กจิ กรรมท่ี 2.6 บอกสถติ กิ ารเกดิ พายุหมุนเขตร้อนที่เข้าสปู่ ระเทศไทย แนวตอบ สถิตพิ ายุหมุนเขตร้อนท่ีเข้าสปู่ ระเทศไทยฤดกู าลของการเกดิ พายุหมนุ เขตรอ้ นในทะเล จีนใต้หรืออ่าวไทยนั้น เกิดในช่วงฤดูฝน ต้ังแต่เดือนพฤษภาคมถึงตุลาคมหรือพฤศจกิ ายน ระหว่าง เดือนพฤษภาคมถึงกรกฎาคม มักไม่ปรากฏมากนัก อาจมีเพียง 1-2 ลูก แต่ในช่วงเดือนสิงหาคม และกนั ยายน อาจมถี ึง 3-4 ลกู พายุท่เี กดิ ในชว่ งน้ีมกั จะข้ึนฝ่ังบริเวณประเทศเวียดนาม แล้วคอ่ ยๆ อ่อนก้าลังลงตามล้าดับ ไม่มีอันตรายจากลมแรง แต่พายุท่ีเกิดในช่วงเดือนตลุ าคมและพฤศจิกายน ส่วนใหญ่จะผ่านมาทางตอนใตข้ องปลายแหลมญวน หากเป็นพายใุ หญ่เคลื่อนตัวเข้าสู่อ่าวไทย อาจ ท้าให้เกดิ ความเสยี หายได้ เชน่ พายุเขตร้อน “แฮร์เรยี ต” และพายไุ ต้ฝนุ่ “เกย์” ท่ีไดก้ ลา่ วมาแล้ว สว่ นพายุหมุนเขตร้อนในทะเลอันดามัน เกดิ ได้ใน 2 ชว่ งเวลาของปี คอื ในเดอื นเมษายน ถึงกลางเดือนพฤษภาคมช่วงหน่ึง และในกลางเดือนตุลาคมถึงธันวาคมอีกช่วงหนึ่ง โดยเกิดมากที่สุด ในเดือนพฤศจกิ ายน และเกดิ มากรองลงมาในเดือนพฤษภาคม ชว่ งท่ีพายหุ มนุ เขตรอ้ นเข้าส่ปู ระเทศไทยมากทีส่ ดุ เกิดขึน้ ในเดือนตุลาคม รองลงมา คือ เดอื นกันยายน จา้ นวนพายหุ มุนเขตรอ้ น ที่เข้าสปู่ ระเทศไทย โดยเฉลย่ี มปี ระมาณ 3 ลกู ต่อปี กจิ กรรมท่ี 2.7 จงอธบิ ายแนวทางการเตรยี มการปอ้ งกนั อันตรายจากวาตภัยตอ้ งปฏิบตั ิอยา่ งไร แนวตอบ แนวทางการเตรียมการปอ้ งกันอันตรายจากวาตภัยต้องปฏิบัติ ดงั นี้ 1. ติดตามสภาวะอากาศ ฟังค้าเตือนจากกรมอตุ นุ ยิ มวทิ ยาสมา้่ เสมอ 2. สอบถาม แจง้ สภาวะอากาศรา้ ยแก่กรมอุตนุ ิยมวิทยา 3. ซอ่ มแซม อาคารใหแ้ ขง็ แรง เตรียมป้องกนั ภยั ให้สัตวเ์ ลี้ยงและพชื ผลการเกษตร 4. ฝึกซ้อมการป้องกนั ภยั พบิ ตั ิ เตรียมพร้อมรับมือ และวางแผนอพยพหากจ้าเป็น 5. เตรียมเครอ่ื งอปุ โภค บรโิ ภค ไฟฉาย แบตเตอรี่ วิทยุกระเป๋าห้วิ ตดิ ตามข่าวสาร 6. เตรียมพรอ้ มอพยพเมอ่ื ได้รับแจง้ ใหอ้ พยพ ชดุ วชิ า การเรยี นรู้สู้ภยั ธรรมชาติ 3 - 191
แนวตอบ/เฉลยกิจกรรม หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 3 อทุ กภยั กิจกรรมที่ 3.1 จงบอกความหมายของอุทกภัย แนวตอบ อุทกภัย คือ ภัยหรืออันตรายที่เกิดจากน้าท่วม หรืออันตรายอันเกดิ จากภาวะที่น้าไหล เอ่อล้นฝ่ังแม่น้า ล้าธาร หรือทางน้าเข้าท่วมพ้ืนที่ซึ่งโดยปกติแล้วไม่ได้อยู่ใต้ระดับน้า หรือเกิดจาก การสะสมนา้ บนพ้ืนที่ซึ่งระบายออกไม่ทัน ท้าใหพ้ ืน้ ทน่ี ั้นปกคลุมไปดว้ ยน้า กจิ กรรมท่ี 3.2 จงบอกสาเหตุและปัจจัยของการเกิดอุทกภัย แนวตอบ สาเหตุและปจั จยั ส้าคัญท่ีท้าให้เกดิ อทุ กภัยมี 2 ประการ คือ การเกิดภยั ธรรมชาตแิ ละ การกระทา้ ของมนษุ ย์ 1. การเกิดภัยธรรมชาติ ได้แก่ 1.1 ฝนตกหนักจากพายุหรือพายุฝนฟ้าคะนอง เป็นพายุท่ีเกิดขึ้นติดต่อกันเป็น เวลานานหลายชั่วโมง มีปริมาณฝนตกหนักมากจนไม่อาจไหลลงสู่แม่น้าล้าธารได้ทันจึงท่วมพื้นท่ีที่ อยู่ในทต่ี า่้ ซ่ึงมักเกิดในช่วงฤดูฝนหรอื ฤดูร้อน 1.2 ฝนตกหนักจากพายุหมุนเขตร้อน เม่ือพายุน้ีเกิดที่แห่งใดแห่งหน่ึงเป็น เวลานานหรือแทบไม่เคล่ือนที่จะท้าให้บริเวณน้ันมีฝนตกหนักติดต่อกันตลอดเวลาย่ิงพายุมีความ รุนแรงมาก เช่น มีความรุนแรงขนาดพายุโซนร้อนหรือไต้ฝุ่น เมื่อเคลื่อนตัวไปถึงท่ีใดก็ท้าให้ที่นั้น เกิดพายุลมแรง ฝนตกหนักเป็นบริเวณกว้างและมีน้าท่วมขัง นอกจากนี้ถ้าความถ่ีของพายุที่ เคล่อื นทเี่ ข้ามาหรือผา่ นเกิดข้ึนตอ่ เนื่องกัน ถึงแม้จะในช่วงสัน้ แตก่ ท็ า้ ใหน้ ้าท่วมเสมอ 1.3 ฝนตกหนักในป่าบนภูเขา ท้าให้ปริมาณน้าบนภูเขาหรือแหล่งต้นน้ามีมาก มี การไหลเช่ียวอย่างรุนแรงลงสู่ท่ีราบเชิงเขา เกิดน้าท่วมข้ึนอย่างกะทันหัน เรียกว่าน้าท่วมฉับพลัน เกิดขึ้นหลังจากท่ีมีฝนตกหนักในชว่ งระยะเวลาส้ัน ๆ หรือเกิดก่อนท่ีฝนจะหยุดตก มักเกิดขึ้นในล้า ธารเล็ก ๆ โดยเฉพาะตอนที่อยู่ใกล้ต้นน้าของบริเวณลุ่มน้า ระดับน้าจะสูงข้ึนอย่างรวดเร็ว จังหวัด ที่อยใู่ กล้เคียงกบั เทอื กเขาสงู เชน่ จงั หวดั เชียงใหม่ เชยี งราย แม่ฮ่องสอน เปน็ ตน้ 1.4 ผลจากน้าทะเลหนุน ในระยะที่ดวงอาทิตย์และดวงจันทร์อยู่ในแนวท่ีท้าให้ ระดับน้าทะเลข้ึนสูงสุด น้าทะเลจะหนุนให้ระดับน้าในแม่น้าสูงมากข้ึน ประกอบกับระยะเวลาที่ น้าปา่ และน้าจากภูเขาไหลลงส่แู ม่นา้ นา้ ในแมน่ า้ จงึ ไม่อาจไหลลงสู่ทะเลได้ ทา้ ให้เกดิ นา้ เออ่ ล้นตล่ิง และท่วมเป็นบรเิ วณกวา้ ง ยงิ่ ถ้ามีฝนตกหนกั หรอื มพี ายุเกดิ ขึน้ ในช่วงน้ี ความเสียหายก็จะมมี ากข้ึ ชุดวิชา การเรียนรสู้ ูภ้ ยั ธรรมชาติ 3 - 192
1.5 ผลจากลมมรสมุ มกี าลังแรง มรสมุ ตะวันตกเฉียงใต้เป็นมรสุมที่พดั พาความช้ืน จากมหาสมุทรอินเดียเข้าสู่ประเทศไทย ตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม เมื่อมีก้าลังแรงเป็น ระยะเวลาหลายวัน ท้าให้เกิดคล่ืนลมแรง ระดับน้าในทะเลตามขอบฝ่ังจะสูงขึ้น ประกอบกับมีฝน ตกหนักท้าให้เกิดน้าท่วมได้ ย่ิงถ้ามีพายุเกิดข้ึนในทะเลจีนใต้ก็จะย่ิงเสริมให้มรสุมดังกล่าวมีก้าลัง แรงข้ึนอีก ส่วนมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดจากประเทศจีนเข้าสู่ประเทศไทย ปะทะขอบฝ่ัง ตะวนั ออกของภาคใต้ มรสมุ นมี้ ีกา้ ลังแรงเป็นคร้ังคราว เมือ่ บริเวณความกดอากาศสูงในประเทศจีน มีก้าลังแรงขน้ึ จะท้าใหม้ ีคล่ืนค่อนขา้ งใหญ่ในอา่ วไทย และระดบั น้าทะเลสูงกว่าปกติ บางคร้ังท้าให้ มฝี นตกหนักในภาคใต้ ตง้ั แต่จงั หวดั ชุมพรลงไปทา้ ใหเ้ กดิ น้าท่วมเปน็ บริเวณกวา้ ง 1.6 ผลจากแผ่นดินไหวหรือภูเขาไฟระเบิด เมื่อเกิดแผ่นดินไหว หรือภูเขาไฟบน บกและภูเขาไฟใต้น้าระเบิดเปลือกของผิวโลกบางส่วนจะได้รับความกระทบกระเทือนต่อเนื่องกัน บางสว่ นของผิวโลกจะสงู ขนึ้ บางสว่ นจะยบุ ลง ท้าใหเ้ กิดคล่ืนใหญใ่ นมหาสมทุ รซดั ข้นึ ฝ่ัง เกดิ น้าทว่ ม ตามหมู่เกาะและเมืองตามชายฝง่ั ทะเลไดเ้ กิดขึน้ บอ่ ยคร้งั ในมหาสมทุ รแปซฟิ กิ 2. การกระทาของมนษุ ย์ ไดแ้ ก่ 2.1 การตดั ไม้ทาลายป่าในพ้ืนท่ีเสี่ยงภัย เมอ่ื เกิดฝนตกหนกั จะทา้ ใหอ้ ตั ราการไหล สงู สุดเพม่ิ มากขึ้นและไหลมาเร็วข้ึนเป็นการเพ่มิ ความรนุ แรงของน้าในการท้าลายและยังเป็นสาเหตุ ของดนิ ถลม่ ด้วย นอกจากนยี้ งั ทา้ ใหด้ ินและรากไม้ขนาดใหญ่ถกู ชะล้างใหไ้ หลลงมาในทอ้ งน้า ทา้ ให้ ท้องน้าตื้นเขินไม่สามารถระบายน้าได้ทันที ท้ังก่อให้เกิดความสูญเสียชีวิตและบาดเจ็บของ ประชาชนทางดา้ นท้ายน้า 2.2 การขยายเขตเมืองลุกล้าเข้าไปในพื้นที่ลุ่มต่า ซึ่งเป็นแหล่งเก็บน้าธรรมชาติ ท้าให้ไม่มีท่ีรับน้า เม่ือน้าล้นตลิ่งก็จะเข้าไปท่วมบริเวณท่ีเป็นพ้ืนท่ีลุ่มต่้า ซึ่งเป็นเขตเมืองท่ีขยาย ใหมก่ อ่ น 2.3 การก่อสร้างโครงสร้างขวางทางน้าธรรมชาติ ท้าให้มีผลกระทบต่อการ ระบายน้าและกอ่ ให้เกิดปัญหานา้ ท่วม 2.4 การออกแบบทางระบายน้าของถนนไม่เพียงพอ ท้าให้น้าล้นเอ่อในเมือง ท้า ความเสยี หายให้แก่ชมุ ชนเมืองใหญ่ เนอื่ งจากการระบายนา้ ได้ชา้ มาก 2.5 การบริหารจัดการน้าที่ไม่ดี เป็นสาเหตุหน่ึงที่ท้าให้เกิดน้าท่วมโดยเฉพาะ บริเวณด้านทา้ ยเขื่อนหรืออา่ งเกบ็ น้า ชดุ วชิ า การเรยี นรู้สภู้ ยั ธรรมชาติ 3 - 193
กจิ กรรมท่ี 3.3 จงบอกผลกระทบทเ่ี กดิ จากอุทกภยั แนวตอบ ผลกระทบท่ีเกดิ จากอทุ กภัย ได้แก่ 1. ผลกระทบทางดา้ นการศึกษา สถานศึกษาท่ถี กู น้าท่วมเกิดความเสยี หายเพอ่ื ความ ปลอดภัยของนักเรียน นักศึกษา และลดปัญหาการเดินทาง ท้าให้ต้องปิดการเรียนการสอน ซ่ึง จา้ เป็นต้องมกี ารสอนชดเชย หรือการปิดภาคเรียนไม่ตรงตามเวลาท่ีกา้ หนด 2. ผลกระทบทางดา้ นการเกษตร เมอื่ เกิดอทุ กภัย จะท้าใหผ้ ลผลติ ทางดา้ นการเกษตร เช่น ข้าว พืชไร่ พืชสวน ตลอดจนพืชผลทางการเกษตรทุกชนิดท่ีได้รับผลกระทบ ได้รับความ เสียหาย สว่ นดา้ นการประมง การปศุสตั ว์ กไ็ ดร้ บั ผลกระทบทง้ั สิ้น นอกจากนีเ้ คร่ืองมอื เครอื่ งจกั ร และอุปกรณ์ต่าง ๆ จะได้รับความเสียหาย ส่งผลกระทบต่อราคาข้าว พืชไร่ พืชสวน สัตว์น้าและ ผลผลิตอ่ืน ๆ ท้าให้การผลิต การขนส่งมีต้นทุนสูงขึ้นกว่าปกติ ท้ังในระดับประเทศและระดับโลก โดยเฉพาะอย่างยง่ิ เกษตรกรทไี่ ม่มเี งนิ ทุนสา้ รองจะต้องกูห้ นีย้ มื สนิ เพือ่ ลงทุนทา้ การเกษตรต่อไป 3. ผลกระทบด้านอุตสาหกรรมนิคมอุตสาหกรรมหลายแห่งที่ได้รับผลกระทบจากการ เกิดอุทกภัย ท้าให้เกิดความขัดข้องในการผลิตและการขาดแคลนปัจจัยเพื่อป้อนโรงงานทั่วโลก ประเทศที่มีฐานการผลิตในประเทศไทย เช่น ญี่ปุ่น ก็ได้รับผลกระทบ ส่งผลให้ก้าไรของบริษัท ลดลงตามไปด้วย รายได้ลูกจ้างในไทยก็ได้รับผลกระทบด้วยเช่นกัน นอกจากน้ียังส่งผลต่อการ ส่งออก เพราะขาดวตั ถดุ บิ ในการผลติ สนิ ค้า 4. ผลกระทบด้านเศรษฐกิจจากการขาดวัตถุดิบในการผลิตสินค้าอาจท้าให้สินคา้ ขาด ตลาด ประกอบกับการจัดส่งที่ยากล้าบากจะย่ิงท้าให้ราคาสินค้าเพิ่มข้ึนและอาจส่งผลกระทบท่ัว โลก เพราะไทยเป็นแหล่งผลิตใหญ่ของโลกในปัจจุบัน อุทกภัยยังส่งผลให้อัตราการเติบโตทาง เศรษฐกิจลดลง เนื่องจากความเสียหายทางด้านทรัพย์สินและความสูญเสียจากค่าเสียโอกาส เช่น การผลิต การส่งออก เปน็ ตน้ 5. ผลกระทบด้านการสาธารณสุข เมื่อเกิดน้าท่วมติดต่อกันยาวนาน มักจะพบกับ ปญั หาเกิดสิ่งปนเปื้อนของแหล่งน้า และโรคทม่ี ากบั น้า ท้าให้เกดิ โรคระบาด เชน่ โรคตาแดง โรค ไข้ฉ่ีหนู โรคอุจจาระร่วง น้ากัดเท้า น้ากัดเล็บฯลฯ จึงส่งผลให้ประสบปัญหาการขาดยาและ เวชภัณฑ์ รวมถึงสุขภาพจิตของประชาชนมีเพ่ิมขึ้นดว้ ย ชดุ วชิ า การเรยี นรู้ส้ภู ยั ธรรมชาติ 3 - 194
กิจกรรมที่ 3.4 สมมติว่าผู้เรียนเป็นนายกองค์การบริหารส่วนตาบลฟ้างาม ท่านคิดว่า ตามวงจรการรับมืออุทกภัยจากรูปภาพด้านล่าง ท่านจะวางแผนรับมือการเกิดอุทกภัยอย่างไร บา้ ง (อธบิ าย) แนวตอบ ทา่ นสามารถตอบโดยคา้ นึงถงึ การเตรยี มพร้อมรับมอื โดยพิจารณาจาก ก่อนเกิด ขณะ เกดิ และหลงั เกิดวาตภยั เป็นหลกั ในการพจิ ารณา การเตรยี มความพรอ้ มก่อนการเกิดภยั - การปอ้ งกันและลดผลกระทบ - การประเมินความเสยี่ ง ขณะเกดิ ภยั - การเผชญิ เหตุการณฉ์ ุกเฉนิ หลงั การเกดิ ภยั การพิจารณาความถกู ตอ้ งในค้าตอบให้อยู่ในดลุ ยพินิจของผู้สอน ชดุ วิชา การเรียนร้สู ูภ้ ยั ธรรมชาติ 3 - 195
