ครั้งท่ี 2 ผลตา่ ง สรุปผล 10 10 การทดสอบ 1 นักเรียนคนที่ 1 6 5 -1 ผ่าน 2 นักเรียนคนที่ 2 10 10 0 ผา่ น 3 นักเรียนคนที่ 3 990 ผา่ น 4 นักเรียนคนท่ี 4 7 -7 ไมผ่ ่าน 5 นักเรียนคนท่ี 5 10 10 0 ผา่ น 6 นักเรียนคนที่ 6 9 10 1 ผ่าน 7 นักเรียนคนที่ 7 990 ผา่ น 8 นักเรียนคนท่ี 8 990 ผ่าน 9 นักเรียนคนท่ี 9 990 ผา่ น 10 นักเรียนคนท่ี 10 9 10 1 ผา่ น 11 นักเรียนคนท่ี 11 9 10 1 ผ่าน 12 นักเรียนคนที่ 12 10 10 0 ผ่าน 13 นักเรียนคนท่ี 13 10 10 0 ผ่าน 14 นักเรียนคนที่ 14 9 10 1 ผ่าน 15 นักเรียนคนที่ 15 0 ไมผ่ ่าน 16 นักเรียนคนที่ 16 10 10 0 ผา่ น 17 นักเรียนคนที่ 17 0 ไมผ่ ่าน 18 นักเรียนคนที่ 18 10 -10 ไมผ่ ่าน 19 นักเรียนคนท่ี 19 0 ไมผ่ ่าน 20 นักเรียนคนที่ 20 10 10 0 ผ่าน 21 นักเรียนคนท่ี 21 8 10 2 ผา่ น 22 นักเรียนคนท่ี 22 990 ผ่าน 23 นักเรียนคนที่ 23 0 ไมผ่ ่าน รวมท้ังหมด 172 160 -12 เฉลี่ย 9.05 9.41 -0.52 ค่าเบย่ี งเบนมาตรฐาน 1.08 1.23 2.63 รอ้ ยละ 74.78 69.57 -5.22 ช่วงคะแนนต้ังแต่ 5 ข้ึนไปผ่าน = 17 คิดเปน็ ร้อยละ 73.91

21 แบบบนั ทึกผลการทดสอบของข้อสอบแบบ Authentic Examination Papers ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 4 วิชาภาษาองั กฤษ ชุดที่ 3 ทดสอบ ทดสอบ ที่ ชื่อ – สกลุ ครั้งท่ี 1 คร้ังที่ 2 ผลตา่ ง สรุปผล 10 10 การทดสอบ 1 นักเรียนคนท่ี 1 0 ไมผ่ า่ น 2 นักเรียนคนท่ี 2 8 10 2 ผา่ น 3 นักเรียนคนท่ี 3 10 10 0 ผา่ น 4 นักเรียนคนท่ี 4 0 ไมผ่ า่ น 5 นักเรียนคนที่ 5 9 10 1 ผ่าน 6 นักเรียนคนท่ี 6 8 10 2 ผา่ น 7 นักเรียนคนที่ 7 781 ผ่าน 8 นักเรียนคนท่ี 8 10 10 0 ผา่ น 9 นักเรียนคนท่ี 9 10 10 0 ผ่าน 10 นักเรียนคนท่ี 10 8 10 2 ผา่ น 11 นักเรียนคนท่ี 11 9 10 1 ผ่าน 12 นักเรียนคนท่ี 12 9 10 1 ผา่ น 13 นักเรียนคนท่ี 13 8 10 2 ผ่าน 14 นักเรียนคนที่ 14 9 10 1 ผ่าน 15 นักเรียนคนท่ี 15 0 ไมผ่ า่ น 16 นักเรียนคนท่ี 16 9 10 1 ผ่าน 17 นักเรียนคนที่ 17 0 ไมผ่ า่ น 18 นักเรียนคนที่ 18 7 -7 ไมผ่ ่าน 19 นักเรียนคนที่ 19 0 ไมผ่ า่ น 20 นักเรียนคนท่ี 20 9 10 1 ผา่ น 21 นักเรียนคนที่ 21 9 10 1 ผ่าน 22 นักเรียนคนที่ 22 8 10 2 ผ่าน 23 นักเรียนคนท่ี 23 0 ไมผ่ า่ น รวมทง้ั หมด 147 158 11 เฉลี่ย 8.65 9.88 0.48 ค่าเบยี่ งเบนมาตรฐาน 0.93 0.50 1.81 ร้อยละ 63.91 68.70 4.78 ช่วงคะแนนตั้งแต่ 5 ข้ึนไปผ่าน = 16 คิดเปน็ ร้อยละ 69.57