กจิ กรรมที่ 3.5 ให้ใสเ่ ครอ่ื งหมาย หน้าขอ้ ท่ีถกู และใหใ้ ส่เครื่องหมาย หนา้ ขอ้ ทผี่ ดิ แนวตอบ ขอ้ 1-5 การเตรยี มตวั รับมอื ก่อนการเกิดอทุ กภัย ....... 1. แดงรอให้มกี ารเตือนภยั ก่อนจึงค่อยเตรยี มเก็บของในบ้าน ...... 2. ขาวตรวจเชค็ สายไฟ ระบบไฟฟ้า และถังแก๊ส ...... 3. ดา้ ร่วมกันกบั คนในชมุ ชนวางแผนปอ้ งกนั น้าท่วมของหมบู่ า้ น ...… 4. เขยี วคาดคะเนพน้ื ท่ีเส่ียงต่อการเกิดอุทกภยั …… 5. สุภาพใช้เครอื่ งปรบั อากาศทถ่ี ูกนา้ ท่วม ขอ้ 6-10 การปฏิบัตติ วั ขณะระหว่างการเกดิ อุทกภัย ...... 6. ประเสริฐตดั สะพานไฟและปิดแกส๊ ในบา้ น ...... 7. ประสาทรีบน้าทรพั ยส์ ินออกมากอ่ นตัวเองเม่อื เกิดสถานการณ์ฉกุ เฉนิ ...…. 8. ประวิทยว์ ่ายน้าเลน่ ขณะนา้ ทว่ ม ...…. 9. ประสงค์ขับรถยนตฝ์ า่ กระแสนา้ เช่ียวกราก …… 10. ประพาสตดั กระแสไฟฟา้ ภายในบ้าน เพื่อปอ้ งกันไฟฟ้าดูดเสียชีวติ ขอ้ 11-15 การปฏบิ ัตติ ัวหลงั เกดิ อุทกภยั …… 11. สุภาสา้ รวจความเสยี หายของโครงสร้างตัวบ้าน ระเบียง หลงั คา ใหแ้ น่ใจ ว่าปลอดภัย …... 12. สุชาดาถ่ายรูปความเสียหายเพ่ือน้าไปเรียกร้องค่าชดเชยจากประกันภัย หรอื เงนิ ทดแทนชว่ ยเหลือจากหนว่ ยงานรฐั ท่ีเกี่ยวขอ้ ง …... 13. สุวดีเปิดปมั๊ นา้ ประปาหลงั น้าทว่ มเพ่อื ใช้ทา้ ความสะอาดทนั ที …... 14. ฟา้ ติดตามขา่ วพยากรณอ์ ากาศ …... 15. สชุ ีพตรวจสอบไฟฟา้ ร่ัวในบรเิ วณน้าขงั โดยใช้ไขควงตรวจกระแสไฟฟ้า ตอ่ ดว้ ยด้ามไม้กอ่ นใชอ้ ุปกรณไ์ ฟฟ้า ชุดวิชา การเรียนรู้สู้ภยั ธรรมชาติ 3 - 196
กจิ กรรมท่ี 3.6 ใหผ้ เู้ รยี นประดิษฐ์เครือ่ งวัดปริมาณนา้ ฝนจากขวดนา้ อดั ลม อุปกรณ์ 1. ขวดน้าอดั ลมขนาด 2 ลิตร 2. คตั เตอรห์ รอื กรรไกร 3. ปูนซเี มนตผ์ สมพร้อมใช้ 4. สเกลวัดมหี น่วยเปน็ มลิ ลิเมตร 5. เทปใส หรือสติกเกอร์ใส ขั้นตอนการทาเครอ่ื งวัดปริมาณน้าฝนอย่างง่าย 1. ตดั กระบอกน้าอดั ลมใหม้ ีรูปทรงกระบอกตามรอยปะ 2. ใสป่ ูนตรงก้นขวดนา้ อัดลมทง้ิ ไวใ้ ห้แห้ง 3. ติดสตก๊ิ เกอร์ วดั ระดบั น้า ชุดวชิ า การเรียนรสู้ ้ภู ยั ธรรมชาติ 3 - 197
ให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่ม เป็น 5 กลุ่ม แต่ละกลุ่มช่วยกันออกแบบเคร่ืองวัดปริมาณน้าฝนจากวัสดุ ท้องถ่ิน และนาไปทดลองใช้ แล้วนามาเปรียบเทียบกับเครื่องวัดปริมาณน้าฝนจากขวด น้าอัดลม และบันทกึ ผลในตารางที่กาหนดให้ เครอ่ื งวัด ขนาดเส้นผ่า น้าหนกั ความโปรงใส ปรมิ าณนา้ ต้นทุน ปรมิ าณน้าฝน ศูนยก์ ลาง (กรัม) มองเห็น มองไม่เห็น ทว่ี ัดได้ การผลิต เคร่ืองวดั ปรมิ าณน้าฝน (ซ.ม.) ข้างใน ขา้ งใน (ม.ม.) (บาท) จากขวดนา้ อัดลม กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3 กลมุ่ ที่ 4 กล่มุ ท่ี 5 สรุปผลการทดสอบคณุ ภาพเครื่องวัดปริมาณน้าฝน แนวตอบ อยู่ในดุลยพนิ จิ ของผูส้ อน ชดุ วชิ า การเรียนรู้สู้ภยั ธรรมชาติ 3 - 198
เฉลย/แนวตอบกจิ กรรม หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 4 ดินโคลนถล่ม กิจกรรมท่ี 4.1 แบ่งผู้เรียนออกเป็น 5 กลุ่ม ๆ ละ เท่า ๆ กัน และให้ผู้เรียนชมวดี ิทศั น์รายการ ต้องรอด ตอน ดินโคลนถล่ม (ครูเตรียมมา) จากน้ันให้แต่ละกลุ่มวเิ คราะหเ์ นื้อหาจากวดี ิทัศน์ท่ี ได้ชมไปแล้ว และให้เวลาผู้เรียนค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมทางอินเตอร์เน็ต โดยประเด็นในการ วิเคราะห์ สบื เสาะ สบื ค้น คอื 1. ความหมายของการเกิดดินโคลนถล่ม 2. ลักษณะการเกดิ ดินโคลนถล่ม 3. สาเหตุการเกิดดินโคลนถล่ม 4. ปัจจยั สาคญั ในการเกดิ ดินโคลนถลม่ 5. สญั ญาณบอกเหตุก่อนเกดิ ดินโคลนถล่ม 6. พ้ืนท่ีเสยี งภัยดินโคลนถลม่ 7. วธิ ีการป้องกนั และลดผลกระทบดนิ โคลนถลม่ หลังจากได้ข้อมูลแล้ว ให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมานาเสนอตามหัวข้อท่ีกาหนดให้ท้ัง 7 ประเด็น กลมุ่ ละ 3-5 นาที แนวตอบ 1. ความหมายของการเกดิ ดินโคลนถล่ม การเกิดดินโคลนถลม่ หมายถึง ปรากฏการณ์ท่สี ่วนของพื้นดิน ไม่ว่าจะเป็นก้อนหิน ดิน ทราย โคลนหรือเศษดิน เศษต้นไม้ เกิดการไหล เลื่อน เคล่ือน ถล่ม พังทลาย หรือหล่นลงมา ตามท่ีลาดเอียง อันเน่ืองมาจากแรงดึงดูดของโลก ในขณะท่ีส่วนประกอบของชั้นดิน ความชื้นและ ความชมุ่ น้าในดินทา้ ให้เกิดการเสยี สมดุล 2. ลกั ษณะการเกดิ ดินโคลนถล่ม มี 5 ลักษณะใหญ่ ๆ ดงั นี้ 2.1 การถล่มแบบร่วงหลน่ มักจะเป็นกอ้ นหนิ ท้ังกอ้ นใหญแ่ ละก้อนเล็กลักษณะอาจ ตกลงมาตรง ๆ หรอื ตกแลว้ กระดอนลงมาหรืออาจกลง้ิ ลงมาตามลาดเขากอ้ ได้ 2.2 การถล่มแบบล้มคว้่ามักจะเกิดกับหินที่เป็นแผ่นหรือเป็นแท่งหินท่ีแตกและล้ม ลงมา 2.3 การถล่มแบบการเลื่อนไถล เป็นการเคลื่อนตัวของดินหรือหินจากท่ีสูงไปสู่ที่ ลาดต่้าอย่างช้า ๆ แต่หากถึงทที่ ่มี นี ้าชมุ่ หรอื พื้นท่ีท่ีมีความลาดชันสูง การเคลื่อนที่อาจเรว็ ขึน้ ก็ได้ ชุดวิชา การเรยี นรู้สู้ภยั ธรรมชาติ 3 - 199
2.4 การไหลของดิน (Flows) เกิดจากดินชุ่มน้ามากเกินไป ท้าให้เกิดดินโคลนไหล ลงมาตามท่ีลาดชัน โดยการไหลของดินแบบนี้ ดินไหลอาจพัดพาเศษทราย ต้นไม้ โคลน หรือแม้น กระทงั่ กอ้ นหินเล็ก ๆ ลงมาด้วยและหากการไหลของดนิ พัดผา่ นเข้ามาหมบู่ ้านก็อาจท้าให้เกดิ ความ เสยี หายร้ายแรงได้ 2.5 การถล่มแบบแผอ่ อกไปด้านขา้ ง (Lataral Spreading) มกั เกดิ ในพน้ื ทท่ี ่ีลาดชนั น้อยหรือพื้นที่ค่อนข้างราบโดยเกิดจากดินที่ชุ่มน้ามากเกินไปท้าให้เนื้อดินเหลว และไม่เกาะตัวกนั จนแผ่ตวั ออกไปดา้ นขา้ ง ๆ โดยเฉพาะด้ายทมี่ คี วามลาดเอยี งหรอื ต้า่ กวา่ 3. สาเหตุการเกดิ ดนิ โคลนถลม่ การเกดิ ดินโคลนถล่ม มีสาเหตุหลกั 2 สาเหตุ ไดแ้ ก่ 3.1 สาเหตุทเ่ี กิดตามธรรมชาติ ไดแ้ ก่ - โครงสร้างของดนิ ทีไ่ ม่แขง็ แรง - พ้ืนท่มี คี วามลาดเอยี งและไม่มตี ้นไม้ยดึ หนา้ ดนิ - การเกิดเหตกุ ารณฝ์ นตกหนกั และตกนาน ๆ - ฤดูกาลโดยเฉพาะฤดูฝนส่วนส้าคญั ทา้ ให้เกดิ การออ่ นตัวและดินถลม่ - ความแห้งแล้งและไฟปา่ ท้าลายต้นไม้ยดึ หนา้ ดนิ - การเกิดแผน่ ดินไหว - การเกิดคล่นื สึนามิ เปน็ ตน้ 3.2 สาเหตุทีเ่ กดิ จากการกระทา้ ของมนุษย์ - การขดุ ไหลเ่ ขาท้าให้ไหลเ่ ขาชนั มากข้นึ - การบดอัดดนิ เพ่ือการก่อสรา้ งก็อาจท้าใหด้ ินขา้ งเคียงเคลือ่ นตวั - การสบู นา้ ใต้ดิน น้าบาดาลที่มากเกินไปท้าใหเ้ กิดโพรงใตด้ ินหรือการอัดน้าลง ในดนิ มากเกินไปกท็ ้าใหโ้ ครงสรา้ งดินไมแ่ ขง็ แรงได้ - การถมดินบนสนั เขาก็เปน็ การเพิ่มน้าหนกั ใหด้ ินเม่อื มีฝนตกหนักอาจท้าให้ดิน ถล่มได้ - การตดั ไมท้ า้ ลายป่าทา้ ให้ไมม่ ตี น้ ไม้ยดึ เกาะหนา้ ดนิ - การสรา้ งอา่ งเกบ็ นา้ บนกเ็ ปน็ การเพม่ิ น้าหนกั บนภูเขาและยังท้าให้น้าซมึ ลงใต้ ดินจนเสียสมดุล เป็นต้น ชุดวิชา การเรยี นรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 3 - 200
4. ปจั จยั สาคญั ในการเกดิ ดินโคลนถล่ม ประกอบดว้ ยปจั จัยหลกั 4 ประการ ได้แก่ 4.1 สภาพธรณวี ิทยา ปกติช้ันดินทเ่ี กดิ การถล่มลงมาจากภูเขา เป็นช้ันดนิ ท่ีเกิดจาก การผกุ รอ่ นของหนิ ใหเ้ กดิ เป็นดิน ซง่ึ ข้ึนอยู่กบั ชนิดของหนิ และโครงสร้างทางธรณีวทิ ยา 4.2 สภาพภูมิประเทศ สภาพภูมิประเทศที่ท้าให้เกิดดินถล่มได้ง่าย ได้แก่ภูเขาและ พื้นท่ีทมี่ ีความลาดชนั สงู หรือมีทางน้าคดเคย้ี วจ้านวนมาก 4.3 ปริมาณน้าฝน ดินโคลนถล่มจะเกิดข้ึนเม่ือฝนตกหนักหรือตกต่อเน่ืองเป็น เวลานาน น้าฝนจะไหลซมึ ลงไปในชน้ั ดนิ จนชนั้ ดินอมิ่ ตัวดว้ ยน้า ทา้ ให้ความดนั ของน้าในดินเพิ่มข้ึน เป็นการเพิ่มความดันในช่องวา่ งของเมด็ ดนิ ดันใหด้ ินมีการเคล่ือนทลี่ งมาตามลาดเขาได้งา่ ย 4.4 สภาพสิ่งแวดล้อมสภาพส่ิงแวดล้อมท่ีเปลี่ยนแปลงไป อาจท้าให้เกิดดินโคลน ถล่มได้ พ้ืนท่ีต้นน้า ล้าธาร ป่าไม้ ถูกท้าลายในหลาย ๆ จุด การบุกรุกท้าลายป่าไม้เพื่อท้าไร่และ ท้าการเกษตรบนท่สี ูง เป็นตน้ 5. สัญญาณบอกเหตุก่อนเกิดดินโคลนถล่ม ก่อนเกิดเหตุการณ์ดินโคลนถล่มอาจ สงั เกตได้จากสัญญาณ ดงั ต่อไปนี้ 5.1 มฝี นตกหนกั ถึงหนักมากตลอดทงั้ วัน 5.2 มนี ้าไหลซึมหรอื น้าพพุ ุง่ ข้ึนมาจากใต้ 5.3 ระดับน้าในแมน่ ้าล้าห้วยเพิม่ สูงขน้ึ อย่างรวดเรว็ ผิดปกติ 5.4 สขี องนา้ มีสีขุ่นมากกว่าปกติ เปลีย่ นเป็นเหมืองสีดินภูเขา 5.5 มีก่งิ ไมห้ รอื ท่อนไมไ้ หลมากบั กระแสน้า 5.6 เกดิ ชอ่ งทางเดินน้าแยกข้ึนใหม่หรอื หายไปจากเดิมอย่างรวดเรว็ 5.7 เกดิ รอยแตกบนถนนหรอื พืน้ ดนิ อยา่ งรวดเรว็ 5.8 ดนิ บรเิ วณฐานรากของตึกหรอื ส่ิงกอ่ สร้างเกิดการเคลอ่ื นตวั อยา่ งกะทนั หนั 5.9 โครงสร้างต่าง ๆ เกดิ การเคล่อื นหรือดันตวั ขึ้น เช่น ถนน ก้าแพง 5.10 ตน้ ไม้ เสาไฟ ร้ัว หรือกา้ แพง เอยี งหรอื ล้มลง เปน็ ต้น ชดุ วชิ า การเรยี นรสู้ ูภ้ ยั ธรรมชาติ 3 - 201
6. พื้นทเ่ี สียงภยั ดนิ โคลนถลม่ พ้นื ท่ีท่มี ีโอกาสเกดิ ภัยโคลนดินถล่ม ไดแ้ ก่ 6.1 พื้นที่ตามลาดเชงิ เขาหรือบรเิ วณที่ล่มุ ใกล้เชงิ เขาทีม่ ีการพังทลายของดนิ สูง 6.2 พื้นที่เป็นภูเขาสูงชันหรือหน้าผาท่ีเป็นหินผุพังง่ายและมีชั้นดินหนาจากการผุ กรอ่ นของหิน 6.3 พ้ืนที่ท่ีเป็นทางลาดชัน เช่น บริเวณถนนท่ีตัดผ่านหุบเขา บริเวณล้าห้วย บริเวณเหมืองใตด้ ินและเหมืองบนดนิ 6.4 บริเวณทดี่ ินลาดชันมากและมีหินก้อนใหญ่ฝังอยู่ในดิน โดยเฉพาะบรเิ วณที่ใกล้ ทางนา้ เชน่ ห้วย คลอง แม่น้า 6.5 ที่ลาดเชงิ เขาท่ีมกี ารขุดหรือถม 6.6 สภาพพืน้ ท่ีตน้ น้าลา้ ธารท่มี ีการทา้ ลายป่าไม้สูง ชัน้ ดนิ ขาดรากไมย้ ดึ เหนยี่ ว 6.6 เป็นพนื้ ทที่ เ่ี คยเกดิ ดินถล่มมาก่อน 7. วิธีการปอ้ งกันและลดผลกระทบดนิ โคลนถล่มการป้องกันการเกิดดินโคลนถล่มที่ เกิดข้ึนเองตามธรรมชาตินั้น นอกจากจะเป็นหน้าท่ีของหน่วยงานท่ีรับผิดชอบโดยตรงแล้ว คนใน ชุมชนควรร่วมมือกันในการก้าหนดแนวทางการป้องกันภัยพิบัติการเกิดดินโคลนถล่มในพื้นท่ีเสี่ยง สรุปไดด้ ังนี้ 7.1 ร่วมกันดูแล รักษา และป้องกันไม่ให้มีการตัดต้นไม้ท้าลายป่าในพ้ืนท่ีป่าและ บริเวณลา้ หว้ ยใหม้ คี วามอุดมสมบูรณ์ 7.2 คนในชุมชนควรร่วมกันจัดสรรเขตพื้นท่ีป่าเป็นเขตป่าอนุรักษ์และเขตป่าใช้ ประโยชนอ์ อกจากกัน เพอ่ื ป้องกนั การโค่นลม้ ต้นไม้ 7.3 ส้ารวจบรเิ วณพ้ืนทท่ี ี่มคี วามเส่ียงในการเกดิ ดินโคลนถลม่ 7.4 ควรทา้ ลายหรือขนยา้ ยเศษกงิ่ ไม้ ตน้ ไมแ้ หง้ ทถ่ี กู พดั มาสะสมขวางทางนา้ 7.5 ควรท้าการอพยพประชาชนท่ีตั้งบ้านเรือนกีดขวางทางน้าข้ึนไปอยู่บนเนินหรือ ท่ีสูงช่ัวคราว โดยเฉพาะอย่างยง่ิ เม่ือมกี ารเตอื นภัยว่าจะเกดิ ฝนตกหนักตดิ ตอ่ กัน 7.6 จดั ตงั้ กลมุ่ เครือข่ายเฝ้าระวังและแจง้ เหตแุ ผ่นดินถล่ม 7.7 จัดท้าแผนการอพยพแผนการช่วยเหลือและฟื้นฟผู ู้ประสบภัย และควรฝึกซ้อม ตามแผนการอพยพในโอกาสที่เสยี่ งจะเกดิ แผ่นดินถลม่ ชุดวิชา การเรยี นรสู้ ู้ภยั ธรรมชาติ 3 - 202
กิจกรรมท่ี 4.2 ถา้ หากผเู้ รียนมีตาแหน่งผใู้ หญ่บ้าน ท่านจะมีการเตรยี มความพร้อมอยา่ งไร แนวตอบ 1. การเตรียมก่อนเกิดดนิ โคลนถลม่ 1.1 เข้าร่วมเครือข่ายเฝ้าระวังแจ้งเตือนภัยดินโคลนถล่ม ติดต่อประสานงาน หนว่ ยงานท่ีเก่ียวขอ้ ง ใหค้ วามรูเ้ ก่ียวกบั ดนิ โคลนถล่ม 1.2 จัดประชุมวางแผนเฝ้าระวังระดับชุมชนด้านดินโคลนถล่ม มอบหมายหน้าที่ เช่น จัดเวรยามเฝ้าระวงั จดุ ตน้ น้า ตรวจดเู ครอื่ งวดั ปรมิ าณน้าฝน วางแผนการอพยพ เปน็ ต้น 1.3 จัดประชุมวางแผนการป้องกันและลดการเกิดดินโคลนถล่ม เช่น ปลูกต้นไม้ เพ่ือ ป้องกันและลดผลกระทบจากดินโคลนถลม่ จดั ทา้ โครงสร้างป้องกนั ในลาดเขาที่เป็นดนิ จดั ท้า โครงสรา้ งปอ้ งกนั ในลาดเขาท่ีเปน็ หิน เปน็ ต้น 1.4 ติดตามขา่ วสาร แจ้งขอ้ มลู ขา่ วสารให้ลกู บ้านเป็นระยะ 2. การปฏิบตั ิขณะเกิดดนิ โคลนถล่ม 2.1 ต้ังสติ แจ้งเตือนภัยดินโคลนถล่ม 2.2 อพยพชาวบ้านเข้าจดุ รวมพล 2.3 เตรียมการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ตามแผนการช่วยเหลือและฟ้ืนฟูผู้ประสบภยั แผน่ ดนิ ถล่ม 3. การปฏิบัติหลังเกดิ ดนิ โคลนถล่ม 3.1 ตดิ ตามสถานการณแ์ ละข่าวการพยากรณอ์ ากาศทางสถานวี ิทยุ 3.2 ตรวจนับจา้ นวนลกู บ้าน ตรวจความเสยี หายเบือ้ งต้น 3.3 ติดตอ่ ขอรับความชว่ ยเหลอื และฟน้ื ฟูจากบุคคลหรือหน่วยงานท่ีเกยี่ วขอ้ ง เช่น - ป้องกนั และบรรเทาภยั สาธารณภยั (ปภ.) - นายอ้าเภอ - ผูว้ า่ ราชการจังหวัด - หนว่ ยงานอนื่ ๆท่เี กีย่ วขอ้ ง ชุดวิชา การเรยี นร้สู ูภ้ ยั ธรรมชาติ 3 - 203
เฉลย/แนวตอบกิจกรรม หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 5 ไฟปา่ กิจกรรมที่ 5.1 ให้ผเู้ รียนอธิบายความหมายของคาวา่ \"ไฟปา่ \" มาพอสังเขป แนวตอบ ไฟปา่ คอื ไฟทเี่ กิดจากสาเหตุอันใดกต็ าม แลว้ เกดิ การลุกลามไปไดโ้ ดยอิสระปราศจาก การควบคมุ ทง้ั นไ้ี มว่ า่ ไฟน้ันจะเกิดขน้ึ ในป่าธรรมชาติหรือสวนปา่ กต็ าม กิจกรรมที่ 5.2 ให้ผู้เรียนชมวีดิทัศน์เกี่ยวกับสาเหตุและผลกระทบที่เกิดจากไฟป่าจาก https://www.youtube.com/watch?v=8oFvEvD2fLA (การปอ้ งกนั ภยั ไฟปา่ 1/1) และ https://www.youtube.com/watch?v=zCCPjBnXLPw (การป้องกนั ภัยไฟปา่ 2/2) แลว้ สรุปสง่ ครู แนวตอบ - สรุปเนือ้ หาการชมวดี ทิ ัศน์ - ผลกระทบที่เกดิ จากไฟป่าได้แก่ ตอ่ สังคมพชื ดิน ทรัพยากรน้า สตั ว์ป่า ส่งิ แวดลอ้ ม เลก็ ๆ ต่อชวี ิตและทรพั ย์สินของมนษุ ย์ สภาวะอากาศ กิจกรรมที่ 5.3 ให้ผู้เรียนบอกชนิดของไฟป่า ฤดูกาลเกิดไฟป่าในประเทศไทย และประเทศ ตา่ ง ๆ ในโลก แนวตอบ 1. ชนิดของไฟปา่ แบ่งออกเป็น 3 ชนดิ ไดแ้ ก่ ไฟใต้ดิน ไฟผิวดิน ไฟเรือนยอด 2. ฤดูการเกิดไฟป่าในประเทศไทย มักจะเกิดช่วงฤดูร้อน เพราะในช่วงฤดูร้อน อากาศแห้ง ต้นไม้ขาดน้า หญ้าหรือต้นไม้เล็ก ๆ อาจจะแห้งตายกลายเป็นเชื้อเพลิงได้เป็นอย่างดี การเกดิ ไฟป่าในแต่ละภมู ิภาค จะมดี งั นี้ - ภาคเหนอื มกั จะเกิดในช่วงระหว่างเดอื น เมษายน-พฤษภาคม ของทกุ ปี - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มักจะเกิดในช่างระหว่างเดือนพฤศจิกายน-พฤษภาคม ของทุกปี - ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต้ มักจะเกิดในช่วงระหว่างเดือนมีนาคม- พฤษภาคมของทกุ ปี ชุดวิชา การเรยี นร้สู ้ภู ยั ธรรมชาติ 3 - 204
3. ฤดกู าลเกิดไฟป่าประเทศตา่ ง ๆ ในโลก - ฤดูกาลเกิดไฟป่าในแถบเอเชีย ต้นเดือนตุลาคมเป็นหน้าแล้งของอินโดนีเซีย โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่เกาะกาลิมันตนั หรือเกาะบอร์เนียวเหนอื และท่ีเกาะสุมาตราจะมีไฟปา่ เกดิ ข้ึน ท้าให้เกิดหมอกควันอย่างรุนแรงพัดมาปกคลุมเกาะสิงคโปร์และแหลมมลายู เลยมาถึง 4 จังหวัด ภาคใต้และจงั หวัดสงขลา บางทกี ็เลยไปถึงเมืองไซง่ อ่ นของประเทศเวยี ดนาม - ประเทศแคนาดา มักเกดิ ในช่วงระหว่างเดือน พฤษภาคม ของทุกปี - ประเทศสหรัฐอเมริกา รัฐแคลิฟอร์เนีย มักเกิดในช่วงระหว่างเดือนมิถุนายน- สิงหาคม ของทกุ ปี กิจกรรมท่ี 5.4 ให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าหาเหตุการณ์ไฟป่าสาคัญ ๆ ที่เกิดขึ้นในประเทศไทย และต่างประเทศ อย่างน้อย 2 เหตุการณ์ และนามาแลกเปล่ียนวิเคราะห์สถานการณ์ท่ีเกิดข้ึน รว่ มกัน แนวตอบ ในประเทศไทย ทจ่ี งั หวดั แม่ฮ่องสอน เม่อื เดือน มนี าคม 2553 ไฟปา่ บรเิ วณทางหลวง แผน่ ดินหมายเลข 108 ในต่างประเทศ ท่ีแคนาดาเมืองฟอร์มแมคเบอร์เรย์ รัฐอัลแบร์ตา วันท่ี 4 เดือน พฤษภาคม 2559 กิจกรรมที่ 5.5 เม่ือมีไฟป่าเกิดขึ้น นักศึกษาจะมีวิธีการรับมือก่อนเกิดไฟป่า ในขณะเกิดไฟป่า และหลงั เกดิ ไฟป่าอยา่ งไร แนวตอบ กอ่ นเกิดไฟป่า 1. ก้าจัดพืชท่ีตดิ ไฟได้งา่ ย เชน่ พวกหญา้ คา หญ้าสาบเสอื พงออ้ ใบไมก้ งิ่ ไม้เลก็ 2. จัดท้าแนวกันไฟโดยถางป้าให้ห่างจากทางเดินในระยะ 5 เมตร เพื่อป้องกันการ ติดตอ่ ลุกลามของไฟ 3. เมือ่ พบเหน็ กองไฟท่ีมีบุคคลเผาทิ้งไว้ก็รีบดับเสีย หรอื เม่ือเห็นไฟไหมก้ ็รีบท้าการดับ ก่อนที่จะท้าให้เกิดการลุกไหม้มากขึ้น เม่ือเห็นว่าจะไม่สามารถดับได้ด้วยตนเองก็รีบแจ้งเจ้าหน้าที่ ดบั เพลิงหรือเจ้าหนา้ ทคี่ วบคุมไฟป่า 4. นักท่องเที่ยว ควรปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับในการป้องกันไฟป่า ให้ความร่วมมือ เชือ่ ฟงั คา้ แนะนา้ ของเจ้าหนา้ ท่ี และควรแนะน้าให้ทุกคนรูจ้ ักอนั ตรายจากไฟป่า ชุดวชิ า การเรียนรูส้ ู้ภยั ธรรมชาติ 3 - 205
ขณะเกดิ ไฟปา่ 1. ถ้ายังไม่มีเคร่ืองมือ หรือยังไม่มีเจ้าหน้าท่ีดับเพลิงจากหน่วยควบคุมไฟป่าแล้ว อย่า เส่ียงเข้าไปดับ เว้นแต่เป็นการลุกไหม้เล็กน้อยของไฟท่ีเกิดจากพวกหญ้าต่างๆ เช่น หญ้าคา หญ้า ขจรจบ หญา้ สาบเสือ 2. ควรช่วยกันตัดก่ิงไม้สด ตีไฟท่ีลุกไหม้ตามบริเวณหัวไฟให้เช้ือเพลิงแตกกระจาย แล้วตีขนานกบั ไฟปา่ ที่ก้าลังจะเร่มิ ลกุ ลาม 3. ถ้ามีรถแทรกเตอร์ควรไถไร่อ้อยหรือต้นขา้ วให้โล่งว่างเพ่ือท้าให้เป็นแนวกันไฟ มิให้ เกดิ การติดต่อลกุ ลามมาได้ หลังจากเกดิ ไฟปา่ 1. ตรวจดูบรเิ วณทยี่ งั มีไฟคุกร่นุ เมอื่ พบแล้วจดั การดบั ให้สนทิ 2. คน้ หาและชว่ ยเหลอื คน สัตว์ท่ีหนไี ฟออกมาและไดร้ ับบาดเจบ็ 3. ระวังภัยจากสตั วท์ ่หี นไี ฟป่าออกมา จะทา้ อนั ตรายแก่ชีวติ และทรพั ยส์ ินได้ 4. ทา้ การปลูกป่าทดแทน ปลูกพืชคลมุ ดนิ ปลูกไม้โตเร็ว 5. รณรงค์ให้ความรู้แก่ประชาชนให้รู้เร่ืองวิธีการป้องกันไฟป่าด้วยการประชาสัมพันธ์ การสอน การติดป้ายคา้ เตือน กจิ กรรมที่ 5.6 ใหเ้ สนอแนวทางการป้องกนั และการแกไ้ ขปญั หาผลกระทบท่เี กดิ จากไฟป่า แนวตอบ แนวทางการตามพระราชด้ารปิ ่าเปยี กมี 6 วธิ ีด้วยกัน คือ 1. ท้าระบบป้องกันไฟไหม้ป่า โดยใช้แนวคลองส่งน้าและแนวพืชชนิดตา่ ง ๆ ปลูกตามแนว คลอง 2. สร้างระบบการควบคุมไฟป่าดว้ ยแนวป้องกันไฟ ป่าเปียก โดยอาศัยน้าชลประทานและ นา้ ฝน 3. การปลูกต้นไม้โตเร็วคลุมแนวร่องน้า เพื่อให้ความชุ่มชื่นค่อยๆทวีขึ้นและแผ่ขยาย ออกไปท้งั สองข้างของร่องน้า ซง่ึ จะทา้ ให้ตน้ ไมง้ อกงามและมีส่วนชว่ ยป้องกนั ไฟปา่ เพราะไฟป่า จะ เกดิ ข้นึ งา่ ยหากป่าขาดความช่มุ ชื้น 4. การสร้างฝายชะลอความชุ่มช่ืน หรือเรียกว่า \"check Dam\" ข้ึนเพ่ือปิดก้ันร่องน้า หรือลา้ ธารขนาดเล็กเป็นระยะๆเพื่อใช้เก็บกกั น้าและตะกอนดินไวบ้ างส่วน โดยน้าทเ่ี ก็บไว้จะซึมเข้ ไปสะสมในดิน เพ่อื ทา้ ใหค้ วามช่มุ ชนื่ แผข่ ยายเขา้ ไปท้ังสองดา้ นกลายเป็น \"ปา่ เปยี ก\" ชุดวิชา การเรยี นรสู้ ูภ้ ยั ธรรมชาติ 3 - 206
5. การสูบน้าเข้าไปในที่ระดับสูงที่สุดเท่าท่ีท้าได้ แล้วปล่อยน้าลงมาทีละน้อยให้ค่อยๆ ไหลซึมลงดิน เพ่ือช่วยเสริมการปลูกป่าบนพื้นที่สูงในรูป \"ภูเขาป่า\" ให้กลายเป็น \"ป่าเปียก\" ซ่ึง สามารถป้องกนั ไฟป่าไดอ้ ีกด้วย 6. ปลูกต้นกล้วยในพื้นที่ที่ก้าหนดให้เป็นช่องว่างของป่า ประมาณ 2 เมตร หากเกิดไฟ ไหม้ปา่ ก็จะปะทะต้นกล้วยซ่งึ อมุ้ น้าไว้ได้มากกว่าพืชอนื่ ท้าใหล้ ดการสญู เสียน้าลงไปได้มาก ชุดวิชา การเรยี นร้สู ภู้ ยั ธรรมชาติ 3 - 207
เฉลย/แนวตอบกจิ กรรม หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 6 หมอกควัน กิจกรรมท่ี 6.1 อธบิ ายสาเหตุของการเกดิ หมอกควนั แนวตอบ สาเหตุของการเกิดหมอกควัน ได้แก่ 1. ไฟป่า ทงั้ ทีเ่ กิดตามธรรมชาตแิ ละเกิดจากมนุษย์ ท้าใหเ้ กิดเปน็ หมอกควนั ปกคลุมอยู่ ในบริเวณท่ีเกิดไฟป่าและพนื้ ท่ีใกล้เคียง เม่ือมีการพัดพาของกระแสลมจะท้าใหห้ มอกควันกระจาย ตัวไปยงั พน้ื ทอ่ี ่นื ๆ 2. การเผาเศษวัชพืชวัสดุทางการเกษตรและวชั พืชริมทาง เกษตรกรมักจะเผาเศษวสั ดุ ทางการเกษตรในหนา้ แล้งเพ่ือเตรียมพ้ืนทีส่ า้ หรบั ท้าการเกษตรในฤดฝู น 3. การเผาขยะจากชุมชน ซ่ึงก่อให้เกิดปัญหามลพิษทางอากาศ เช่น ฝุ่นละออง เขม่า ควนั ก๊าซ และไอระเหย ซึ่งมีผลกระทบต่อสขุ ภาพ 4. การคมนาคมขนส่ง สารมลพิษมาจากการเผาไหม้ท่ีเกิดข้ึนภายในเครื่องยนต์ ได้แก่ สารประกอบไฮโดรคาร์บอน เช่น ออกซิแดนท์ สารอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน เขม่า ก๊าซ ไนตรกิ ออกไซด์ ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ รวมท้งั ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ 5. ควนั จากโรงงานอุตสาหกรรม ก่อให้เกิดส่ิงเจอื ปนในอากาศ สารมลพิษทางอากาศท่ี เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรมส่วนมาก ได้แก่ ฝุ่นละออง เขม่า ควัน ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ก๊าซคารบ์ อนมอนอกไซด์ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ กา๊ ซไนโตรเจนออกไซด์ และก๊าซพิษอ่ืน ๆ กจิ กรรมที่ 6.2 อธิบายปจั จยั ท่ีทาให้ปญั หาหมอกควนั มีความรนุ แรงย่งิ ข้นึ แนวตอบ ปจั จัยทที่ าใหป้ ัญหาหมอกควนั มคี วามรุนแรงยงิ่ ข้นึ ประกอบด้วย ปัจจัยที่ 1 การเผาที่เกิดขึ้นภายในประเทศท้ังในกรณีของไฟป่า และการเผาเพ่ือ การเกษตร การเผาวชั พชื ริมทาง และการเผาขยะมูลฝอยในชุมชน ปจั จัยที่ 2 การเผาทีเ่ กดิ รอบ ๆ ประเทศ ซ่งึ ทา้ ให้เกิดปญั หาหมอกควนั ข้ามแดน ปจั จัยท่ี 3 สภาพภูมิอากาศ ความกดอากาศสูงไม่มีลมพัดผ่าน อากาศไม่สามารถ ลอยตวั สงู ขึ้นได้ ทา้ ให้หมอกควันปกคลมุ ในพื้นที่ยาวนานกวา่ วันท่มี ีอากาศแจ่มใสหรอื มลี มพัดผ่าน ปัจจัยที่ 4 สภาพภูมิประเทศท่ีมีภูเขาล้อมรอบ พื้นท่ีแอ่งกระทะหรือพ้ืนท่ีปิดระหว่าง หบุ เขาท้าใหห้ มอกควันไม่สามารถแพรก่ ระจายไปแหล่งอื่นได้ ชดุ วิชา การเรยี นรู้สู้ภยั ธรรมชาติ 3 - 208