22 แบบบนั ทึกผลการทดสอบของข้อสอบแบบ Authentic Examination Papers ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 4 วิชาภาษาองั กฤษ ชุดท่ี 4 ทดสอบ ทดสอบ ท่ี ชื่อ – สกลุ ครั้งที่ 1 ครั้งท่ี 2 ผลตา่ ง สรุปผล 10 10 การทดสอบ 1 นักเรียนคนท่ี 1 0 ไมผ่ า่ น 2 นักเรียนคนที่ 2 9 10 1 ผ่าน 3 นักเรียนคนที่ 3 9 10 1 ผา่ น 4 นักเรียนคนที่ 4 0 ไมผ่ า่ น 5 นักเรียนคนท่ี 5 10 10 0 ผา่ น 6 นักเรียนคนท่ี 6 10 10 0 ผ่าน 7 นักเรียนคนที่ 7 891 ผา่ น 8 นักเรียนคนท่ี 8 7 6 -1 ผา่ น 9 นักเรียนคนท่ี 9 660 ผา่ น 10 นักเรียนคนท่ี 10 10 10 0 ผา่ น 11 นักเรียนคนท่ี 11 10 10 0 ผ่าน 12 นักเรียนคนที่ 12 10 10 0 ผ่าน 13 นักเรียนคนที่ 13 10 10 0 ผา่ น 14 นักเรียนคนท่ี 14 10 10 0 ผ่าน 15 นักเรียนคนท่ี 15 0 ไมผ่ า่ น 16 นักเรียนคนท่ี 16 10 10 0 ผา่ น 17 นักเรียนคนที่ 17 0 ไมผ่ า่ น 18 นักเรียนคนที่ 18 8 10 2 ผา่ น 19 นักเรียนคนท่ี 19 0 ไมผ่ า่ น 20 นักเรียนคนท่ี 20 10 10 0 ผ่าน 21 นักเรียนคนท่ี 21 10 10 0 ผ่าน 22 นักเรียนคนท่ี 22 891 ผ่าน 23 นักเรียนคนท่ี 23 0 ไมผ่ ่าน รวมท้งั หมด 155 160 5 เฉล่ีย 9.12 9.41 0.22 ค่าเบย่ี งเบนมาตรฐาน 1.27 1.33 0.60 ร้อยละ 67.39 69.57 2.17 ช่วงคะแนนต้ังแต่ 5 ขึ้นไปผ่าน = 17 คิดเปน็ รอ้ ยละ 73.91

23 แบบบนั ทึกผลการทดสอบของข้อสอบแบบ Authentic Examination Papers ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 4 วิชาภาษาองั กฤษ ชุดที่ 5 ทดสอบ ทดสอบ ท่ี ช่ือ – สกลุ ครั้งที่ 1 ครั้งท่ี 2 ผลตา่ ง สรุปผล 10 10 การทดสอบ 1 นักเรียนคนที่ 1 0 ไมผ่ ่าน 2 นักเรียนคนท่ี 2 891 ผ่าน 3 นักเรียนคนที่ 3 10 8 -2 ผ่าน 4 นักเรียนคนท่ี 4 0 ไมผ่ า่ น 5 นักเรียนคนที่ 5 10 10 0 ผา่ น 6 นักเรียนคนท่ี 6 10 8 -2 ผา่ น 7 นักเรียนคนที่ 7 880 ผา่ น 8 นักเรียนคนที่ 8 9 6 -3 ผ่าน 9 นักเรียนคนท่ี 9 9 8 -1 ผ่าน 10 นักเรียนคนที่ 10 9 10 1 ผา่ น 11 นักเรียนคนท่ี 11 10 10 0 ผ่าน 12 นักเรียนคนที่ 12 990 ผา่ น 13 นักเรียนคนท่ี 13 10 10 0 ผ่าน 14 นักเรียนคนที่ 14 8 10 2 ผ่าน 15 นักเรียนคนที่ 15 0 ไมผ่ า่ น 16 นักเรียนคนท่ี 16 10 10 0 ผ่าน 17 นักเรียนคนท่ี 17 0 ไมผ่ า่ น 18 นักเรียนคนท่ี 18 990 ผา่ น 19 นักเรียนคนท่ี 19 671 ผา่ น 20 นักเรียนคนที่ 20 9 10 1 ผ่าน 21 นักเรียนคนที่ 21 9 10 1 ผ่าน 22 นักเรียนคนที่ 22 891 ผ่าน 23 นักเรียนคนท่ี 23 0 ไมผ่ า่ น รวมทั้งหมด 161 161 0 เฉลี่ย 8.94 8.94 0.00 ค่าเบยี่ งเบนมาตรฐาน 1.06 1.21 1.13 รอ้ ยละ 70.00 70.00 0.00 ช่วงคะแนนตั้งแต่ 5 ขึ้นไปผ่าน = 18 คิดเปน็ รอ้ ยละ 78.26

24 แบบบนั ทึกผลการทดสอบของข้อสอบแบบ Authentic Examination Papers ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4 วิชาภาษาองั กฤษ ชุดที่ 6 ทดสอบ ทดสอบ ท่ี ช่ือ – สกลุ ครั้งที่ 1 คร้ังที่ 2 ผลตา่ ง สรุปผล 10 10 การทดสอบ 1 นักเรียนคนที่ 1 0 ไมผ่ า่ น 2 นักเรียนคนที่ 2 891 ผ่าน 3 นักเรียนคนท่ี 3 9 7 -2 ผ่าน 4 นักเรียนคนท่ี 4 0 ไมผ่ ่าน 5 นักเรียนคนท่ี 5 9 10 1 ผ่าน 6 นักเรียนคนท่ี 6 9 8 -1 ผ่าน 7 นักเรียนคนท่ี 7 8 10 2 ผ่าน 8 นักเรียนคนที่ 8 682 ผา่ น 9 นักเรียนคนที่ 9 682 ผา่ น 10 นักเรียนคนที่ 10 9 10 1 ผ่าน 11 นักเรียนคนที่ 11 9 7 -2 ผา่ น 12 นักเรียนคนท่ี 12 891 ผ่าน 13 นักเรียนคนท่ี 13 9 10 1 ผา่ น 14 นักเรียนคนท่ี 14 9 10 1 ผ่าน 15 นักเรียนคนท่ี 15 0 ไมผ่ า่ น 16 นักเรียนคนที่ 16 9 10 1 ผ่าน 17 นักเรียนคนที่ 17 0 ไมผ่ า่ น 18 นักเรียนคนที่ 18 561 ผ่าน 19 นักเรียนคนที่ 19 660 ผ่าน 20 นักเรียนคนท่ี 20 10 10 0 ผ่าน 21 นักเรียนคนที่ 21 8 10 2 ผ่าน 22 นักเรียนคนท่ี 22 9 8 -1 ผ่าน 23 นักเรียนคนท่ี 23 0 ไมผ่ า่ น รวมทงั้ หมด 146 156 10 เฉล่ีย 8.11 8.67 0.43 ค่าเบยี่ งเบนมาตรฐาน 1.41 1.46 1.16 รอ้ ยละ 63.48 67.83 4.35 ช่วงคะแนนตั้งแต่ 5 ข้ึนไปผ่าน = 18 คิดเปน็ รอ้ ยละ 78.26