กจิ กรรมที่ 6.3 บอกผลกระทบด้านสขุ ภาพทีเ่ กิดจากหมอกควนั แนวตอบ เมื่อร่างกายสูดดมหมอกควันเข้าสู่ร่างกายในระยะเวลาสั้น ๆ จะท้าให้เกิดผลกระทบ ระบบตา่ ง ๆ ของร่างกายคือ 1. ระบบตา เกดิ อาการระคายเคืองตา ตาแดง แสบตา ตาอกั แสบ 2. ระบบผวิ หนัง ระคายเคืองผิวหนงั เกิดผน่ื คนั ผิวหนัง 3. ระบบทางเดินหายใจเกิดอาการระคายเคืองเยื่อบุจมูก แสบจมูก ไอ มีเสมหะ แน่น หน้าอก หายใจมีเสียงหวีด หายใจถ่ี และท้าให้เกิดโรคหอบหืด หลอดลมอักเสบท้ังแบบเฉียบพลัน และเร้ือรงั ปอดอกั เสบ ถงุ ลมโป่งพอง 4. ระบบหลอดเลือดและหัวใจ เกิดอาการแน่นหน้าอก เจ็บหน้าอก หายใจถ่ี เมื่อยล้า ส่ัน ผิดปกติ ท้าให้เกดิ โรคหัวใจเตน้ ผิดจงั หวะ หวั ใจล้มเหลว กลา้ มเนอ้ื หวั ใจตาย เสน้ เลือดในสมองตบี ประชาชนทั่วไปท่ีมีสุขภาพแข็งแรงสูดดมหมอกควันเข้าสู่ร่างกายในระยะเวลาสั้น จะ สามารถปรับตัวและฟ้ืนฟูสภาพร่างกายได้อย่างรวดเร็ว และไม่เกิดผลกระทบต่อสุขภาพในระยะ ยาว แตใ่ นประชากรกลมุ่ เส่ยี ง เด็กเล็ก ผสู้ ูงอายุ ท่มี ีโรคประจา้ ตวั เกย่ี วข้องกับระบบทางเดินหายใจ ระบบหวั ใจและหลอดเลอื ดอาจมอี าการรุนแรง กจิ กรรมที่ 6.4 อธบิ ายสถานการณห์ มอกควันในชมุ ชนของท่าน ตามประเด็นต่อไปนี้ ประเดน็ ที่ 1 ชมุ ชนของทา่ น (หมบู่ ้าน ตาบล อาเภอ หรือจงั หวดั ) เคยเผชญิ ปัญหา จากหมอกควันหรือไม่ อย่างไร ประเดน็ ที่ 2 หมอกควนั ในชมุ ชนของท่านเกดิ จากสาเหตอุ ะไร ประเด็นที่ 3 ทา่ นปฏบิ ตั อิ ยา่ งไรเมือ่ เผชิญกับหมอกควนั ในชมุ ชนของท่าน แนวตอบ ประเด็นท่ี 1 และ 2 ตอบตามสถานการณจ์ รงิ ของชุมชนของทา่ น ประเดน็ ท่ี 3 ทา่ นปฏิบตั อิ ย่างไรเม่ือเผชิญกับหมอกควันในชุมชนของท่าน 1. ดูแลตนเองหลีกเลี่ยงการออกก้าลังกายและการท้างานหนักที่ต้องออกแรงมากใน บริเวณหมอกควัน หากจ้าเป็นต้องอยู่ในบริเวณทีมีหมอกควันควรสวมแว่นตา เพื่อป้องกันการ ระคายเคอื งตา และควรใชห้ น้ากากอนามัยปิดปากและจมกู 2. ดูแลบุคคลทเ่ี ป็นกล่มุ เสี่ยง เดก็ เล็ก คนชรา และผูป้ ว่ ยในครอบครวั อย่างใกลช้ ิดและ หม่ันสังเกตอาการของผู้ที่เป็นกลุ่มเสี่ยง หากพบอาการผิดปกติควรรีบพบแพทย์ รวมท้ังควรเตรียม ยาและอปุ กรณ์ท่ีจา้ เปน็ ใหพ้ รอ้ ม ชดุ วชิ า การเรียนรสู้ ูภ้ ยั ธรรมชาติ 3 - 209
3. ดูแลบ้านเรือน เช่น ติดระบบกรองอากาศในบ้าน หากไม่มีระบบระบายอากาศหรอื ระบบปรับอากาศ ต้องปิดประตูหน้าต่างไม่ให้ควันไฟหรือหมอกควันเข้ามาในอาคาร ปลูกพืชคลุม หน้าดินในพืน้ ที่โลง่ บรเิ วณบ้าน งดการรองรบั น้าฝนไว้ใช้อปุ โภคชัว่ คราว 4. การดูแลชุมชน ไม่ให้มีการเผาวัสดุทุกชนิดและการประกอบกิจกรรมที่ก่อให้เกิด หมอกควนั เผาขยะมลู ฝอย เผาหญา้ เผาตอซังขา้ ว เป็นต้น กิจกรรมที่ 6.5 ท่านจะเตรียมความพร้อมในการรับสถานการณ์การเกิดหมอกควันในชุมชน อยา่ งไร แนวตอบ การเตรยี มความพรอ้ มในการรบั สถานการณห์ มอกควัน - ทุกคนในชุมชนร่วมมือกัน เลิก ลด หลีกเลี่ยงการเผาหรือท้ากิจกรรมท่ีก่อให้เกิดฝุ่น ควนั เพิม่ มากข้นึ - ใหค้ วามรู้แก่บุคคลในชมุ ชนเร่อื งปัญหาหมอกควัน - ทกุ คนมีสว่ นร่วมในการเก็บใบไม้ก่งิ ไม้เพอื่ ท้าป๋ยุ หมักแทนการเผา - พยายามลดจ้านวนขยะ เม่ือมีขยะในครวั เรอื นอาจใช้วิธีแยกขยะอยา่ งถูกวธิ ี - ดูแลที่ดินของตัวเองอย่างสม่้าเสมอ เช่น มีการแผ้วถางไม่ให้รก และปลูกต้นไม้ เพื่อ ป้องกันมิให้มีการเผาเกิดขึน้ - ปลกู ต้นไมใ้ หญแ่ ละไม้พุ่มรวมทงั้ ไมใ้ นรม่ เพ่มิ มากขึน้ กจิ กรรมที่ 6.6 การเตรยี มความพรอ้ มรบั สถานการณห์ มอกควันขอ้ ใดถูกต้อง ...... 1. เผาขยะท่อี ยู่รอบบา้ นเพือ่ ความสะอาดเปน็ ระเบียบ ...... 2. เตรยี มหมายเลขโทรศพั ท์ฉกุ เฉนิ เพ่อื ขอความช่วยเหลือในการดับไฟป่า ...... 3. ลด ละ เลกิ หรือหลกี เล่ียงการเผาหรอื การท้ากจิ กรรมทก่ี อ่ ให้เกิดฝนุ่ ควนั เพ่ิมข้ึน ...... 4. ให้ความรแู้ กผ่ ้อู ่นื ว่าการก่อมลพิษทางอากาศทุกชนดิ โดยเฉพาะการเผา บ่นั ทอน สุขภาพตวั เองและผูอ้ นื่ และการเผาผิดกฎหมายอาญา มาตรา 220 อาจถูกปรบั ถึง 14,000 บาทจ้าคกุ ถงึ 7 ป หรือทั้งจ้าทั้งปรับ ...... 5. ลดการสรา้ งขยะ แยกขยะอย่างถกู วิธี เพอื่ ลดปริมาณขยะที่มกั เป็นสาเหตุของการเผา ...... 6. ปลกู ตน้ ไม้ใหญ่และไมพ้ มุ่ รวมท้งั ไม้ในรม่ เพิ่มมากขึ้น ...... 7. เผาซางขา้ วในที่นาเพอื่ ปรับปรุงหน้าดนิ ให้ดนิ มธี าตอุ าหารเพม่ิ ขึน้ ..... 8. การเผาป่าผักหวานจะมีมเี พิม่ มากขึ้น ชุดวชิ า การเรยี นร้สู ภู้ ยั ธรรมชาติ 3 - 210
...... 9. เจา้ ของที่ดนิ ดูแลทีด่ ินของตวั เอง มกี ารแผ้วถางและปลูกตน้ ไม้ เพื่อป้องกันมใิ ห้มกี าร เผาเกิดขึน้ ...... 10. ใหก้ ารดแู ลผู้ท่ีเปน็ กลุ่มเสี่ยงอย่างใกลช้ ิดและหม่ันสงั เกตอาการของผู้ที่เปน็ กล่มุ เสยี่ ง เช่น เดก็ เล็ก คนชรา ผู้ปว่ ยดว้ ยโรคระบบทางเดนิ หายใจ ชุดวิชา การเรยี นรู้สภู้ ยั ธรรมชาติ 3 - 211
เฉลย/แนวตอบกิจกรรม หน่วยการเรียนรู้ท่ี 7 แผ่นดนิ ไหว กจิ กรรมที่ 7.1 ให้ผเู้ รยี นอธิบายความหมายของแผ่นดนิ ไหว แนวตอบ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2542 ได้ให้ความหมายของ แผน่ ดินไหว หมายถงึ การสั่นสะเทือนของแผน่ ดินทร่ี ้สู ึกได้ ณ บรเิ วณใดบริเวณหน่งึ บนผิวโลก กจิ กรรมที่ 7.2 ใหอ้ ธิบายสาเหตุของการเกดิ แผ่นดินไหว แนวตอบ 1. เกดิ จากการเคลอ่ื นท่ีของเปลอื กโลกตามแนวระหว่างรอยต่อของแผ่นธรณภี าค ทา้ ใหช้ ั้นหนิ ขนาดใหญ่แตกหกั หรอื เลอื่ นตัวและถา่ ยโอนพลงั งานศักยอ์ ย่างรวด เรว็ ใหก้ บั ชน้ั หินท่ีอยู่ ติดกนั ในรูปของคลื่นไหวสะเทอื น 2. เกดิ จากการระเบดิ ของภูเขาไฟ เนื่องจากในขณะท่ีแมกมาใตผ้ วิ โลกเคลอื่ นตวั ตาม เสน้ ทางส่ปู ล่องภเู ขาไฟ สามารถท้าให้เกิดแผ่นดินไหวก่อนที่จะระเบิดออกมาเปน็ ลาวา 3. เกดิ จากการกระท้าของมนุษย์ เชน่ การทดลองระเบดิ ปรมาณใู ตด้ นิ การระเบดิ พ้ืนทเ่ี พอื่ ส้ารวจลกั ษณะของหนิ สา้ หรับวางแผนก่อสร้างอาคาร และเข่อื นกักเกบ็ น้าขนาดใหญ่ เป็นต้น กจิ กรรมที่ 7.3 ให้อธบิ ายผลกระทบจากแผ่นดินไหวก่อให้เกดิ ความเสียหายอย่างไร แนวตอบ 1. ทา้ ให้เกดิ พ้ืนดินแตกแยก 2. เกดิ ภูเขาไฟระเบดิ 3. อาคารสิ่งก่อสร้างพงั ทลาย 4. ไฟไหม้แกส๊ ร่ัว 5. ทอ่ ระบายนา้ และทอ่ ประปาแตก 6. เกดิ คล่ืนสนึ ามแิ ผน่ ดินถล่ม 7. เสน้ ทางการคมนาคมเสยี หายและถกู ตัดขาดถนนและทางรถไฟบิดเบ้ียวโค้ง 8. เกดิ โรคระบาด 9. เกดิ ปญั หาด้านสุขภาพจิตของผู้ประสบภยั ชุดวิชา การเรยี นรสู้ ูภ้ ยั ธรรมชาติ 3 - 212
10. เกิดความสูญเสียในชีวิตและทรัพย์สินรวมถึงทางเศรษฐกิจ เช่น การสื่อสาร โทรคมนาคมขาดช่วง ระบบคอมพิวเตอร์ขัดข้องการคมนาคมทั้งทางบก ทางน้า และทางอากาศ หยดุ ชะงกั 11. ส่งผลต่อการลงทนุ การประกันภัย 12. ในกรณีท่ีแผ่นดินไหวมีความรุนแรงมากอาจท้าให้อาคาร ส่ิงปลูกสร้างถล่ม และมี ผเู้ สียชวี ติ ได้ 13. หากเกิดแผ่นดินไหวขึ้นใต้ท้องทะเลแรงสั่นสะเทือนอาจจะท้าให้เกิดเป็นคลื่นยักษ์ ขนาดใหญ่ ที่เรยี กว่า “สึนามิ” (Tsunami) ซ่งึ กอ่ ให้เกดิ ความเสยี หายได้ กจิ กรรมที่ 7.4 ใหบ้ อกหรือยกตวั อย่างพ้ืนทเ่ี สย่ี งในการเกดิ แผน่ ดินไหวในประเทศไทยและใน ประเทศตา่ งๆในโลก แนวตอบ - ตัวอย่างพื้นท่ีเสี่ยงในการเกิดแผ่นดินไหวในประเทศไทย ได้แก่ เชียงราย เชียงใหม่ ตาก ล้าพูน ล้าปาง น่าน แม่ฮอ่ งสอน - ตัวอย่างพ้ืนที่เส่ียงในการเกิดแผ่นดินไหวในประเทศต่าง ๆ ในโลกได้แก่ ญี่ปุ่น อนิ โดนเี ซยี อิตาลี ตรุ กี อัฟกานสี ถาน ปากสี ถาน จนี เมียนมา กิจกรรมท่ี 7.5 ให้อธบิ ายว่าแผน่ ดินไหวในประเทศไทยเกดิ ขึ้นไดอ้ ย่างไร แนวตอบ แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ที่มีแหล่งก้าเนิดจากภายนอกประเทศส่งแรงสั่นสะเทือนมายัง ประเทศไทย โดยมีแหล่งก้าเนิดมาจากตอนใต้ของสาธารณรัฐประชาชนจีน พม่า สาธารณรัฐ ประชาชนลาว ทะเลอันดามัน ตอนเหนือของเกาะสุมาตรา ส่วนมากบริเวณภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคตะวนั ตก ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือและกรงุ เทพมหานคร แผ่นดินไหวเกิดจากแนวรอยเล่ือนที่ยังสามารถเคลอ่ื นตัว ซ่ึงอยู่บริเวณภาคเหนือ และ ภาคตะวันตกของประเทศ เช่นรอยเล่ือนเชียงแสน รอยเล่ือนแม่ทา รอยเลื่อนแพร่ รอยเล่ือนเถิน รอยเล่อื นเมย อุทยั ธานี รอยเลือ่ นศรีสวัสดิ์ รอยเลือ่ นเจดยี ์สามองค์ รอยเลือ่ นคลองมะรุย เปน็ ต้น กิจกรรมท่ี 7.6 ให้ศึกษาสถานการณแ์ ผ่นดินไหวในประเทศไทยจากส่ือตา่ ง ๆ เชน่ อนิ เตอรเ์ นท็ แล้วอธบิ ายพรอ้ มยกตัวอยา่ งสถานการณก์ ารเกดิ แผ่นดินไหวมา 1 ตวั อยา่ ง แนวตอบ - ตวั อย่างสถานการณ์การเกิดแผน่ ดินไหวทีศ่ กึ ษา ชุดวชิ า การเรยี นรูส้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 3 - 213