25 แบบบนั ทกึ ผลการทดสอบของข้อสอบแบบ Authentic Examination Papers ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 4 วิชาภาษาองั กฤษ ชุดที่ 7 ทดสอบ ทดสอบ ท่ี ชื่อ – สกลุ คร้ังที่ 1 ครั้งท่ี 2 ผลตา่ ง สรุปผล 10 10 การทดสอบ 1 นักเรียนคนท่ี 1 0 ไมผ่ า่ น 2 นักเรียนคนท่ี 2 9 10 1 ผา่ น 3 นักเรียนคนที่ 3 10 10 0 ผ่าน 4 นักเรียนคนที่ 4 0 ไมผ่ ่าน 5 นักเรียนคนท่ี 5 10 10 0 ผ่าน 6 นักเรียนคนท่ี 6 9 10 1 ผ่าน 7 นักเรียนคนท่ี 7 880 ผ่าน 8 นักเรียนคนที่ 8 990 ผ่าน 9 นักเรียนคนที่ 9 990 ผา่ น 10 นักเรียนคนท่ี 10 9 10 1 ผ่าน 11 นักเรียนคนที่ 11 10 10 0 ผ่าน 12 นักเรียนคนท่ี 12 10 9 -1 ผ่าน 13 นักเรียนคนที่ 13 10 10 0 ผา่ น 14 นักเรียนคนท่ี 14 9 10 1 ผา่ น 15 นักเรียนคนที่ 15 0 ไมผ่ ่าน 16 นักเรียนคนที่ 16 10 10 0 ผา่ น 17 นักเรียนคนท่ี 17 0 ไมผ่ า่ น 18 นักเรียนคนที่ 18 583 ผา่ น 19 นักเรียนคนท่ี 19 561 ผ่าน 20 นักเรียนคนท่ี 20 10 10 0 ผา่ น 21 นักเรียนคนท่ี 21 8 10 2 ผา่ น 22 นักเรียนคนที่ 22 8 7 -1 ผ่าน 23 นักเรียนคนท่ี 23 0 ไมผ่ ่าน รวมทง้ั หมด 158 166 8 เฉล่ีย 8.78 9.22 0.35 ค่าเบย่ี งเบนมาตรฐาน 1.56 1.22 0.88 ร้อยละ 68.70 72.17 3.48 ช่วงคะแนนต้ังแต่ 5 ขึ้นไปผ่าน = 18 คิดเปน็ รอ้ ยละ 78.26