กิจกรรมที่ 7.7 ใหศ้ ึกษาสถานการณแ์ ผ่นดินไหวในประเทศตา่ งๆในโลก จากส่ือต่าง ๆ เชน่ อนิ เตอร์เนต็ แล้วอธบิ ายยกตัวอย่างสถานการณ์การเกดิ แผน่ ดินไหว มา 1 ตวั อยา่ ง แนวตอบ -ตวั อย่างสถานการณ์การเกิดแผ่นดินไหวท่ีศกึ ษา- กจิ กรรมท่ี 7.8 ท่านคิดว่าท่านมกี ารเตรียมความพรอ้ มรับมือกับภัยแผ่นดินไหวอยา่ งไร แนวตอบ 1. สร้างอาคารบ้านเรือนให้เป็นไปตามกฎเกณฑ์ท่ีก้าหนด ส้าหรับพ้ืนที่เสี่ยงภัย แผน่ ดินไหว 2. ตรวจสอบสภาพของอาคารที่อยู่อาศัยและเคร่ืองใช้ภายในบ้าน ท้าการยึดเคร่ือง เรือนทีอ่ าจก่อให้เกิดอันตราย เช่น ตแู้ ละชัน้ หนังสือกับฝาบ้านหรือเสา 3. ให้สมาชิกในครอบครัวมีความรู้ในเร่ืองการปฐมพยาบาลเบ้ืองต้นและวิธีการเพื่อ ความปลอดภยั เช่น การปดิ วาลว์ กา๊ ซหงุ ตม้ ท่อนา้ ประปา สะพานไฟ การใช้เครือ่ งมอื ดบั เพลิง 4. ให้ความรู้แก่สมาชิกในครอบครัวทุกคนเกี่ยวกับข้อควรปฏิบัติเพื่อความปลอดภัย เมื่ออยูใ่ นสถานทีต่ า่ ง ๆ ระหวา่ งเกดิ แผ่นดินไหว 5. ไม่ควรวางสิ่งของท่ีมีน้าหนักมากไว้ในที่สูง และควรผูกยึดเครื่องใช้ เคร่ืองเรือน ครุภณั ฑ์สา้ นักงานกบั พนื้ หรือฝาผนงั ให้แน่นหนา 6. ควรติดตั้งโทรศัพท์พ้ืนฐานไว้ในบ้านอย่างน้อย 1 หมายเลข เพราะเม่ือใด แผ่นดินไหวเครือข่ายโทรศัพท์มือถือมักจะล่ม เน่ืองจากมีผู้ใช้งานพร้อม ๆ กันเป็นจ้านวนมาก แต่ โทรศพั ทพ์ ้ืนฐานยงั สามารถใช้งานได้ กิจกรรมที่ 7.9 ขณะเกดิ แผน่ ดนิ ไหวควรปฏบิ ตั ิตวั อย่างไร แนวตอบ กรณอี ยใู่ นอาคาร 1. กรณคี วามสัน่ สะเทือนมากให้ ปิดสวทิ ชไ์ ฟหลกั และปิดถงั แกส๊ 2. มุดใต้โต๊ะ เก้าอี้ พิงผนังด้านใน แล้วอยู่น่ิงๆ ถ้าไม่มีโต๊ะ ใช้แขนปิดหน้า ปิดศีรษะ หมอบตรงมุมห้อง อยู่ให้ห่าง กระจก หน้าต่างและเล่ียงบริเวณท่ีสิ่งของหล่นใส่ หรือล้มทับ เช่น โคมไฟ ตู้ 3. ถา้ ยงั นอนอยู่ ให้อยู่บนเตยี ง ใช้หมอนปิดบงั ศรี ษะ หลีกเล่ียงบริเวณทีส่ ่ิงของหล่นใส่ อย่บู ริเวณทป่ี ลอดภัย ชุดวิชา การเรยี นรูส้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 3 - 214
4. ใช้ช่องประตูเป็นที่หลบภัยถ้าอยู่ใกล้ให้อยู่ในอาคารจนกว่าการสั่นสะเทือนหยุดจึง ออกไปภายนอกบริเวณทีป่ ลอดภยั อนั ตรายส่วนใหญ่เกดิ จากสง่ิ ของหล่นใส่ 5. คาดว่าหรือตระหนักเสมอว่าไฟฟ้าอาจดับหรือสปริงเกอร์อาจท้างานหรือมีเสียง เตอื นไฟไหม้ 6. อย่าใช้ลิฟต์ขณะมีการสั่นไหวถ้าอยู่ในลิฟต์กดทุกปุ่มและออกจากลิฟต์ทันทีบริเวณ ใกลล้ ฟิ ต์จะเป็นส่วนท่แี ขง็ แรงของอาคารเหมาะแกก่ ารหลบและหมอบ กรณีอยู่นอกอาคาร ให้อยู่ด้านนอก ในท่ีโล่งแจ้งปลอดภัยท่ีสุด อยู่ให้ห่างจากอาคาร เสาไฟ สายไฟฟ้า ต้นไม้ ป้ายโฆษณา หรือส่ิงของที่อาจหล่นใส่ ให้หาที่ก้าบังจากเศษวัสดุที่อาจจะ ร่วงหล่นลงมาได้ กจิ กรรมที่ 7.10 หลังจากเกดิ แผน่ ดนิ ไหวผเู้ รยี นมแี นวทางแกไ้ ขปญั หาผลกระทบทเ่ี กิดจาก แผน่ ดินไหวอยา่ งไร แนวตอบ 1. ปดิ สวติ ซไ์ ฟฟ้า วาลว์ ก๊าซหงุ ตม้ ประปา และหา้ มจดุ ไม้ขีดไฟจนกว่าจะไดต้ รวจสอบ การร่วั ของก๊าซหรือนา้ มันเชอื้ เพลิงแลว้ 2. ส้ารวจผู้ได้รับบาดเจ็บ จัดการปฐมพยาบาลเบ้ืองต้น หากมีผู้ได้รับบาดเจ็บ ห้ามเคลื่อนยา้ ยผู้บาดเจ็บสาหัส ยกเว้นกรณตี อ้ งหลกี เล่ยี งสถานท่ที ีไ่ มป่ ลอดภัย 3. ตรวจสอบวา่ แกส๊ รวั่ ดว้ ยการดมกลิน่ เทา่ น้ัน ถา้ ได้กล่ินให้เปิดประตหู นา้ ตา่ งทกุ บาน 4. ใหอ้ อกจากบรเิ วณทีส่ ายไฟขาด และวัสดุสายไฟพาดถึง 5. อพยพออกจากอาคารที่ได้รับความเสียหาย และเตรียมพร้อมรับการเกิด แผน่ ดนิ ไหวระลอกตอ่ ไป 6. ติดตามข่าว สถานการณ์ การเตือนภัย และค้าแนะนา้ ตา่ ง ๆ เพือ่ ความปลอดภัย 7. หลกี เล่ียงการขบั ข่ียวดยานในถนนและเข้าใกลอ้ าคารทีไ่ ดร้ บั ความเสยี หาย ยกเว้น กรณฉี ุกเฉินเพื่อไม่ให้กดี ขวางการปฏบิ ัตงิ านของเจา้ หน้าท่ี 8. อย่าตนื่ ตระหนกและใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผอู้ ่นื เทา่ ท่ีจะทา้ ได้ 9. เตรียมรับมืออาฟเตอร์ช็อก ซ่ึงท่ัวไปมีความรุนแรงน้อยกว่าแต่ก็อาจสร้างความ เสียหายเพม่ิ เติมเปดิ วทิ ยโุ ทรทศั นฟ์ งั ข่าวเพ่ิมเตมิ 10. หากอยู่ชายฝ่ังใกล้ปากแม่น้าให้รีบขึ้นท่ีสูงบริเวณท่ีปลอดภัยโดยเฉพาะบริเวณที่ เคยมปี ระวตั กิ ารเกดิ อันตรายจากสึนามิ ชดุ วชิ า การเรียนรู้สภู้ ยั ธรรมชาติ 3 - 215
เฉลย/แนวตอบกิจกรรม หน่วยการเรียนรู้ท่ี 8 สึนามิ..ภยั รา้ ยท่ีนา่ กลวั กิจกรรมท่ี 8.1 ใหท้ า่ นดูวีดิทศั น์ เรื่อง คลน่ื สึนามิ ทจ่ี งั หวัดภูเก็ต เมอื่ วันที่ 26 ธนั วาคม 2547 และให้ตอบคาถามในประเด็นตอ่ ไปนี้ 1. ลกั ษณะการเกดิ คลน่ื สนึ ามิ 2. สาเหตขุ องการเกดิ คล่นื สนึ ามิ 3. เม่ือเกิดสนึ ามิ จะเกิดผลกระทบทมี่ ตี อ่ ประเทศชาตอิ ย่างไร แนวตอบ 1. ลกั ษณะการเกดิ คลื่นสนึ ามิ จากการเกิดแผ่นดินไหวที่เกาะสุมาตรา ประเทศมาเลเซีย สัญญาณเตือนทาง ธรรมชาติส่ิงแรกกม็ าถึงชายฝง่ั ประเทศไทย นั้นคือระดบั น้าทะเลลดลงมากด้วยความรวดเร็ว อย่าง ไม่เคยเป็นมากอ่ น ผู้คนทีอ่ ยตู่ ามชายหาดตา่ งประหลาดใจกบั เหตุการณท์ ี่เกิดขึน้ แต่กับคาดไมถ่ งึ ว่า นนั้ มนั คือสัญญาณเตอื นว่าจะมีมหันตภัยมาถึงตัว มบี างคนวิง่ ลงไปจับปลาทีเกยตน้ื อยา่ งสนกุ สนาน ไม่ถึงนาทีต่อมา คลื่นยักษ์สึนามิระรอกแรกก็ปรากฏตัวในทะเล ทุกคนที่เห็นต่างร้องตะโกนให้ว่ิง หนีข้ึนฝั่ง ต่างคนต่างหนีเอาชีวิตรอด ด้วยความเร็วของคล่ืนขณะที่ซัดเข้าฝั่งไม่น้อยกว่า 100 กิโลเมตรต่อช่ัวโมง โดยท่ีคล่ืนยักษ์ เดินทางข้ามทะเลอันดามันในช่วงที่ทะเลมีความลึกมากจะมี ความเร็วมากกว่า 500 กิโลเมตรต่อช่ัวโมง ด้วยความเร็วและรุ่นแรงหลายระรอก ได้กลืนเอาชีวิต หลายคนที่หนไี มร่ อด และกวาดท้าลายล้างทุกสิง่ ทขี่ วางทางมันไม่ว่าจะเปน็ ตกึ รามบา้ นช่อง รถยนต์ ตา่ งๆ เสยี หายท้ังหมดตลอดระยะทม่ี ันซดั ถงึ 2. สาเหตขุ องการเกดิ คลื่นสึนามิ การคลนื่ สึนามโิ ดยทั่วไปมสี าเหตุจากการไหวสะเทือนของเปลือกโลกอย่างรุนแรงใต้ พน้ื ทอ้ งทะเลและมหาสมุทร โดยมกี ารเคลอื่ นตัวของแผน่ เปลอื กโลกมีอยู่ 3 แบบคอื 1) แบบกระจายตวั คือ แผน่ เปลือกโลกสองแผ่นเคล่อื นทีอ่ อกจากกัน 2) แบบมุดตัว คือ แผ่นเปลือกโลกเคล่ือนเข้าหากัน โดยที่แผ่นเปลือกโลกแผ่นหนึ่ง มดุ เขา้ ไปอยูใ่ ตแ้ ผน่ เปลือกโลกอีกแผน่ หนึง่ ชุดวิชา การเรียนรู้สู้ภยั ธรรมชาติ 3 - 216
3) แบบเปลี่ยนรูป คือ แผ่นเปลือกโลกจ้านวนสองแผ่นเคลื่อนท่ีในแนวนอนผ่านซึ่ง กันและกันซ่ึงปลดปล่อยพลังงานมหาศาลออกมา ท้าให้มวลน้าในมหาสมุทรเกิดการเคลื่อนไหว กลายเป็นคล่ืนขนาดใหญ่ แผ่กระจายเป็นวงกว้างออกไปจากบริเวณที่เป็นจุดศูนย์กลางของ แผน่ ดินไหว และเนอ่ื งจากคลื่นชนิดนีม้ ิได้เกิดจากการข้ึนลงของน้าทะเล 3. เมื่อเกิดสนึ ามิ จะเกิดผลกระทบทมี่ ตี ่อประเทศชาติอย่างไร ส้าหรับผลกระทบที่ประเทศไทยได้รับจากพิบัติภัยคล่ืนสึนามิ เม่ือวันท่ี 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 ส้าหรับประเทศไทย พิบัติภัยจากคลื่นสึนามิ ได้ก่อให้เกิดความต่ืนตระหนก แก่ประชาชนท่ัวท้ังประเทศ เพราะมีการสูญเสียทั้งชีวิตและทรพั ย์สินของผู้คนเป็นจ้านวนมากใน 6 จงั หวดั ภาคใตท้ ี่มีพน้ื ทอ่ี ยตู่ ิดกบั ชายฝัง่ ทะเลอันดามัน คอื ภเู กต็ พังงา ระนอง กระบี่ ตรัง และสตูล โดยเฉพาะท่ีจังหวัดพังงา กระบี่ และภูเก็ต มีการสูญเสียมากที่สุด เป็นพิบัติภัยทางธรรมชาติท่ี เกิดข้ึนอย่างรุนแรงและรวดเร็ว โดยไม่มผี ู้ใดคาดคดิ มากอ่ น จึงไม่ไดม้ ีการระมัดระวงั และป้องกนั ไว้ ลว่ งหนา้ ผลกระทบตามมาท้าใหเ้ กิดความเสยี หายในหลาย ๆ ดา้ นได้แก่ 1) ความเสยี หายดา้ นชีวติ และทรัพยส์ ิน จา้ นวนผู้เสียชวี ติ ที่เป็นคนต่างชาติมี ถึง 1,240 คน จากจ้านวนผู้เสียชีวิตท้ังหมด 5,309 คน นอกจากนี้ ยังมีผู้เสียชีวิตท่ีไม่ทราบว่าเป็น คนไทยหรือคนตา่ งชาติอกี 2,341 คน สว่ นผสู้ ูญหายจา้ นวนท้ังหมด 3,370 คน นอกจากจะมผี ู้เสียชีวติ บาดเจ็บและสูญหายเป็นจ้านวนมากแล้ว ยงั มีความ เสียหายที่เกิดขึ้นกับทรัพย์สิน เป็นจ้านวนมากเช่นกัน ได้แก่ อาคารของโรงแรมขนาดใหญ่ ที่พัก ของนักทอ่ งเทย่ี วประเภทบังกะโล และเกสต์เฮาส์ รา้ นค้าและรา้ นอาหารบริเวณชายหาด บา้ นเรอื น ของราษฎรท่ีมีอาชีพทางการประมง ทรัพย์สินส่วนตัวของนักท่องเที่ยวที่ประสบภัย ยานพาหนะ เรอื ประมงและเรอื ของหนว่ ยงานราชการ ตลอดจนสาธารณูปโภคของท้องถิน่ เชน่ ไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์ ถนนหนทาง ความเสียหายท่ีเกิดข้ึน กับทรัพย์สินเหล่าน้ี ถ้าคิดเป็นมูลค่าแล้ว มีจ้านวน หลายพนั ลา้ นบาท 2) ความเสียหายด้านเศรษฐกิจความเสียหายด้านเศรษฐกิจที่ส้าคัญที่สุดคือ อตุ สาหกรรมการทอ่ งเทีย่ ว เนื่องจาก บริเวณท่ไี ด้รับพิบตั ิภัยหลายแห่งเปน็ สถานที่ท่องเทีย่ วท่ีได้รับ ความนิยมมาก มีการลงทุนสร้างโรงแรมที่พัก ในระดับต่างๆ รวมทั้งส่ิงอ้านวยความสะดวกแก่ นักท่องเที่ยว นอกจากจะเสียหายในด้านทรัพย์สินแล้ว การหยุดกิจการของธุรกิจต่างๆ ที่ประสบ พิบัติภัยยังท้าให้บุคลากรเป็นจ้านวนมากต้องสูญเสียรายได้ ไม่ว่าจะเป็นเจ้าของกิจการเอง หรือ ชดุ วิชา การเรียนรูส้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 3 - 217
พนักงานลูกจ้างของกิจการนั้นๆ ถึงแม้ว่ากิจการอ่ืนๆ ที่ไม่ประสบพิบัติภัยโดยตรงยังสามารถ ด้าเนินงานอยู่ได้ ก็อาจมีปัญหาการขาดแคลนลูกค้า เน่ืองจาก นักท่องเที่ยวเกิดความเกรงกลัว ไม่ กล้าเดนิ ทางมาเสยี่ งภัยอกี 3) ความเสียหายด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม คลื่นสึนามิที่ซัดเข้า สู่ฝั่งด้วยพลังแรงและมีระดับยอดคล่ืนสูงหลายเมตร ย่อมก่อให้เกิดความเสียหายแก่ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมบนชายฝ่ังได้มาก ซึ่งไม่สามารถประเมินค่าเป็นตัวเงินได้ ตัวอย่างของความเสียหายท่ีส้าคัญๆ ได้แก่ ความเสียหายของปะการังใต้น้า ซ่ึงถูกคลื่นกระแทก แตกหักเสียหาย หรือถูกตะกอนและวัสดุต่างๆ ที่น้าพัดพามาจากท้องทะเลและบนพื้นดิน ทับถม กนั บนสว่ นยอดของปะการงั ความเสียหายของปา่ ชายเลนทีถ่ กู คลื่นซดั จนหักโค่น หรอื หลดุ ลอยไป กับมวลน้า การเปลี่ยนแปลงของแนวชายหาด โดยบางส่วนถดถอยเข้ามาในบริเวณชายฝ่ัง เน่ืองจากการกัดเซาะของพลังคล่ืน และบางส่วนอาจรุกล้าออกไปในทะเลจากการทับถมของ ตะกอนที่น้าพัดพามา การเปลี่ยนแปลงของบริเวณปากแมน่ า้ ซึ่งอาจขยายกวา้ งออกหรือเคล่ือนท่ี ไปจากเดิม เน่ืองจากพลังการกัดเซาะของคล่ืนและการเปล่ียนเส้นทางน้าไหลจากปากน้าออกสู่ ทะเล การมีซากปรักหักพังของสิ่งก่อสร้างตามบริเวณชายหาด ซ่ึงท้าให้เกิดความสกปรก รกรุงรัง รวมทง้ั มีเศษขยะตา่ งๆ ท่ีคล่ืนซดั มากองไวเ้ ปน็ จ้านวนมาก กิจกรรมที่ 8.2 จงบอกพ้นื ท่ีเส่ยี งภัยตอ่ การเกดิ สึนามขิ องประเทศตา่ งๆในโลก แนวตอบ ส้าหรับพ้ืนท่ีเสี่ยงภัยในทวีปเอเชียและประเทศต่างๆ ในโลกท่ีมีโอกาสสูงในการเกิด เคลื่อนสนึ ามไิ ด้ คือบริเวณทแ่ี ผ่นเปลอื กโลกเคลื่อนแบบมุดตัวและเกาะท่ีเกดิ จากภูเขาไฟ หรอื แนว ภเู ขาไฟที่ผดุ ขึน้ มาคูก่ บั ร่องลึกในบริเวณของมหาสมุทรแปซฟิ กิ บริเวณดงั กลา่ วนี้ในบางครั้งเรียกว่า “วงแหวนแห่งไฟ” กลุ่มพ้ืนที่เส่ียงต่อการเกิดสึนามิ เช่น เกาะซานโตริน่ี ประเทศกรีซ เมืองลิสบอน ประเทศโปรตุเกส เกาะกรากะตัวจุ ดเกิดแผ่นดินไหวท่ีหมู่เกาะอาลิวเชียน ก่อให้เกิดคลื่นสึนามิ ทถี่ าโถมเขา้ ส่ฮู าวายและอะแลสกา ประเทศญ่ปี ุ่น มหาสมุทรอนิ เดีย และประเทศชิลี เป็นต้น ชดุ วชิ า การเรียนรสู้ ูภ้ ยั ธรรมชาติ 3 - 218
กิจกรรมที่ 8.3 จงบอกสถิติการเกดิ สึนามิของประเทศต่าง ๆ ในโลก สถติ ิการเกดิ สนึ ามิในเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ วนั ท่ี/เดือน/พ.ศ. สถานท่เี กดิ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2426 (ค.ศ. 1883) ภูเขาไฟกรากะตวั ระเบิด 16 สงิ หาคม พ.ศ. 2519 (ค.ศ. 1976) รอบอา่ วโมโร (เมืองโคตาบาโต) ประเทศฟิลิปปนิ ส์ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004) หมเู่ กาะสมุ าตรา ประเทศอินโดนเี ซยี 25 ตุลาคม พ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2010) หมู่เกาะเมนิ ตาวัย ประเทศอินโดนีเซีย หมเู่ กาะสมุ าตรา ประเทศอนิ โดนีเซีย ขนาด 8.9 และ 8.3 ประเทศไทยสามารถรับรู้แรงสั่นสะเทือนได้ เกดิ คลนื่ สนึ ามิ 11 เมษายน พ.ศ. 2555 (ค.ศ. 2012) ขนาดเล็กและไมส่ ง่ ผลกระทบตอ่ ประเทศไทย สถิติการเกิดสึนามิในเอเชียใต้ วันที่/เดอื น/พ.ศ. สถานทเ่ี กดิ พ.ศ. 2067 (ค.ศ. 1524) ใกล้เมือง Dabhol รัฐมหารัชตะ ประเทศอนิ เดีย 2 เมษายน พ.ศ. 2305 (ค.ศ. 1762) ชายฝั่งอาระคัน ประเทศพมา่ 16 มิถนุ ายน พ.ศ. 2362 (ค.ศ. 1819 Rann of Kachchh รัฐกุจาราช ประเทศอนิ เดีย 31 ตลุ าคม พ.ศ. 2390 (ค.ศ. 1847) หม่เู กาะนิโคบารใ์ หญ่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2424 (ค.ศ. 1881) หมู่เกาะคาร์นิโคบาร์ 26 สงิ หาคม พ.ศ. 2426 (ค.ศ. 1883) ภเู ขาไฟกรากะตัวระเบดิ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) ชายฝัง่ Mekran บาลูจิสถาน สถิตกิ ารเกิดสึนามิในอเมรกิ าและแครบิ เบยี น วันที่/เดือน/พ.ศ. สถานทเ่ี กดิ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2461 (ค.ศ. 1918) เปอรโ์ ตริโก 18 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2472 (ค.ศ. 1929) นิวฟาวนดแ์ ลนด์ 4 สงิ หาคม พ.ศ. 2489 (ค.ศ. 1946) สาธารณรัฐโดมนิ กิ ัน[ 18 สงิ หาคม พ.ศ. 2489 (ค.ศ. 1946) สาธารณรัฐโดมนิ กิ ัน 14 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2383 (ค.ศ. 1840) เกรท สเวลลใ์ นแม่น้าเดลาแวร์ 17 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2415 (ค.ศ. 1872) รัฐเมน 9 มกราคม พ.ศ. 2469 (ค.ศ. 1926) รัฐเมน ชดุ วชิ า การเรยี นรสู้ ู้ภยั ธรรมชาติ 3 - 219
8.4 จงบอกวิธเี ตรยี มตัวเพ่ือลดความเสียหายจากสนึ ามิ แนวตอบ การเตรียมตวั กอ่ นเกิดสึนามิ 1. เมื่อได้รับฟังประกาศจากทางราชการเก่ียวกับการเกิดแผ่นดินไหวบริเวณทะเล อันดามนั ใหเ้ ตรียมรับสถานการณท์ อ่ี าจจะเกดิ คลนื่ สนึ ามิตามมาได้ โดยด่วน 2. สังเกตปรากฏการณข์ องชายฝ่ัง หากทะเลมกี ารลดของระดับน้าลงมาก หลงั การเกิด แผ่นดินไหวให้สันนิษฐานว่าอาจเกิดคลื่นสึนามิตามมาได้ ให้อพยพ คนในครอบครัว สัตว์เล้ียง ให้ อยู่ห่างจากชายฝงั่ มากๆและอยูใ่ นทด่ี อนหรือน้าทว่ มไมถ่ งึ 3. ติดตามการเสนอขา่ วของทางราชการอยา่ งใกล้ชิดและต่อเนือ่ ง 4. หากทพ่ี ักอาศัยอยใู่ กล้ชายหาด ควรจัดทา้ เขือ่ น ก้าแพง ปลกู ต้นไม้ วางวสั ดุ ลดแรง ปะทะของนา้ ทะเล และก่อสรา้ งท่พี กั อาศยั ให้มัน่ คงแข็งแรง ในบรเิ วณยา่ นทม่ี คี วามเสี่ยงภัยในเร่ือง คลื่นสึนามิ 5. หลกี เลีย่ งการกอ่ สรา้ งใกล้ชายฝ่งั ในย่านทม่ี คี วามเส่ียงสูง 6. วางแผนในการฝกึ ซ้อมรับภัยจากคลน่ื สนึ ามิ เช่น ก้าหนดสถานที่ในการอพยพแหล่ง สะสมนา้ สะอาด เป็นต้น การปฏบิ ัติขณะเกดิ สึนามิ ทาได้โดย 1. ในกรณีท่ีได้รับการเตือนภัยว่าจะเกิดคลื่นสึนามิ ให้ต้ังสติให้ดี และปฏิบัติตาม ข้ันตอนที่ได้รับการอบรมมา ควรเตรียมอาหารแห้ง น้าด่ืม ยา เวชภัณฑ์ เอกสารส้าคัญและเงินสด จ้านวนหน่ึงติดตัวไปด้วย ให้อพยพขึ้นไปยังท่ีเนินสูงน้าท่วมไม่ถึงหรือใช้เส้นทางที่ทางราชการ กา้ หนดไว้ 2. เมื่อเห็นน้าทะเลลดลงอย่างผิดปกติ อย่าลงไปในชายหาด เพราะหากเกิดคล่ืน เคลื่อนตัวเข้ามาจะไม่สามารถวิ่งหลบหนีคล่ืนได้ทัน ควรรีบออกให้ห่างจากบริเวณฝ่ังชายทะเลให้ มากท่ีสุด 3. ผู้ทเี่ ดนิ เรืออยใู่ นทะเล เมื่อได้ยินการเตือนภัยหา้ มนา้ เรอื เข้ามาบรเิ วณชายฝั่งเป็นอัน ขาด ถ้าอยู่ในท่าเรือหรืออ่าวให้รีบน้าเรือออกไปกลางทะเลห่างจากชายฝั่ง เพราะคล่ืนสึนามิท่ีอยู่ ไกลชายฝ่ังมาก ๆ จะมขี นาดเลก็ 4. คล่ืนสึนามิสามารถโถมเข้าหาชายฝ่ังได้หลายระลอก แต่ละระลอกอาจทิ้งช่วง ประมาณ 20 นาที ควรรอสักระยะหรือจนกว่าจะได้รับการยืนยันว่าปลอดภยั แล้ว ผู้ที่อพยพข้ึนส่ทู ี่ สงู จงึ ลงมาจากท่หี ลบภัยหรอื เรอื ทลี่ อยลา้ อยูก่ ลางทะเลจงึ กลบั เขา้ ฝงั่ ชุดวิชา การเรยี นร้สู ู้ภยั ธรรมชาติ 3 - 220
5. เมื่อรู้ว่ามีแผ่นดินไหวเกิดขึ้น ขณะท่ีอยู่ในทะเลหรือบริเวณชายฝ่ัง ให้รีบออกจาก บริเวณชายฝ่ังไปยังบริเวณท่ีสูงหรือท่ีดอนทันที โดยไม่ต้องรอประกาศจากทางราชการ เน่ืองจาก คลนื่ สนึ ามเี คลื่นท่ดี ว้ ยความเร็วสูง 6. อย่าลงไปในชายหาดเพื่อดูคลื่นสึนามิ เพราะเม่ือเห็นคลื่นแล้วก็ใกล้เกินกว่าจะ หลบหนี การปฏิบตั ติ ัวหลงั เกดิ สนึ ามิ 1. ส้ารวจดูตนเองและคนที่ใกล้ชิดว่ามีใครได้รับบาดเจ็บหรือเป็นอันตรายหรือไม่ ถ้ามี ควรรีบปฐมพยาบาลและนา้ สง่ โรงพยาบาลโดยด่วน 2. หลังจากคล่ืนสึนามิพัดเข้าสู่ชายฝ่ัง เม่ือเหตุการณ์จะสงบลง ส่ิงที่ควรระวัง คือ การเกิดแผ่นดินไหวเบา ๆ หรอื ทีเ่ รยี กว่า อาฟเตอร์ชอ็ ก (after shock) ตามมา ซึ่งมักจะเกดิ ตามมา หลังจากเกิดแผ่นดินไหวประมาณคร่ึงชั่วโมงถึง 2 วัน และหากเกิดอาฟเตอร์ช็อกข้ึน ไม่ควรออก จากตัวอาคารบ้านเรือน ไม่ควรยืนใกล้หน้าต่าง ประตู เพราะกระจกอาจจะแตก ท้าให้ได้รับ อันตราย 3. ส้ารวจความเสียหายของอาคารบ้านเรือน สิ่งก่อสร้างต่าง ๆ แจ้งให้ทางราชการ ทราบ 4. คอยฟังประกาศจากทางราชการ หากให้มีการอพยพออกนอกพ้ืนที่ ควรหยิบ เอกสารสา้ คัญและทรัพยส์ ินมีค่า แลว้ ออกจากบรเิ วณดงั กลา่ วไปอย่ใู นเขตปลอดภยั ตอ่ ไป กจิ กรรมที่ 8.5 จงบอกแนวทางการป้องกนั ภยั และการแกไ้ ขปัญหาผลกระทบทีเ่ กดิ ขึ้นจาก สนึ ามิ แนวตอบ ภาครฐั ดาเนนิ การดงั น้ี 1. จัดวางผงั เมืองให้เหมาะสม โดยพิจารณาจดั ให้แหล่งท่อี ยู่อาศยั อย่บู รเิ วณท่หี ่างจาก ชายฝ่ังทะเล 2. ประชาสมั พันธ์และให้ความรูแ้ ก่ประชาชนในเรื่องการป้องกันและบรรเทาภัยจาก คลื่นสนึ ามิ และแผ่นดินไหว 3. จัดใหม้ กี ารฝกึ ซ้อมรบั ภัยจากคลนื่ สึนามิ ชุดวชิ า การเรยี นรสู้ ู้ภยั ธรรมชาติ 3 - 221
4. วางแผนในเรอื่ งการอพยพผู้คน การก้าหนดสถานท่ีในการอพยพ การเตรียมแหลง่ สะสมน้าสะอาด การจดั เตรยี มบ้านพกั อาศยั ชั่วคราว การระสานงานกบั หน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้ งขณะ เกดิ ภยั การก้าหนดขั้นตอน หรือวธิ ีการชวยเหลอื บรรเทาภัยดา้ นสาธารณสขุ การรือ้ ถอนและฟ้ืนฟู สิ่งกอ่ สร้าง 5. หลีกเล่ยี งการก่อสร้างใกลช้ ายฝ่ังทะเล ในเขตทม่ี ีความเสี่ยงภยั จากคลื่นสึนามสิ ูง 6. จดั ให้มศี ูนย์เตือนภัยจากคลน่ื สึนามิ 7. มกี ารประกาศเตอื นภยั ภาคเอกชนดาเนนิ การดังนี้ 1. ควรใหก้ ารสนับสนนุ ภาครัฐและประชาชนในเรือ่ งการประชาสัมพันธ์ หรอื การให้ ความรู้แกป่ ระชาชน ในเรื่องการปอ้ งกันและบรรเทาภยั จากคล่ืนสนึ ามิ 2. ใหก้ ารสนบั สนุนด้านการเงนิ เพอื่ ใชใ้ นการป้องกนั ภยั สนึ ามิ และการช่วยเหลือหลัง เกดิ ภยั พิบตั ิขน้ึ 3. ให้การสนับสนนุ ด้านก้าลังคนในการชว่ ยเหลอื กรณเี กดิ ภยั จากสึนามิ ภาคประชาชนดาเนนิ การ ดังน้ี 1. ควรติดตามการเสนอขา่ ว หรอื ประกาศเตือนอยา่ งใกลช้ ดิ และตอ่ เนื่อง 2. รู้จกั สังเกตปรากฏการณข์ องชายฝง่ั ถา้ น้าทะเลลดระดับลงมามากหลงั เกิด แผ่นดนิ ไหว ใหส้ ันนิษฐานว่า อาจเกิดคล่นื สนึ ามติ ามมาได้ ให้รบี อพยพคนในครอบครวั หรอื สตั ว์ เล้ยี ง ให้อยูห่ ่างจากชายฝ่ังมาก ๆ ควรอยูใ่ นทด่ี อนหรือท่สี ูงน้าท่วมไมถ่ ึง 3. กรณีท่ีอยู่ในเรือ ซงึ่ จอดอยทู่ ท่ี ่าเรือหรอื อา่ วใหร้ ีบน้าเรอื ออกไปกลางทะเล เมือ่ ทราบวา่ จะเกดิ คลืน่ สนึ ามิพัดเข้าหา 4. หากเกิดภัยจากคลื่นสนึ ามิ พยายามตงั้ สติใหม้ ่ัน เพอื่ เตรียมรับสถานการณ์ 5. อย่าลงไปชายหาดเพอื่ ไปดูคลนื่ สนึ ามิ เพราะเมือ่ เหน็ คลื่นแล้วก็จะไม่สามารถวิง่ หลบหนไี ดท้ นั 6. ไมค่ วรประมาท กรณีที่มขี ่าวว่าจะเกดิ คลื่นสนึ ามิขนาดเลก็ เนื่องจากคลื่นสึนามใิ น บรเิ วณหนึง่ อาจมีขนาดเล็ก แตว่ ่าอกี บริเวณหนงึ่ อาจมขี นาดใหญก่ ไ็ ด้ 7. คล่ืนสึนามสิ ามารถเกดิ ขนึ้ ได้อีกหลายระลอก จากการเกิดแผ่นดนิ ไหวคร้ังเดียว เนื่องจากการ แกวง่ ไปแกว่งมาของนา้ ทะเล ถา้ จะลงไปชายหาดให้รอสกั ระยะหนงึ่ เพอ่ื ให้แนว่ ่า ปลอดภัยจากคลน่ื แล้ว ชุดวชิ า การเรยี นร้สู ภู้ ยั ธรรมชาติ 3 - 222
กจิ กรรมที่ 8.6 กรณีเกิดสนึ ามใิ นพน้ื ที่เราจะแจง้ ประสานความช่วยเหลือและแจง้ ข่าวสารจาก หน่วยงานท่เี ก่ียวข้องใดบา้ ง จงยกตัวอยา่ งมาสัก 3 หนว่ ยงาน แนวตอบ 1. ศูนยเ์ ตือนภยั พิบตั แิ หง่ ชาติ 2. ศูนย์ปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยทมี่ ีอยูใ่ นทุกจงั หวดั 3. กระทรวงดจิ ทิ ลั เพ่อื เศรษฐกิจและสงั คม ชุดวชิ า การเรียนรู้ส้ภู ยั ธรรมชาติ 3 - 223
เฉลย/แนวตอบกจิ กรรม หน่วยการเรยี นรู้ที่ 9 บคุ ลากรและหน่วยงานที่เก่ียวข้องกับภัยธรรมชาติ กิจกรรมที่ 9.1 หากเกิดเหตุการณล์ มพายพุ ัดบา้ นเรือนจนไดร้ ับความเสยี หาย ควรแจง้ ใครเพือ่ ขอความช่วยเหลือในเบ้ืองต้น แนวตอบ 1. ถ้าเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดในหมูบ้านของท่านเองบุคคลที่สามารถให้ความช่วยเหลือ ในเบอ้ื งต้นไดแ้ ก่ ผู้ใหญ่บ้าน กา้ นนั นายกองค์การบรหิ ารส่วนตา้ บล (นายก อบต.) นายกเทศมนตรี เทศบาลต้าบล 2. ถ้าเหตกุ ารณเ์ กดิ หมบู่ ้านอืน่ ในจงั หวัดของท่านบุคคลทีส่ ามารถใหค้ วามชว่ ยเหลือได ได้แก่ นายอ้าเภอ ผูว้ า่ ราชการจังหวัด นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) ผู้อ้านวยการศูนย์ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจงั หวดั กจิ กรรมที่ 9.2 จงบอกหนว่ ยงานทีม่ บี ทบาทหนา้ ทใี่ นการให้ความชว่ ยเหลือเม่ือเกิดเหตุการณ์ ภยั ธรรมชาติมาอย่างนอ้ ย 5 หน่วยงาน แนวตอบ 1. กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั สังกัด กระทรวงมหาดไทย 2. กรมทางหลวงชนบท สงั กดั กระทรวงคมนาคม 3. สภาบนั การแพทย์ฉกุ เฉินแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข 4. กรมอุตุนยิ มวิทยา สงั กัดกระทรวงดจิ ทิ ัลเพ่อื เศรษฐกจิ และสังคม 5. ศนู ย์เตือนภัยพบิ ัติแหง่ ชาติ สงั กดั กระทรวงดจิ ิทลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสังคม 6. กรมส่งเสริมการเกษตร สังกัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 7. กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธ์ุพืช สังกัด กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ ส่งิ แวดล้อม ชดุ วิชา การเรยี นรู้สภู้ ยั ธรรมชาติ 3 - 224
บรรณานกุ รม กิจการ พรหมมา. (2551). การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจากน้าป่า แผ่นดินถล่มและน้า ท่วมซ้าซากในเขตภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย. กรุงเทพฯ : ส้านักงาน คณะกรรมการวจิ ยั แหง่ ชาต.ิ กรมทรัพยากรธรณี. (2546). คู่มือการป้องกันธรณีพิบัติภัยจากดินถล่มและบัญชีรายชื่อหมู่บา้ น เสย่ี งภยั ดินถลม่ ภาคเหนอื . กรงุ เทพฯ : กรมทรัพยากรธรณ.ี ----------. (2547). 112 ปี กรมทรพั ยากรธรณี “ก้าวทีไ่ ม่หยดุ ยง้ั มงุ่ ม่ันเพอ่ื ประชาชน”. กรุงเทพฯ. กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย. (ม.ป.ป.). ป้องกันและบรรเทาสาธารณ ภัยเชียงใหม่ประกาศวาระภัยหนาว หมอกควัน ไฟป่าและภัยแล้งของจังหวัด (ออนไลน์). สืบค้นจาก http://www.disaster.go.th/dpm/index.php [ 20 มีนาคม 2553] กรมสง่ เสรมิ การปกครองส่วนท้องถน่ิ . (ม.ป.ป.). มาตรการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย (ออนไลน์). สบื คน้ จาก: http://www.dla.go.th/work/e_book/eb1/std210550/6/5.pdf [15 กันยายน 2559]. กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ . (ม.ป.ป). ภยั สขุ ภาพจากภาวะหมอกควัน (ออนไลน)์ . สืบคน้ จาก http://hia.anamai.moph.go.th/main.php?filename=hia_poster_1 [12 กันยายน 2559]. กรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพนั ธุ์พชื . (2546). สถิตกิ ารเกดิ ไฟป่า,แผนที่แสดงจดุ ทีต่ รวจพบ ความร้อน(Hotspot Maps. (ออนไลน)์ . สืบค้นจาก : http://www.dnp.go.th/forestfire/2546/firestatistic%20Th.hmt [20 สิงหาคม 2559]. --------- . ( 2547). ประกาศกาหนดเขตควบคุมไฟปา่ . (ออนไลน์). สบื คน้ จาก : http://www.dnp.go.th//forestfire/2547/fire%20protect%20Th.hmt [20 กนั ยายน 2559]. ชุดวชิ า การเรียนรู้สู้ภยั ธรรมชาติ 3 - 225
กรมอตุ ุนิยมวิทยา. (ม.ป.ป.). หนังสืออตุ นุ ยิ มวทิ ยา(วาตภยั ). (ออนไลน์). สืบคน้ จาก : http:// www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=72 [12 กันยายน 2559]. กองประเมนิ ผลกระทบต่อสขุ ภาพ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ . (ม.ป.ป). คาแนะนาในการ ปฎิบตั ติ วั และดแู ลสขุ ภาพ ในสถานการณป์ ญั หาหมอกควนั (ออนไลน)์ . สืบคน้ จาก : http://hia.anamai.moph.go.th/download/Serveillance/Danger/fog3.pdf [12 กนั ยายน 2559]. กฤษดา เกิดด.ี (2553). รูท้ นั ภยั พิบัติ : คมู่ อื ความปลอดภยั สาหรับดแู ลตนเองและครอบครัว. กรงุ เทพฯ : วงกลม. ขา่ วไทยพีบีเอส 30 ตุลาคม2555. เปิดเทคนิคการตั้งชอื่ พายุ และการแบ่งประเภทของพายุ. (ออนไลน์). สืบค้นจาก : http://news.thaipbs.or.th/content/122156 [14 กนั ยายน 2559]. คลังปญั ญาไทย. โคลนถล่ม. (ออนไลน์). สบื คน้ จาก http://www.panyathai.go.th [20 มนี าคม 2553] โครงการพฒั นาการจดั การภัยพิบตั ิ ภาคประชาชน. (2550). ดนิ ถลม่ (ภัยพบิ ัต)ิ . (ออนไลน)์ . สืบค้นจาก http://www.siamvoluter.com [21 มนี าคม 2559 ]. โครงการวิจัยไทย มลู นิธิส่งเสริมสนั ติวิถี. (2551). สรปุ ประเดน็ สาคัญ: ผลกระทบของพายุ ไซโคลนนาร์กสิ ท่มี ตี อ่ ประชาชนในพม่า (ออนไลน์). สบื ค้นจาก : www.volunteerspirit.org/files/u1/peaceway.doc [10 ตลุ าคม 2559]. จรัญธร บุญญานุภาพ. (2551). ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์กบั การจัดการภัยพบิ ตั จิ ากแผ่นดนิ ถล่มในประเทศไทย. วารสารเกษตรนเรศวร. จงรักษ์ วชั รินทรร์ ตั น์ และ สา้ นักงานคณะกรรมการวจิ ัยแห่งชาต.ิ (2550) การศึกษาศักยภาพลุ่ม นา้ เพือ่ จดั ทาแผนป้องกันและฟื้นฟูในการบรรเทาความเสยี หายพืน้ ทป่ี ระสบภยั นา้ ท่วมฉับพลนั และดินถล่ม : กรณีศกึ ษาพนื้ ทล่ี มุ่ นา้ หว้ ยนา้ รดิ อาเภอท่าปลา จงั หวดั อุตรดิตถ.์ กรงุ เทพฯ : สา้ นกั งานคณะกรรมการวิจยั แหง่ ชาติ. ชุดวชิ า การเรยี นรู้สู้ภยั ธรรมชาติ 3 - 226
จริ ะ ปรงั เขียว. กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั และ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่. (2551). การประยุกต์ใชร้ ะบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ในการวิเคราะหแ์ ละวางแผนจัดการพ้นื ที่ เสี่ยงภัยดินถลม่ ในอาเภอฝาง จงั หวัดเชียงใหม่. กรุงเทพฯ. ชติ ชยั อนนั ตเศรษฐ์. (ม.ป.ป.). ปญั หาดินถลม่ ในจงั หวดั เชยี งใหม่และภาคเหนือตอนบน. (ออนไลน)์ . สบื คน้ จาก http://www.cendru.eng.cmu.ac.th/web/4-2.htm. [2 มีนาคม 2559]. ธวัชชัย ติงสญั ชลี และ ส้านักงานกองทนุ สนับสนนุ การวิจยั . (2546). โครงการวจิ ัย การพัฒนา แผนหลกั การจดั การภยั ธรรมชาติท่เี กย่ี วขอ้ งกับน้า : นา้ ทว่ ม น้าแลง้ และแผน่ ดนิ ถล่ม : รายงานฉบบั สมบรู ณ์. กรุงเทพฯ : ส้านกั งานกองทุนสนบั สนนุ การวจิ ัย. บญั ชา ธนบญุ สมบัติ. (2548). รับมอื \"ธรณีพิบตั ิ\" .กรงุ เทพฯ :รว่ มดว้ ยชว่ ยกนั . มีนา ม.โอวรารนิ ท์. (2557). คู่มือเอาตวั รอดจาก 16 ภยั พิบัติ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพพ์ มิ พด์ ี. ----------. รบั มือ “ธรณีพิบัตภิ ยั ”.กรุงเทพฯ : รว่ มด้วยช่วยกัน, 2548. บุญชยั งามวิทยโ์ รจน.์ (2551). ปัจจยั เสี่ยงและวิถชี ีวิตของชมุ ชนในพืน้ ที่ เสี่ยงภยั ดินถลม่ และน้า ทว่ ม-ดินถลม่ ศึกษาเฉพาะกรณีชมุ ชนในพื้นทล่ี มุ่ นา้ ปงิ ตอนบน : รายงานการศกึ ษา วจิ ยั . กรงุ เทพฯ : ส้านักวิจัยพัฒนาและอุทกวทิ ยา. มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ และกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั . (2553) การประยุกต์ใชร้ ะบบ สารสนเทศภูมิศาสตร์ : เพอ่ื การวิเคราะหแ์ ละวางแผนจัดการพน้ื ท่ีเส่ียงภยั ดนิ ถล่ม กรณีศึกษาอาเภอ ลบั แล อาเภอท่าปลา และอาเภอเมอื ง จังหวัดอุตรดติ ถ์. กรุงเทพฯ : กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. มีนา ม.โอวรารนิ ท์. (2557). คู่มอื เอาตัวรอดจาก 16 ภยั พบิ ตั ิ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพพ์ ิมพ์ดี. ----------. (ม.ป.ป.). พายุหมนุ เขตร้อน. (ออนไลน)์ . สบื คน้ จาก : http://www.lesa.biz/earth/ atmosphere/phenomenon/tropical-storm [13 กนั ยายน 2559]. ศนู ย์ข้อมูลขา่ วสารอาเซยี น กรมประชาสัมพนั ธ.์ (2559). การแก้ไขปัญหาหมอกควนั ภายใตค้ วาม ตกลงอาเซียนวา่ ด้วยมลพิษจากหมอกควนั ข้ามแดน (ออนไลน์). สืบค้นจาก ชุดวชิ า การเรียนรูส้ ูภ้ ยั ธรรมชาติ 3 - 227
http://www.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=5864&filename=index [12 กนั ยายน 2559] ศูนย์ข้อมลู ภัยพบิ ตั ิภาคประชาชน. (ม.ป.ป.). สถติ ิพายหุ มนุ เขตรอ้ นและมีกาลังรนุ แรงทเี่ ข้าสู่ ประเทศไทย (ออนไลน์). สืบคน้ จาก : http://www.disasterthailand.org/สถิตพิ ายุ หมุนเขตร้อนและมกี า้ ลงั รนุ แรงทเ่ี ข้าสู่ประเทศไทย. [13กันยายน 2559]. ศนู ย์ป้องกนั ภยั พิบตั ิภาคประชาชน. (ม.ป.ป.). ข้อมูลเหตุการณ์ดนิ โคลนถล่มที่ผ่านมา. (ออนไลน์) สืบคน้ จาก : http://www.disasterthailand.org. [4 เมษายน 2559]. ศูนย์อตุ นุ ยิ มวทิ ยาภาคใตฝ้ ่ังตะวนั ออก. (ม.ป.ป.).ภัยธรรมชาตใิ นประเทศไทย. (ออนไลน์). สบื คน้ จาก : http://www.songkhla.tmd.go.th/attachment/images/Disas.pdf [10 ตุลาคม 2559]. ศูนยอ์ ตุ นุ ิยมวทิ ยาภาคเหนือ. (ม.ป.ป.). ภยั ธรรมชาติ .(ออนไลน์). สืบค้นจาก : http://www.cmmet.tmd.go.th [25 เมษายน 2559] ----------. ภยั ธรรมชาติ. (ออนไลน)์ . สบื ค้นจาก.www.cmmet.tmd.go.th [29 มนี าคม 2555] ศนู ยก์ ารเรียนรวู้ ิทยาศาสตรโ์ ลกและดาราศาสตร.์ (ม.ป.ป.) พายฝุ นฟ้าคะนอง. (ออนไลน)์ . สบื ค้น จาก:http://www.lesa.biz/earth/atmosphere/phenomenon/thunderstorm [13 กนั ยายน 2559]. สถาบันวจิ ัยและพัฒนาพื้นทสี่ งู (องคก์ ารมหาชน). (2555). การป้องกนั ไฟป่า. (ออนไลน์). สืบคน้ จาก: http://www2.hrdi.or.th/media/detail/1617 [20 กันยายน 2559]. สมิทธ ธรรมสโรช. (2542). “ภยั ธรรมชาติ ท่ีมีผลกระทบตอ่ ประเทศไทย.” วารสารชมรมนกั อุทกวิทยา. มปพ. สารานกุ รมไทยส้าหรบั เยาวชน เลม่ ท่ี 34 เรือ่ งท่ี 7 พายแุ ละฝนในประเทศไทย : สถติ พิ ายหุ มุน เขตร้อนที่เขา้ สปู่ ระเทศไทย. (ออนไลน)์ . สบื ค้นจาก : http://kanchanapisek.or.th /kp6/sub/book/book.php?book=34&chap=7&page=t34-7-infodetail09.html [13 กนั ยายน 2559]. ชุดวชิ า การเรยี นรู้สู้ภยั ธรรมชาติ 3 - 228
ส้านกั ข่าวออนไลนไ์ ทยพับลกิ า้ . (2557). มลภาวะทจี่ ีน: ปัญหาท่ีทา้ ทายมนุษยชาติ (ตอนท่ี 9) (ออนไลน)์ . สบื ค้นจาก http://thaipublica.org/2014/10/shanghai-pollution-9/ [12 กนั ยายน 2559]. สา้ นกั งานธรณวี ิทยาสิ่งแวดลอ้ มและธรณพี บิ ตั ิภัย กรมทรพั ยากรธรณี. (2553). ความรู้เกี่ยวกบั ดนิ ถลม่ . (ออนไลน)์ . สืบค้นจากhttp://www.dmr.go.th/download/Landslide/what_ landslide.htm [1 มนี าคม 2559]. สา้ นักงานบรรเทาทกุ ขแ์ ละประชานามัยพิทักษ์ สภากาชาดไทย. ภยั ธรรมชาติใกลต้ วั . มปท. มปป. ส้านักงานส่ิงแวดลอ้ มภาคท่ี 1 เชียงใหม่ กรมควบคมุ มลพิษ. (2559). สถานการณม์ ลพษิ หมอก ควนั จากไฟป่าและการเผาในที่โล่ง ปี 2557 (ออนไลน์). สบื คน้ จาก http://reo01. mnre.go.th/ewt_dl_link.php?nid=30 [15 กันยายน 2559]. ส้านกั ป้องกันปราบปรามและควบคุมไฟป่า. (ม.ป.ป.). ชนดิ ของไฟป่า. (ออนไลน์). สืบค้นจาก : http://www.dnp.go.th//forestfire/FIRESCIENCE/lesson%201/lesson 1-3.thm [28 กันยายน 2559]. สา้ นักประชาสมั พันธ์ เขต 3 เชยี งใหม่. (2555). รอบร้เู ร่ืองภยั พบิ ัติ. (ออนไลน์). สืบค้นจาก : www.region 3.prd.go.th. [9 ตลุ าคม 2559] สา้ นักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2558). คูม่ ือการเผา้ ระวังผลกระทบตอ่ สขุ ภาพจากปัญหาหมอกควัน สาหรบั บุคลากร สาธารณสขุ . มปพ. หนังสอื เสรมิ ความร้ชู ุด “รู้ทนั ภยั พบิ ัติ” เร่ืองภยั นา้ ทว่ ม เอกสารวชิ าการล้าดับที่ 49/2555 ส้านกั งาน กศน. สา้ นกั ปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร. หน่มุ พยากรณ์. (2551). ตามรอยพายุไซโคลน “นากสี ”. วารสาร อุตนุ ิยมวิทยา ฉบับที่ 2 ประจา้ เดือน พฤษภาคม 2551 (ออนไลน)์ . สืบค้นจาก : http://www.tmd.go.th/ programs%5Cuploads%5Cmagazines%5Cmag2-2551.pdf [9 ตุลาคม 2559]. อุตุนิยมวทิ ยา. (ม.ป.ป.). ความรดู้ ้านอุตนุ ยิ มวทิ ยา เร่ือง ภัยธรรมชาติในประเทศไทย(ออนไลน)์ . สืบคน้ จาก: http://www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=78 [12 กันยายน 2559]. ชดุ วิชา การเรยี นรูส้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 3 - 229
matichon online. (2559). ปญั หาไฟป่า ภยั อนั ตรายตอ่ มนษุ ยแ์ ละสงิ่ แวดลอ้ ม.(ออนไลน์). สบื คน้ จาก : http://www.matichon.co.th [ 26 กันยายน 2559] . Pacific Diaster Net.LandslideTypesProcesses” (Online). Availble. http://www. pacificdisaster.et/pdnadmin/data/documents/1411.html [2 March 2016]. Survey. “The Landslide Handbook - A Guide to UnderstandingLandslides” (Online). Available Wikipedia free encyclopedia. Wikimedia Foundation. “Landslide classification” (Online). Available. https://en.wikipedia.org/wiki/Landslide_classification [2 March 2016]. ชุดวิชา การเรยี นรู้สภู้ ยั ธรรมชาติ 3 - 230
คณะผูจ้ ัดทา ท่ปี รกึ ษา เลขาธกิ าร กศน. ส้านกั งาน กศน. รองเลขาธกิ าร กศน. สา้ นกั งาน กศน. นายสุรพงษ์ จ้าจด ผอู้ า้ นวยการกล่มุ พฒั นาการศึกษานอกระบบ นายประเสริฐ หอมดี และการศกึ ษาตามอัธยาศัย นางตรีนชุ สขุ สุเดช ผ้อู ้านวยการ สถาบัน กศน. ภาคเหนอื รองผอู้ า้ นวยการ สถาบัน กศน. ภาคเหนอื นายจ้าเริญ มลู ฟอง นายสมชาย เด็ดขาด ผวู้ ิเคราะห์เน้ือหาและจดั ทาโครงสร้างหลกั สตู ร นายประดษิ ฐ์ สวุ รรรณศักดิ์ นายชา่ งเคร่ืองกลอาวุโส ศป เขต 10 ล้าปาง นางสนุ ันท์ โกษาวงั เจา้ หน้าทวี่ เิ คราะห์นโยบายและแผน ช้านาญการพิเศษ ศนู ย์ ปภ เขต 10 ล้าปาง นางอัมพวนั กนั วะนา เจา้ หน้าทีว่ ิเคราะห์นโยบายและแผน ช้านาญการ ศนู ย์ ปภ เขต 10 ลา้ ปาง นายนพิ นธ์ ณ จนั ตา ครูช้านาญการพเิ ศษ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ นางสาวกมลธรรม ช่นื พันธุ์ ครูชา้ นาญการพิเศษ สถาบนั กศน. ภาคเหนอื นางณิชากร เมตาภรณ์ ครชู ้านาญการพิเศษ สถาบัน กศน. ภาคเหนอื นางพิมพรรณ ยอดค้า ครูชา้ นาญการพเิ ศษ สถาบนั กศน. ภาคเหนอื นางรสาพร หมอ้ ศรีใจ ครูชา้ นาญการพิเศษ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ นางอรวรรณ ฟังเพราะ ครชู ้านาญการพิเศษ สถาบนั กศน. ภาคเหนอื นางอบุ ลรัตน์ มโี ชค ครูชา้ นาญการ สถาบนั กศน. ภาคเหนือ นางกรรณกิ าร์ ยศตอื้ ครูช้านาญการ สถาบัน กศน. ภาคเหนอื นางวราพรรณ พูลสวสั ดิ์ ครชู ้านาญการ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ นางแกว้ ตา ธรี ะกุลพศิ ุทธ์ิ ครชู ้านาญการ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ นางสาวนชั รี อ่มุ บางตลาด ครูชา้ นาญการ สถาบนั กศน. ภาคเหนอื นางอรสิ า ประกอบดี ครู สถาบนั กศน. ภาคเหนือ นายเสถียรพงศ์ ใจเย็น ครู สถาบนั กศน. ภาคเหนือ นายธนากร หนอ่ แก้ว ครู สถาบนั กศน. ภาคเหนอื นางสาวพรวมิ ล พนั ลา ครู ศนู ย์วิทยาศาสตรเ์ พ่ือการศึกษาลา้ ปาง ชดุ วิชา การเรียนรูส้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 3 - 231
ผรู้ วบรวม/ เรยี บเรียงเนือ้ หา ครชู า้ นาญการ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ ครู สถาบัน กศน. ภาคเหนือ หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 ภยั แล้ง ครู กศน.อา้ เภอแมส่ ะเรียง จ.แมฮ่ ่องสอน นางอุบลรัตน์ มโี ชค ครูอาสาสมัคร กศน.อา้ เภอพาน จ.เชยี งราย นายธนากร หน่อแกว้ นายประวิตร ประธรรมโย ครชู า้ นาญการ สถาบนั กศน. ภาคเหนือ นางกนษิ ฐา แสงอายุ ครชู า้ นาญการพเิ ศษ สถาบนั กศน. ภาคเหนือ ครูชา้ นาญการพิเศษ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 วาตภัย ครู กศน.ต้าบล กศน.อา้ เภอเมือง จ.น่าน นางแก้วตา ธีระกุลพศิ ทุ ธิ์ ครูอาสาสมคั ร กศน.อ้าเภอเมอื ง จ.น่าน นางณชิ ากร เมตาภรณ์ นางดวงทิพย์ แก้วประเสรฐิ ครูช้านาญการ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ นางสาวชลธิชา กา๋ แก้ว ครชู ้านาญการ สถาบนั กศน. ภาคเหนอื นางอา้ พร ค้าลือ ครู สถาบัน กศน. ภาคเหนือ ครู ศูนยว์ ิทยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษาลา้ ปาง หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 3 อุทกภัย นักวิชาการ ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พือ่ การศกึ ษาล้าปาง นางกรรณิการ์ ยศตอ้ื นางวราพรรณ พลู สวสั ด์ิ ครูชา้ นาญการ สถาบนั กศน. ภาคเหนอื นางอรสิ า ประกอบดี ครูช้านาญการ สถาบนั กศน. ภาคเหนอื นางสาวพรวิมล พันลา ครู สถาบัน กศน. ภาคเหนือ นายนครนิ ทร์ อรุณพันธ์ ครู ศนู ยว์ ิทยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษาลา้ ปาง นกั วชิ าการ ศูนยว์ ิทยาศาสตรเ์ พ่อื การศกึ ษาล้าปาง หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 4 ดินโคลนถล่ม นางกรรณิการ์ ยศต้อื นางวราพรรณ พูลสวัสด์ิ นางอรสิ า ประกอบดี นางสาวพรวิมล พันลา นายนครินทร์ อรุณพันธ์ ชุดวชิ า การเรียนรู้สู้ภยั ธรรมชาติ 3 - 232
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 5 ไฟปา่ ครูช้านาญการพเิ ศษ สถาบัน กศน. ภาคเหนอื นางสาวกมลธรรม ชื่นพนั ธุ์ ครู กศน.ต้าบล กศน.อา้ เภอเมือง จ.ลา้ ปาง นางสาวสายพิน ใจแก่น ครอู าสาสมคั ร กศน.อา้ เภอเมอื ง จ.ลา้ ปาง นางเยาวรีย์ บุณยะภักดิ์ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 6 หมอกควนั ครูช้านาญการ สถาบัน กศน. ภาคเหนอื นางสาวนัชรี อมุ่ บางตลาด ครู กศน.อา้ เภอแจ้หม่ จ.ล้าปาง นางสาวจิระวดี สมทรง ครู กศน.ต้าบล กศน.อ้าเภอเมอื งปาน จ.ลา้ ปาง นางสาวนันทรตั น์ ไขลา้ เมา หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 7 แผน่ ดนิ ไหว ครู สถาบัน กศน. ภาคเหนอื นายเสถียรพงศ์ ใจเยน็ ครู กศน.อา้ เภอแมส่ รวย จ.เชียงราย นางกาญจน์ณฏั ฐา ครี ธี ีรกลุ ครู กศน.อา้ เภอสนั ทราย จ.เชียงใหม่ นางยุพดี ดวงคา้ ครูอาสาสมัคร กศน.อา้ เภอแม่สรวย จ.เชียงราย นางธัญญารตั น์ กา้ พุฒกลาง หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 8 สนึ ามิ ผู้อา้ นวยการ กศน.อา้ เภอสนั ทราย จ.เชียงใหม่ นายจารเุ ศรษฐ์ อรณุ สทิ ธ์ิ ครชู า้ นาญการพิเศษ สถาบนั กศน. ภาคเหนือ นายนิพนธ์ ณ จนั ตา ครชู า้ นาญการ กศน.อ้าเภอสงู เมน่ จ.แพร่ นายธรี วฒุ ิ วงั แก้ว ครู กศน.ตา้ บล กศน.อ้าเภอเชียงมว่ น จ.พะเยา นายอดุ ร คา้ บุญเรือง ครู กศน.ต้าบล กศน.อา้ เภอปง จ.พะเยา นายพริ ณุ กุลชวาล หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 9 บุคลากรและหน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้ ง ฯ นายนิพนธ์ ณ จนั ตา ครูชา้ นาญการพิเศษ สถาบัน กศน. ภาคเหนอื นางสาวกมลธรรม ช่นื พันธ์ุ ครูชา้ นาญการพเิ ศษ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ นางแก้วตา ธรี ะกุลพิศทุ ธิ์ ครูช้านาญการ สถาบนั กศน. ภาคเหนือ ชุดวิชา การเรยี นรสู้ ู้ภยั ธรรมชาติ 3 - 233
บรรณาธิการ/พิสูจนอ์ ักษร ครูช้านาญการพเิ ศษ สถาบนั กศน. ภาคเหนอื นายนพิ นธ์ ณ จนั ตา ครชู ้านาญการพเิ ศษ สถาบนั กศน. ภาคเหนอื นางสาวกมลธรรม ชื่นพนั ธุ์ ครูชา้ นาญการพเิ ศษ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ นางณชิ ากร เมตาภรณ์ ครูช้านาญการ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ นางอบุ ลรตั น์ มีโชค ครูชา้ นาญการ สถาบนั กศน. ภาคเหนอื นางแกว้ ตา ธรี ะกลุ พิศทุ ธ์ิ ครูชา้ นาญการ สถาบนั กศน. ภาคเหนือ นางกรรณิการ์ ยศต้ือ ครชู ้านาญการ สถาบนั กศน. ภาคเหนือ นางสาวนัชรี อ่มุ บางตลาด ครชู า้ นาญการ สถาบัน กศน. ภาคเหนอื นางวราพรรณ พลู สวสั ดิ์ ครู สถาบนั กศน. ภาคเหนอื นางอรสิ า ประกอบดี ครู สถาบัน กศน. ภาคเหนอื นายเสถยี รพงศ์ ใจเย็น ครูช้านาญการพิเศษ สถาบัน กศน. ภาคเหนอื ผู้รบั ผิดชอบโครงการ ครูชา้ นาญการพิเศษ สถาบนั กศน. ภาคเหนอื นายนิพนธ์ ณ จนั ตา ครชู ้านาญการพเิ ศษ สถาบนั กศน. ภาคเหนอื ครชู า้ นาญการ สถาบนั กศน. ภาคเหนือ จดั รูปเล่ม ครู สถาบนั กศน. ภาคเหนอื นายนพิ นธ์ ณ จันตา นางณิชากร เมตาภรณ์ ครู สถาบนั กศน. ภาคเหนอื นางแกว้ ตา ธรี ะกุลพศิ ุทธิ์ นายเสถยี รพงศ์ ใจเย็น ออกแบบปก นายเสถยี รพงศ์ ใจเย็น พิมพท์ ่ี สถาบนั พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยภาคเหนอื ลา้ ปาง เอกสารวชิ าการลา้ ดับท่ี 29/2559 ชดุ วิชา การเรยี นรู้ส้ภู ยั ธรรมชาติ 3 - 234
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245