26 สรุปแบบบนั ทึกผลการทดสอบของข้อสอบแบบ Authentic Examination Papers ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 4 วิชาภาษาองั กฤษ รวม 7 ชุด ทดสอบ ทดสอบ ที่ ชื่อ – สกลุ คร้ังที่ 1 คร้ังท่ี 2 ผลตา่ ง สรุปผล 70 70 การทดสอบ 1 นักเรียนคนที่ 1 6 5 -1 ไมผ่ า่ น 2 นักเรียนคนท่ี 2 57 68 11 ผ่าน 3 นักเรียนคนท่ี 3 63 62 -1 ผ่าน 4 นักเรียนคนท่ี 4 14 0 -14 ไมผ่ ่าน 5 นักเรียนคนที่ 5 58 70 12 ผา่ น 6 นักเรียนคนที่ 6 64 56 -8 ผา่ น 7 นักเรียนคนท่ี 7 55 52 -3 ผา่ น 8 นักเรียนคนท่ี 8 56 48 -8 ผ่าน 9 นักเรียนคนท่ี 9 55 50 -5 ผ่าน 10 นักเรียนคนที่ 10 62 70 8 ผา่ น 11 นักเรียนคนท่ี 11 67 67 0 ผ่าน 12 นักเรียนคนท่ี 12 66 67 1 ผา่ น 13 นักเรียนคนที่ 13 67 70 3 ผา่ น 14 นักเรียนคนที่ 14 63 70 7 ผ่าน 15 นักเรียนคนท่ี 15 000 ไมผ่ ่าน 16 นักเรียนคนท่ี 16 68 70 2 ผ่าน 17 นักเรียนคนที่ 17 000 ไมผ่ า่ น 18 นักเรียนคนท่ี 18 49 41 -8 ผ่าน 19 นักเรียนคนท่ี 19 24 27 3 ไมผ่ า่ น 20 นักเรียนคนที่ 20 67 70 3 ผ่าน 21 นักเรียนคนท่ี 21 61 70 9 ผ่าน 22 นักเรียนคนที่ 22 59 62 3 ผ่าน 23 นักเรียนคนที่ 23 000 ไมผ่ า่ น รวมทงั้ หมด 1081 1095 14 เฉลี่ย 47.00 47.61 0.61 ค่าเบยี่ งเบนมาตรฐาน 24.98 27.42 6.45 ร้อยละ 67.14 68.01 0.87 ช่วงคะแนนต้ังแต่ 35 ขึ้นไปผ่าน = 17 คิดเปน็ รอ้ ยละ 73.91

27 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู กลมุ่ ตวั อยา่ ง 2 กลมุ่ ทมี่ คี วามสมั พนั ธก์ นั โดยมสี มมตฐิ าน ดงั น้ี H0 : คะแนนเฉลย่ี หลงั เรียน ไมแ่ ตกตา่ งจากคะแนนเฉลย่ี กอ่ นเรียน H1 : คะแนนเฉล่ยี หลงั เรียน สูงกวา่ คะแนนเฉลี่ย กอ่ นเรียน Paired Samples Statistics N Mean Std. Deviation Std. Error Mean Pair กอ่ นเรียน 23 47.00 24.980 5.209 1 หลงั เรียน 23 47.61 27.417 5.717 การแปลผล 1. Mean หมายถงึ คะแนนเฉลีย่ การทดสอบ ก่อนเรียน เทา่ กบั 47.00 คะแนน คะแนนเฉลย่ี การทดสอบ หลงั เรียน เทา่ กบั 47.61 คะแนน 2. N หมายถึง จานวนผเู้ รียน 2 กลมุ่ มจี านวนกลมุ่ ละ 23 คน 3. Std. Deviation หมายถงึ คา่ เบย่ี งเบนมาตรฐานคะแนนทดสอบ ก่อนเรียน เทา่ กบั 24.980 คะแนน คา่ เบย่ี งเบนมาตรฐานคะแนนทดสอบ หลงั เรียน เทา่ กบั 27.417 คะแนน 4. Std. Error Mean หมายถงึ คา่ คลาดเคลื่อนมาตรฐานของคะแนนทดสอบ ก่อนเรียน เทา่ กบั 5.209 คะแนน คา่ คลาดเคลอื่ นมาตรฐานของคะแนนทดสอบ หลงั เรียน เทา่ กบั 5.717 คะแนน Paired Samples Statistics N Correlation Sig. 0.000 Pair 1 กอ่ นเรียน กบั หลงั เรียน 23 0.974 การแปลผล กอ่ นเรียน และ หลงั เรียน การหาคา่ สมั ประสิทธ์ิสหสมั พนั ธ์ของคะแนนทดสอบ กบั หลงั เรียน และใช้ในการทดสอบความสมั พนั ธ์ของตวั แปร กอ่ นเรียน H0 : คะแนนทดสอบของผเู้ รียน กอ่ นเรียน กบั หลงั เรียน ไมม่ คี วามสมั พนั ธ์กนั หลงั เรียน มคี วามสมั พนั ธก์ นั H1 : คะแนนทดสอบของผเู้ รียน กอ่ นเรียน กบั โดยที่ –1 ≤ correlation (r) ≤ 1 จากผลการวเิ คราะห์คา่ Sig. =0.000 (p-value < .05) จงึ ปฏิเสธ H0 สรุปวา่ คะแนนทดสอบมคี วามสมั พนั ธก์ นั เน่ืองจากคา่ correlation (r) = 0.974 มคี า่ เป็นบวก และมที ศิ ทางความสมั พนั ธ์ อยใู่ นทศิ ทางเดยี วกนั

28 Paired Samples Statistics Sig. Paired Difference (2-tailed) 95% Confidence 0.655 Std. Interval of the Std. Error Difference Pair 1 Mean Deviation Mean Lower Upper t df กอ่ นเรียน กบั หลงั เรียน 0.61 6.451 1.345 -2.181 3.398 0.453 22 t-table = 2.0739 การแปลผล 1. Pair 1 หมายถึง การหาคา่ แตกตา่ งระหวา่ งคะแนน หลงั เรียน ลบ กอ่ นเรียน 2. Mean หมายถงึ คา่ เฉลยี่ คา่ ความแตกตา่ งของคะแนน หลงั เรียน และ ก่อนเรียน เทา่ กบั 0.61 3. Std. Deviation หมายถึง คา่ เบยี่ งเบนมาตรฐานของคา่ แตกตา่ ง (Sd) = 6.451 4. Std. Error Mean หมายถงึ คา่ คลาดเคลื่อนมาตรฐานของคา่ เฉลย่ี ของคา่ แตกตา่ ง (SEd) = 1.345 5. 95% Confidence Interval of the Difference หมายถงึ คา่ ช่วงความเชื่อมนั่ ท่ี 95% ของคา่ เฉลย่ี เทา่ กบั -2.18 < μd < 3.398 6. คา่ t หมายถงึ คา่ สถิตทิ ดสอบของการทดสอบ H0 : μd = 0 ในทนี่ ้ี t = 0.453 t-table= 2.0739 7. Sig. (2-tailed) หมายถงึ คา่ Significance ของการทดสอบ t = 0.655 ซ่ึงมากกวา่ α = 0.05 สรุปผลการวเิ คราะห์ ตารางท.่ี ..คา่ เฉล่ยี ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน คา่ สถติ ทิ ดสอบที และระดบั นัยสาคญั ทางสถติ ิ ในการทดสอบเปรียบเทยี บคะแนน กอ่ นเรียน กบั หลงั เรียน ของผเู้ รียน df Sig S.D. t 1 tailed Mean S.D. คา่ เฉลยี่ ของผลตา่ ง คา่ เฉลย่ี 22 0.328 ผลตา่ ง กอ่ นเรียน 47.00 24.980 0.61 6.451 0.453 หลงั เรียน 47.61 27.417 จากตารางท่ี.... พบวา่ การทดสอบคะแนนของผเู้ รียน มคี ะแนน กอ่ นเรียน เฉลีย่ เทา่ กบั 47.00 คะแนน และมคี ะแนน หลงั เรียน เฉลย่ี เทา่ กบั 47.61 คะแนน เมอ่ื เปรียบเทยี บระหวา่ งคะแนนสอบ ทง้ั สองคร้ัง พบวา่ คะแนนสอบ หลงั เรียน ไมแ่ ตกตา่ งจากคะแนนกอ่ นเรียน อยา่ งมนี ัยสาคญั ทางสถติ ททิ รี่่รี ะะดดบั ับ.005.5

29 ตัวอยา่ งแบบฝึกหดั และข้อสอบแบบ Authentic Examination Papers

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

41

42

43

44

45 ตัวอยา่ งผลงานของนักเรียน ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4

46

47


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook