6) ฤดูร้อนปีใด ไม่พบรังนกบนต้นไม้ หรือนกย้ายไปทารังตามถ้า ตามใต้ หนา้ ผา ซอกเหลือบหินบนภเู ขา เป็นสญั ญาณเตอื นว่า ฤดูฝนปนี นั้ จะมีพายุลมแรง ฝนตกหนกั มาก 7) ฤดูร้อนปีใด มดท่ีขุดรูอาศัยใต้ดิน ขนเอาขุยดินข้ึนมาทาเป็นแนวกัน ดินกลม ๆ รอบรไู ว้ เป็นสญั ญาณว่าฤดฝู นปนี ี้ จะมฝี นดี 8) ฤดูร้อนปีใด ต้นทองกวาวออกดอกเต็มต้น มะขามติดฝักดก ต้นหว้าลูกดก หญา้ แพรกชอ่ ยาวต้นตรง เปน็ สญั ญาณว่าฤดูฝนปีนีจ้ ะมฝี นดี 9) ในช่วงฤดูฝน มดดาขนไข่ อพยพข้ึนไปอยู่ท่ีสูง เป็นสัญญาณเตือนว่า ภายในสองวัน จะมฝี นตกหนักจนน้าท่วม 10) ฤดูฝน ถ้าลงไปงมหอยในดินโคลนรมิ ฝัง่ แม่น้า แลว้ พบว่าหอยต่าง ๆ ยา้ ย ลงไปอยู่ในแนวร่องน้าลกึ กลางแมน่ า้ เป็นสัญญาณเตือนว่าปีน้ีน้าแล้ง 11) ฤดูฝน ถ้านกนางแอ่นมาเกาะเสาไฟฟ้า สายไฟฟ้า จานวนมาก เปน็ สัญญาณเตือนว่า ในทะเลจะมพี ายลุ มแรง 12) ฤดูฝน ถา้ นกปากห่างบนิ เปน็ ฝงู ใหญ่ ๆ ลงมาอาศัยอยู่แถบจังหวัดอยุธยา ปทมุ ธานี เปน็ สัญญาณเตือนวา่ อากาศหนาวกาลงั ตามมาภายในหน่ึงเดือน 13) ฤดูฝนปีใด มีน้าท่วมใหญ่ น้าท่วมนาน แสดงว่า ในฤดูหนาวจะมีแผ่นดิน ยุบ ดินถล่ม 14) ฤดูหนาวปีใดหนาวนาน จะบ่งบอกว่า ผลไม้จะติดดอก ออกผลดก ปีน้ัน จะมฝี นดี น้าทา่ จะมาก 15) ฤดูหนาว หากปีใดฤดูหนาวจะหนาวเป็นช่วงสั้น ๆ เป็นสัญญาณเตือนว่า ปีน้ันฝนจะแล้ง 16) ถ้าสัตว์เล้ือยคลานหนีออกมากจากรู หนูวิ่งไปมาวุ่นวาย ปลากระโดด ออกจากบ่อหรือกระชัง เป็ด ไก่บินกระเจิง หมู ม้า กระโดดโลดเต้นอยากออกจากคอก บางทีก็กัด กนั นกบินแบบต่ืนท่าทางตระหนก บินกระเจิงหลงทิศไม่เป็นระเบียบ สุนัขเห่าหอน ว่ิงเข้า วิ่งออก จากบ้าน ซา้ ไปมา แมววง่ิ ขึ้นต้นไม้อยา่ งหวาดกลวั บ่อน้าพรุ ้อนมีระดับน้าสูงขึ้นมากกว่าปกติจนล้น และมีอุณหภูมิของน้าร้อนสูงขึ้น จนมีควันไอร้อนชัดเจน อากาศทั่วไปร้อนขึ้น อาจมีเสียงดังคล้าย ฟ้าร้องหรือเสียงเลื่อนลากวัตถุท่ีมีน้าหนักมาก ๆ เป็นสัญญาณเตือนว่า จะเกิดแผ่นดินไหวขนาด ใหญภ่ ายใน 24 ชั่วโมง ชุดวชิ า การเรียนรสู้ ู้ภยั ธรรมชาติ 3 - 41
17) ถ้าอยู่ชายฝั่งทะเลแล้วรู้สึกว่าแผ่นดิน หาดทรายสั่นสะเทือนจนมึนงง เหมือนเมารถ เมาเรือหรือเมาคลื่น เป็นสัญญาณเตือนว่า ได้เกิดแผน่ ดินไหวขนาดใหญ่ใตท้ ้องทะเล ข้นึ แล้ว และหลังจากน้ันถ้ามีปรากฏการณ์น้าทะเลลดลงห่างจากฝั่งไปอย่างรวดเร็ว จนปลาเกยต้ืน เพราะว่าลงไปตามน้าไม่ทัน เป็นสัญญาณเตือนว่า ผลจากการเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ ใต้ท้อง ทะเลนนั้ มีความรุนแรงมากพอที่จะทาให้เกิดคลน่ื สึนามิ (คลนื่ ใต้น้า) และคลืน่ ดังกลา่ วกาลังจะเข้า ใกล้ชายหาดและกาลังจะซัดฝั่ง ภายในเวลาอันใกล้ ให้หนีออกห่างจากฝั่งทะเลให้ไกลไม่น้อยกว่า สองกิโลเมตร และต้องติดตามรอฟังข่าวจากทางราชการจนแน่ใจว่าปลอดภัยก่อนหรอื คอยจนกว่า จะเลยสามชวั่ โมงไปแล้ว จงึ ค่อยออกทะเล 2.5 พน้ื ทเ่ี สีย่ งภยั ต่อการเกดิ อทุ กภัย ในอดีตประเทศไทยมีป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์ แต่จากการบุกรุก แผ้วถางป่าเพ่ือทาไร่ เล่ือนลอย และการตัดไม้เพ่ือการค้าของกลุ่มนายทุน ทาให้ปัจจุบันพื้นท่ีป่าไม้ลดน้อยลง อย่างน่าใจหาย และนับเป็นสาเหตุหนึ่งท่ีทาให้เกิดอุทกภัยหรือภัยจากน้าท่วมข้ึน ประเทศไทยมี โอกาสเส่ียงต่อการเกิดอุทกภัยได้ แต่ระดับความเสี่ยงจะมากน้อยเพียงใดนั้น ขึ้นอยู่กับ องคป์ ระกอบทีแ่ ตกต่างกันไปในแตล่ ะภูมิภาค 2.5.1 พ้นื ทลี่ ุม่ น้าภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ก า ร แ บ่ ง ร ะ ดั บ พ้ื น ที่ เส่ี ย ง ต่ อ ก า ร เกิ ด อุ ท ก ภั ย ใน พ้ื น ท่ี ลุ่ ม น้ า ข อ ง ภ า ค ตะวนั ออกเฉียงเหนอื พิจารณาจาก 1) พื้นที่เสี่ยงอุทกภัยระดับสูง กาหนดให้เป็นพ้ืนท่ีที่เกิดอุทกภัยรุนแรงมาก และทาความเสียหายต่อชวี ติ และทรัพยส์ นิ ตลอดจนสง่ิ ก่อสร้าง 2) พื้นท่ีเส่ียงอุทกภัยระดับปานกลาง กาหนดให้เป็นพ้ืนท่ีที่เกิดอุทกภัย รุนแรงปานกลางและทาความเสยี หายต่อทรพั ยส์ ินของประชาชนมากแต่ไมม่ ีการสูญเสียชีวติ 3) พ้ืนที่เสี่ยงอุทกภัยระดับต่า กาหนดให้เป็นพื้นท่ีท่ีเกิดอุทกภัยรุนแรงน้อย และทาความเสียหายต่อทรพั ย์สนิ ของประชาชนไมม่ าก 4) พื้นที่ไม่เสี่ยงอุทกภัย กาหนดให้เป็นพื้นที่ท่ีเกิดอุทกภัยไม่รุนแรงและไม่ทา ใหส้ ูญเสยี ชวี ติ และทรพั ย์สนิ ของประชาชน ชุดวชิ า การเรียนรูส้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 3 - 42
2.5.2 พืน้ ท่ลี ุม่ น้าภาคใต้ การแบ่งระดับพื้นท่ีเส่ียงต่อการเกิดอุทกภัยสาหรับพื้นท่ีลุ่มน้าภาคใต้ พิจารณาจาก 1) พื้นที่เสี่ยงจากดินโคลนไหลทับถม มักเป็นพ้ืนที่บริเวณเชิงเขาที่น้าป่าไหล หลากพาดินโคลน หนิ ตน้ ไมล้ งมาทบั ถม 2) พ้ืนที่เส่ียงจากน้าไหลหลาก เป็นพื้นที่ถัดจากเชิงเขาที่โคลนไหลมาทับถม คอื มีโคลนน้อยกว่าและค่อนข้างราบกว่าพ้ืนท่ีเชิงเขาแต่น้าป่าไหลหลากผ่านไปอย่างรวดเร็วพร้อม ทัง้ มโี คลนบางส่วนตกตะกอน 3) พื้นที่เส่ียงจากน้าท่วมขัง เป็นพ้ืนท่ีราบลุ่มริมฝ่ังแม่น้าตาปีและคลอง พุมดวง จังหวดั สรุ าษฏรธ์ านี ซึง่ ระบายนา้ ลงสทู่ ะเลไม่ทัน 4) พ้ืนที่เสี่ยงจากน้าท่วมซ้าซาก เป็นพื้นที่ท่ีประสบกับน้าท่วมขังเป็นประจา เกือบทุกปี แต่อาจไม่ทว่ มขังตลอดปีหรือเกดิ ข้ึนปีเว้นปีโดยเฉพาะอยา่ งยิ่งช่วงฤดฝู น 5) พืน้ ทชี่ ุ่มนา้ เปน็ พืน้ ทร่ี าบต่ามีนา้ ทว่ มขงั หรือมีสภาพช้ืนแฉะตลอดเวลา 2.6 ลักษณะภูมิประเทศที่เส่ยี งตอ่ การเกดิ อุทกภยั มีดงั น้ี 2.6.1 บรเิ วณทร่ี าบ เนินเขา จะเกดิ อุทกภยั แบบฉบั พลนั น้าไหลบา่ อย่าง รวดเรว็ และมีพลงั ทาลายสูง ลักษณะแบบนี้ เรียกวา่ “นา้ ป่า” เกดิ ขนึ้ เพราะมนี ้าหลากจากภูเขา อันเนือ่ งจากมีฝนตกหนักบริเวณตน้ น้า จงึ ทาให้เกดิ นา้ หลากท่วมฉบั พลัน 2.6.2 พ้ืนทร่ี าบลมุ่ รมิ แม่น้าและชายฝั่ง เป็นภยั พบิ ัติท่ีเกิดข้ึนช้า ๆ จากน้า ลน้ ตลิ่ง เมื่อเกดิ จะกินพน้ื ที่บรเิ วณกว้าง น้าท่วมเปน็ ระยะเวลานาน 2.6.3 บรเิ วณปากแมน่ ้า เปน็ อุทกภยั ท่ีเกิดจากน้าที่ไหลจากท่ีสงู กว่าและ อาจจะมีน้าทะเลหนุน ประกอบกับแผ่นดนิ ทรดุ จงึ ทาให้เกิดนา้ ทว่ มขังในที่สดุ ชดุ วชิ า การเรียนรูส้ ้ภู ยั ธรรมชาติ 3 - 43
เรอื่ งท่ี 3 สถานการณ์อทุ กภัยในประเทศไทยและประเทศตา่ ง ๆ ในโลก สถานการณ์อุทกภัยที่เกิดข้ึนในภูมิภาคต่างๆ ของโลกและที่เกิดขึ้นในประเทศไทยมัก เกิดขึ้นอย่างฉับพลัน และเกิดรุนแรงขึ้นเนื่องจากมีฝนตกหนังต่ อเนื่องกันเป็นเวลานาน ตวั อย่างการเกดิ อุทกภยั โดยเฉพาะอุทกภัยทมี่ คี วามรุนแรงของประเทศต่าง ๆ ในโลก ดงั นี้ 3.1 เหตกุ ารณม์ หาอุทกภัยในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2554 ในปี พ.ศ. 2554 ประเทศไทยเกิดอุทกภัยที่รุนแรงท่ีสุด หรือ ที่เรียกกันว่า “มหาอุทกภัย” ซ่ึงเกิดจากพายุโซนร้อน “นกเตน” ที่ข้ึนฝั่งทางตอนเหนือของเวียดนาม ส่งผลให้ เกิดฝนตกหนักทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย และทาให้เกิดน้าท่วม ในหลายจังหวัด ทั่วทุกภาคของประเทศไทย ในส่วนของภาคเหนือ เมื่อเกิดฝนตกหนักอย่าง ต่อเนื่องประกอบกับมีน้าป่าไหลหลาก ทาให้เกิดน้าท่วมอย่างฉับพลัน เมื่อน้าไหลลงสู่ท่ีราบ ภาคกลางจึงทาให้เกิดผลกระทบอย่างรุนแรงบริเวณลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา เพราะได้รับน้าปริมาณ มากจากแม่น้าสาขา เข่ือนจึงมีระดับน้าใกล้ความจุท่ีเข่ือนจะสามารถรบั ได้ ฝนท่ีตกลงมาอย่างหนัก และต่อเนื่องจึงต้องปล่อยน้าออกจากเข่ือนภายในเวลาไม่นาน อุทกภัยก็ลุกลามขยายออกไป ก่อให้เกดิ ความเสยี หายทุกภูมิภาคของประเทศ มวลน้าเข้าท่วมท่าอากาศยานดอนเมอื งและบริเวณใกล้เคยี ง กรุงเทพฯ ( ภาพจากhttp://www.matichon.co.th/news ) ชดุ วชิ า การเรียนรสู้ ูภ้ ยั ธรรมชาติ 3 - 44
การเกิดอุทกภัยท่ีรุนแรงคร้ังน้ี ทาให้พื้นท่ีด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมกว่า 150 ล้านไร่ ซึ่งเป็นพ้ืนท่ีท้ัง ใน 65 จังหวัด 684 อาเภอ เกิดความเสียหาย ประชาชนได้รับความ เดือดร้อน 4,086,138 ครัวเรอื น ประชาชนได้รับผลกระทบกว่า 12.8 ล้านคน ความสูญเสียท่ีมีต่อ ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในชาติมีมากมายมหาศาล ธนาคารโลกประเมินมูลค่า ความเสียหายสูงถึง 1.44 ล้านล้านบาท และภัยพิบัติครั้งมีมูลค่าความเสียหายมากที่สุดเป็นอันดับ สขี่ องโลก 3.2 สถานการณ์อทุ กภยั ในประเทศตา่ ง ๆ ในโลก เหตกุ ารณน์ ้าท่วมใหญท่ ป่ี ระเทศจีน ปี พ.ศ. 2474 ในปี พ.ศ. 2474 ได้เกิดโศกนาฏกรรมคร้ังใหญ่ในประเทศจีน นับเป็นเหตุการณ์น้า ท่วมครั้งยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก เหตุการณ์คร้งั นั้นได้ทาให้เกิดความเสียหายและสูญเสียต่อประเทศจีน อยา่ งมหาศาล ทัง้ บ้านเรอื น สาธารณูปโภค ชีวิตประชาชนสญู หายไปกบั กระแสนา้ จานวนมาก ป ราก ฏ ก ารณ์ ท างธร รม ช าติ ท างต อ น ก ล างข อ งป ระ เท ศ จี น แ ถ บ แ ม่ น้ า ฮ วงโห (แม่น้าเหลือง) แม่น้าแยงซี และแม่น้าฮวายน้ัน ทุกปีเม่ือถึงฤดูฝนจะมีปริมาณน้าสูงจนเอ่อล้นเข้า ท่วมบ้านเรือนผู้คน สร้างความเสียหายอยู่จนเป็นเรื่องธรรมดา แต่หายนะครั้งไหนจะเลวร้ายเท่าท่ี เกดิ ในปี 1931 ทท่ี าให้จานวนผคู้ นทีล่ ม้ ตายสงู 800,000 ถึง 4,000,000 คน ภาพน้าท่วมใหญท่ ่ีประเทศจีน ปี 1931 (ภาพจาก http://www.dek-d.com/studyabroad/26367/) ชดุ วชิ า การเรยี นร้สู ้ภู ยั ธรรมชาติ 3 - 45
เหตุการณ์นา้ ท่วมใหญท่ ป่ี ระเทศพมา่ หากจะพูดถึงเหตุภัยพิบัติท่ีสาหัสน่าเป็นห่วงที่สุด คงจะไม่มีที่ไหนท่ีน่าเป็นห่วงมากไป กว่าน้าท่วมพม่าอีกแล้ว เม่ือพม่าได้เจอพิษมรสุมกระหน่าซัด จนเกิดน้าท่วมหนัก ระดับน้าสูงมาก จนน่าตกใจ ถึงขนาดที่ทาให้หลาย ๆ คนคดิ วา่ หลายภาพสถานการณน์ ้าท่วมในพม่าที่เห็นดูจะเป็น ภาพตดั ต่อมากกว่าภาพจริง สถานการณ์น้าท่วมในพม่าในปี 1931 มีความรุนแรงมาก โดยมีผู้เสียชีวิตไม่ตา่ กว่า 46 ราย ซึง่ เป็นยอดท่ีสูงข้นึ ตามท่ีองค์การสหประชาชาติไดอ้ อกมาเตือนและคาดการณ์ไว้กอ่ นหนา้ นี้ นับต้ังแต่เกิดน้าท่วม ทางการพม่ายอมรับว่าประชาชนในหลายพ้ืนที่ยังคงถูกปล่อยให้ ลอยแพ ความช่วยเหลือยังไปไมถ่ ึง บางพื้นที่ความช่วยเหลอื ก็ไม่ทั่วถึง เพราะทีมช่วยเหลือสามารถ เขา้ ถงึ พืน้ ท่ีได้ทางเฮลิคอปเตอร์เท่านั้น สถานท่สี าคญั ๆ ในพม่าถกู นา้ ทว่ มขงั ไดร้ ับความเสยี หายอยา่ งมาก ( ภาพจากhttp://hilight.kapook.com/view/124296 ) ชุดวชิ า การเรยี นรู้สภู้ ยั ธรรมชาติ 3 - 46
เหตกุ ารณน์ ้าทว่ มประเทศอนิ เดีย ภาพนา้ ท่วมอินเดยี ( ภาพจากhttp://www.tnnthailand.com/news_detail.php?id ) เหตอุ ุทกภัยคร้ังใหญ่ในเมอื งเชนไนของอินเดยี ธันวาคม 2558 เปน็ อุทกภัยครั้งใหญ่ท่ีสุด ในรอบกว่าหน่ึงศตวรรษในเมืองเชนไน หรือช่ือเดิมว่ามัทราส ในรัฐทมิฬนาดู ทางภาคใต้ของ อินเดีย มีผู้เสียชีวิตกว่า 188 คน และบาดเจ็บอีกกว่า 200 คน นับตั้งแต่เริ่มเกิดน้าท่วมใน รัฐทมิฬนาดู ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2558 ผลกระทบจากพายุดีเปรสชั่นในอ่าวเบงกอล ทาให้ เมืองเชนไน เมืองเอกของรัฐทมิฬนาดู จมอยู่ใต้บาดาล บ้านเรือนประชาชนและถนนสายหลัก เกอื บทั้งหมดถกู น้าท่วมเสียหายทัว่ ทัง้ เมอื ง เหตกุ ารณ์นา้ ทว่ มใหญ่ทปี่ ระเทศแคนนาดา สถานการณ์น้าท่วมในเมืองแคลแกรี รัฐแอลเบอร์ตาของแคนาดาในปี พ.ศ. 2556 ระดับ น้าท่วมสูงเป็นประวัติการณ์ ทาให้เกิดกระแสไฟฟ้าดับเป็นบริเวณกว้างนอกจากนี้ ยังท่วมเส้นทาง ขนสง่ สาคัญ ๆ ซ่ึงก็รวมถึงรถไฟบางสาย และทางหลวงสายหลัก ภาวะนา้ ทว่ มครงั้ น้ีนบั เป็นอุทกภัย ทม่ี ีความรุนแรง ชุดวชิ า การเรียนรู้สูภ้ ยั ธรรมชาติ 3 - 47
ภาพจาก http://www2.krobkruakao.com น้าท่วมในออสเตรเลยี ออสเตรเลีย เกิดอุทกภัยคร้ังใหญ่ วันที่ 10 มกราคม 2554 แสดงให้เห็นถึงความโหดร้าย ของน้าทเ่ี อ่อท่วมออสเตรเลีย โดยระดบั น้าค่อย ๆ สูงข้นึ พดั พารถท่จี อดอยเู่ สยี หายนบั สบิ คัน พืน้ ท่ีบริเวณกว้างของประเทศออสเตรเลยี ที่ได้รับผลกระทบจากอทุ กภยั นา้ ท่วมออสเตรเลยี (เครดิตภาพจาก ctv.ca) ชุดวชิ า การเรียนรสู้ ู้ภยั ธรรมชาติ 3 - 48
น้าท่วมยโุ รป European flooding ภาพจาก boston.com อุทกภัย น้าท่วม ฝนตกหนกั จากพายุในยโุ รป ทาใหเ้ กิด น้าท่วมฉับพลัน ในหลาย ๆ เมือง ท้ังฝร่ังเศส สเปน โปแลนด์ และอีกหลายประเทศที่ประสบอุทกภัย น้าท่วม จากเหตุการณ์น้ี มีผู้เสียชวี ิตและสญู หายจานวนมาก นา้ ท่วมอังกฤษ สถานการณน์ ้าท่วมในพน้ื ท่ที างภาคใตข้ ององั กฤษส่งผลใหพ้ ้ืนทอี่ ุทกภัยขยายวงกวา้ ง ฝนท่ีตกหนักในพน้ื ท่ีทางภาคใต้ของอังกฤษ ส่งผลใหพ้ ้ืนท่ีอุทกภัยขยายวงกว้าง ขณะท่ีน้า ในแม่น้าเธมส์เพ่ิมสูงข้ึนอย่างต่อเน่ืองและมีแนวโน้มว่าจะเพิ่มสูงข้ึน ทางการต้องประกาศเตือนภัย น้าท่วมในอีกหลายพื้นท่ี รวมท้ังเมืองอ๊อกซ์ฟอร์ดเชียร์ เมืองเบิร์กเชียร์ และเมืองเซอร์เรย์ โดยขอให้ประชาชนเฝ้าติดสถานการณ์น้าท่วมอย่างใกล้ชิด หลีกเล่ียงการเดินทางในพ้ืนท่ีที่มี น้าทว่ มสูง พายุและกระแสลมแรงกว่า 160 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ทาให้น้าท่วมหนักทางตะวันตกของ องั กฤษ และแควน้ เวลส์ โดยมรี ายงานว่าชายวัย 70 ปี เสียชีวิต เพราะไฟฟ้าช็อต ขณะท่ีประชาชน กวา่ 80,000 คนไมม่ ีไฟฟา้ ใช้ ชุดวิชา การเรยี นรู้สูภ้ ยั ธรรมชาติ 3 - 49
ทางตะวันตกเฉียงใต้ของอังกฤษยังคงจมอยู่ใต้น้านานหลายสัปดาห์ ส่วนพื้นท่ีใกล้เคียง แม่น้าเธมสถ์ ูกน้าท่วมเชน่ กัน นา้ ทว่ มในอาฟรกิ า ในวันที่ 13 กันยายน 2555 เหตุอุทกภัยครัง้ ใหญ่ในหลายพื้นที่ทางตอนกลางของประเทศ ไนจีเรียได้ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตแล้ว 137 คน มีผู้ต้องไร้ที่อยู่อาศัยนับหมื่นคน และสร้างความ เสียหายอีกเป็นจานวนมากเหตุอุทกภัยครั้งน้ีเกิดขึ้นในรัฐมาคูร์ดี (Makurdi) และพื้นท่ีทาง ตอนกลางของประเทศ อันเป็นผลจากฝนตกหนักตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม ในช่วงฤดูฝนของทุกปี เปน็ ผลให้เกิดน้าไหลบา่ เข้าทว่ มพ้ืนทอี่ ยูอ่ าศยั และพน้ื ทที่ าการเกษตรเป็นบริเวณกวา้ ง จากเหตุการณก์ ารเกดิ อุทกภยั หรอื ภัยจากน้าท่วมที่เกิดขน้ึ อาจเรยี กได้วา่ ภัยพบิ ัติดงั กล่าว สามารถเกิดข้ึนได้แทบทุกพื้นที่ทั่วโลก และการเกิดอุทกภัยแต่ละคร้ังได้สร้างความเสียหายและ ความสญู เสยี ไวอ้ ยา่ งมากมายมหาศาลเลยทีเดียว ชดุ วชิ า การเรียนรู้สู้ภยั ธรรมชาติ 3 - 50
เร่อื งท่ี 4 แนวทางการป้องกนั และการแกไ้ ขปัญหาผลกระทบทเ่ี กดิ จากอุทกภัย อุทกภัย หรือ ภัยจากน้าท่วม นับเป็นภัยใกล้ตัวที่อาจเกิดขึ้นได้ในทุกพ้ืนที่ ทุกเวลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วงฤดูฝน เมื่อเกิดอุทกภัยครั้งใดย่อมส่งผลต่อความเสียหาย ท้ังทรัพย์สิน อาคารบ้านเรือน รวมทั้งชีวิตของประชาชน ดังน้ันการเรียนรู้เพ่ือเตรียมรับมือกับอุทกภัย ท้ังการเตรียมความพร้อมก่อนเกิดอุทกภัย การปฏิบัติขณะเกิดอุทกภัยและหลังการเกิดอุทกภัย เพ่ือควบคมุ หรือลดอันตรายและความเสียหายท่อี าจเกดิ ขึ้น ซ่ึงจะทาให้เกดิ ความเสียหายน้อยที่สุด จึงมคี วามสาคัญและจาเปน็ อยา่ งยิง่ จึงมีแนวทางป้องกนั ดงั น้ี 4.1 การเตรยี มความพร้อมรับสถานการณก์ ารเกิดอทุ กภัย เม่ือเกิดนา้ ทว่ ม จะมหี นว่ ยงานสาหรบั เตือนภยั โดยมกี ารเตือนภัย 4 ประเภท คอื ประเภท ความหมาย ระดับการปฏบิ ัติ 1.การเฝา้ ระวงั นา้ ท่วม มคี วามเปน็ ไปได้ทีจ่ ะเกดิ น้าท่วม ต้องติดตามข่าวสารอยา่ งใกล้ชิด (Flood Watch) และอยู่ในระหวา่ งสังเกตการณ์ 2. การเตือนภยั น้าท่วม เตือนภัยจะเกดิ นา้ ทว่ ม ควรเตรียมแผนและควรป้องกัน (Flood Warning) นา้ ท่วมบา้ นเรือนและทรัพยส์ ิน ของตนเอง 3. การเตือนภยั น้าทว่ ม การเตือนภัยนา้ ทว่ มรนุ แรง เตรียมอพยพนาสัมภาระที่จาเป็น รุนแรง (Severe Flood เกดิ น้าท่วมอยา่ งรนุ แรง ติดตวั และอย่านาไปมากเกินไป Warning) ให้คิดวา่ ชวี ิตสาคัญที่สุด ตัดไฟฟา้ ปดิ บ้านใหเ้ รยี บร้อย 4. ภาวะปกติ (All Clear) เหตกุ ารณ์กลบั สู่ภาวะปกติ หรือ สามารถกลับเขา้ สบู่ ้านเรือนของ เป็นพื้นที่ไม่ไดร้ บั ผลกระทบจาก ตนเองได้ ภาวะน้าท่วม ชดุ วิชา การเรยี นร้สู ูภ้ ยั ธรรมชาติ 3 - 51
เม่อื ได้รับการเตอื นภยั จากหน่วยงานด้านเตือนภัยน้าท่วมแล้ว สิ่งท่ตี อ้ งรบี ดาเนนิ การ คือ 1. ติดตามการประกาศเตือนภัยจากสถานีวิทยุท้องถ่ิน โทรทัศน์ หรือรถฉุกเฉินอย่าง ต่อเนอ่ื ง 2. ถา้ มกี ารเตอื นภยั นา้ ทว่ มฉับพลัน และอยใู่ นพน้ื ท่หี บุ เขาใหป้ ฏบิ ัติ ดังนี้ - ปีนขึ้นที่สงู ให้เรว็ ทส่ี ดุ เทา่ ท่ีจะทาได้ - อย่านาสมั ภาระตดิ ตวั ไปมาก ให้คิดว่าชวี ติ สาคัญทีส่ ดุ - อยา่ พยายามวิ่งหรือขบั รถผา่ นบริเวณทางน้าหลาก 3. ถา้ มีการเตือนการเฝา้ ระวังนา้ ท่วม ยงั พอมเี วลาในการเตรยี มแผนรับมือนา้ ท่วม 4. ดาเนนิ การตามแผนรับมือนา้ ทว่ มท่ีวางไว้ 5. ถา้ มกี ารเตือนภัยน้าท่วมและอยใู่ นพน้ื ท่ีน้าทว่ มถึง ควรปฏิบัติดังนี้ - อุดปิดช่องท่อน้าท้ิง อ่างล้างจาน พื้นห้องน้า และสุขภัณฑ์ที่น้าสามารถไหล เขา้ บ้านได้ - ปดิ อปุ กรณเ์ ครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้าและแกส๊ ถา้ จาเปน็ - ลอ็ คประตบู ้านและอพยพขึ้นทส่ี งู หรอื สถานทีห่ ลบภัยของหนว่ ยงานต่าง ๆ 6. หากบ้านพักอาศัยไม่ได้อยู่ในท่ีน้าท่วมถึง แต่อาจมีน้าท่วมในห้องใต้ดิน ควรปฏิบัติ ดังน้ี - ปิดอปุ กรณ์เครือ่ งใช้ไฟฟ้าในหอ้ งใต้ดิน - ปดิ แก๊ส หากคาดวา่ นา้ จะทว่ มเตาแก๊ส - เคลอ่ื นย้ายสิ่งของมคี ่าขนึ้ ชน้ั บน - ห้ามอย่ใู นหอ้ งใต้ดนิ เมื่อมีนา้ ทว่ มถงึ บา้ น การเตรียมความพร้อมของประชาชนที่อยู่ในบริเวณที่จะเกิดอุทกภัย นับว่ามีความสาคัญ และจาเป็น เมื่อได้รับสัญญาณเตือนอุทกภัยควรติดตามข่าวสารและปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุการณ์ ตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ 1. เชื่อฟังคาเตอื นอย่างเครง่ ครัด เพ่อื ติดตามข่าวสารทางราชการ 2. เคลือ่ นย้ายคน สตั ว์เลี้ยง และสิง่ ของไปอยูใ่ นท่ีสงู ให้พน้ ระดับนา้ ทเ่ี คยทว่ มมากอ่ น 3. ควรเตรียมเรือไม้ เรือยาง หรือแพไม้ไว้ใช้ เพ่ือเป็นยานพาหนะในขณะน้าท่วมเป็น เวลานาน 4. เตรยี มไฟฉาย ถา่ นไฟฉาย เทยี นไข และไมข้ ีดไฟ ไว้ใชเ้ ม่ือไฟฟ้าดับ ชุดวชิ า การเรียนรูส้ ู้ภยั ธรรมชาติ 3 - 52
5. เตรียมวิทยุที่ใช้ถ่านไฟฉาย เพื่อติดตามฟังรายงานข่าวของลักษณะอากาศจาก กรมอุตุนิยมวทิ ยา 6. เตรียมโทรศพั ท์มือถือ พร้อมแบตเตอรี่สารองให้พร้อม เพื่อตดิ ต่อขอความช่วยเหลือ 7. เตรยี มยาแกพ้ ิษกดั ตอ่ ยจากแมลงปอ่ ง ตะขาบ งู และสัตวอ์ ื่น ๆ 8. เตรยี มน้าดมื่ สะอาดเก็บไว้ในภาชนะที่ปิดแน่น เพราะนา้ ประปาอาจจะหยุดไหลเป็น เวลานาน 9. เตรียมอาหารกระป๋องและอาหารสารองไว้ กรณีที่ความช่วยเหลือจากทางราชการ ยงั เข้าไปไม่ถึง การเกิดเหตุการณ์น้าท่วม ย่อมเป็นบทเรียนที่ดีต่อการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนได้เป็น อยา่ งดี ดังน้นั การรบั มือสาหรบั นา้ ท่วมคร้งั ต่อไปควรปฏิบตั ิ ดงั นี้ 1. คาดคะเนความเสยี หายทจี่ ะเกิดกับทรัพยส์ ินของตนเองเมอื่ เกิดนา้ ทว่ ม 2. ทาความคุ้นเคยกับระบบการเตือนภัยของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง และขั้นตอน การอพยพ 3. เรยี นรเู้ สน้ ทางการเดินทางทป่ี ลอดภัยที่สุดจากบ้านไปยังท่สี ูงหรือพื้นที่ทปี่ ลอดภัย 4. ผู้ท่ีอาศัยในพ้ืนท่ีเส่ียงต่อน้าท่วม ควรจะเตรียมวัสดุ เช่น กระสอบทราย แผ่น พลาสติก เป็นต้น 5. นายานพาหนะไปเก็บไว้ในพนื้ ท่ีที่น้าท่วมไม่ถงึ 6. ปรึกษาและทาข้อตกลงกับบริษัทประกันภัยเก่ียวกับการประกันความเสียหายของ บา้ นเรือน 7. บนั ทึกหมายเลขโทรศัพท์สาหรบั เหตุการณฉ์ กุ เฉนิ ไวใ้ นโทรศัพทม์ ือถือ 8. รวบรวมของใช้ที่จาเป็นและเสบียงอาหาร ไว้ในท่ีปลอดภัยและสูงกว่าระดับที่คาด วา่ น้าจะทว่ มถึง 9. จดบันทึกรายการทรัพย์สินมีค่า และเอกสารสาคัญทั้งหมด ถ่ายรูป หรือถ่ายวีดิโอ เก็บไว้เป็นหลักฐาน และเก็บไว้ในสถานท่ีปลอดภัยหรือห่างจากท่ีน้าท่วมถึง เช่น ตู้เซฟท่ีธนาคาร หรอื ไปรษณยี ์ 10. ทาแผนการรับมือน้าท่วม และถ่ายเอกสารเก็บไว้ในที่สังเกตได้ง่าย และติดต้ัง อุปกรณ์ป้องกนั น้าทว่ มทเ่ี หมาะสมกบั บ้านของแตล่ ะคน ชุดวชิ า การเรยี นร้สู ้ภู ยั ธรรมชาติ 3 - 53
4.2 การปฏิบตั ิขณะเกิดอุทกภยั 4.2.1 ตดั สะพานไฟ และปิดแก๊สหุงต้มให้เรียบรอ้ ย 4.2.2 อยใู่ นอาคารทีแ่ ข็งแรง และอยใู่ นทสี่ ูงพน้ ระดับนา้ ที่เคยท่วมมาก่อน 4.2.3 สวมเสือ้ ผา้ ให้ร่างกายอบอนุ่ อยูเ่ สมอ 4.2.4 ไม่ควรขบั ข่ยี านพาหนะฝ่าลงไปในกระแสนา้ หลาก 4.2.5 ไมค่ วรเล่นนา้ หรอื วา่ ยนา้ ในขณะน้าทว่ ม 4.2.6 ระวงั สัตว์มพี ิษทีห่ นีน้าท่วมกดั ตอ่ ย 4.2.7 ติดตามสถานการณ์อยา่ งใกล้ชดิ เชน่ สังเกตลมฟ้าอากาศและติดตามรายงาน อากาศของกรมอุตนุ ิยมวิทยา 4.2.8 เตรียมอพยพไปในที่ปลอดภัยเม่ือสถานการณ์จวนตัว หรือปฏิบัติตาม คาแนะนาของทางการ 4.2.9 เมื่อถึงคราวคับขัน ใหค้ านงึ ถึงความปลอดภัยของชีวติ มากกว่าห่วงทรพั ยส์ นิ 4.3 การปฏบิ ตั ิหลังเกดิ อทุ กภัย ภายหลังจากการเกิดอุทกภัยหรือน้าท่วมแล้ว ควรร้ือและเก็บกวาดสิ่งปรักหักพัง และ ทาความสะอาดซ่อมแซมบ้านเรือนให้เร็วที่สุด และดูแลรักษาสุภาพของตนเองและครอบครัว ด่ืมน้าสะอาด แต่ถ้าได้รับความเสียหายมาก ผู้ประสบภัยสามารถติดต่อขอความช่วยเหลือจาก หนว่ ยงานที่เก่ียวขอ้ งในเรื่องตา่ ง ๆ ดงั ตอ่ น้ี 4.3.1 การขอรบั อาหารเคร่ืองนุ่งหม่ ยารักษาโรค 4.3.2 การซ่อมแซมบ้านเรือนท่ีพักอาศัย หรือการจัดหาแหล่งเงินกู้สาหรับซ่อมบ้าน หรือสร้างบา้ นใหม่ หรอื การจดั หาทีอ่ ยู่อาศัยชว่ั คราวให้ 4.3.3 การซอ่ มแซมระบบไฟฟ้า ระบบประปาในบา้ น 4.3.4 การชว่ ยเหลือฟนื้ ฟใู นเรอ่ื งสุขภาพทางกายและจติ ใจ 4.3.5 การประกอบอาชีพ เช่น การแนะนาทางด้านวิชาการเพ่ือปลูกพืชทดแทน การจดั หาพันธพ์ุ ืชผลไม้ และการหาแหลง่ เงนิ กฉู้ ุกเฉิน ชดุ วชิ า การเรยี นรู้สภู้ ยั ธรรมชาติ 3 - 54
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 4 ดินโคลนถล่ม สาระสาคญั การเกิดดินถล่มหรือโคลนถล่ม มักพบในท้องถ่ินที่ต้ังอยู่ตามเชิงเขาและเกิดข้ึนในช่วงท่ีมี ฝนตกหนัก ท่ีน้าจากภูเขาไหลบ่าพัดเอาดินเอาโคลนมากองรวมกันไว้มาก ๆ และเมื่อถึงระดับหนึ่ง ซึ่งบริเวณที่รองรับทนน้าหนักไม่ไหว เกิดการถล่มลงมาของกองดินหรือโคลน ซ่ึงถ้าในบริเวณน้ันมี การตง้ั บา้ นเรือนอยู่ กจ็ ะเกิดการสูญเสียทง้ั ชวี ิตและทรพั ยส์ ิน หรือบางคร้ังเกิดจากการตัดต้นไม้บน พ้นื ทีภ่ ูเขาและไหลเ่ ขา เมื่อเกิดฝนตกหนกั ไม่มีต้นไม้ใหญท่ ี่จะยดึ ดินไวท้ าใหเ้ กิดดินถลม่ ตัวชวี้ ดั 1. อธิบายความหมายของดินโคลนถลม่ 2. บอกสาเหตแุ ละปัจจัยในการเกิดดนิ โคลนถลม่ 3. บอกผลกระทบท่ีเกิดจากดนิ โคลนถล่ม 4. ตระหนกั ถึงภัยและผลกระทบท่ีเกิดจากดินโคลนถลม่ 5. บอกสญั ญาณบอกเหตุกอ่ นเกดิ ดินโคลนถลม่ 6. บอกพนื้ ทีเ่ สี่ยงภยั ตอ่ การเกิดดนิ โคลนถล่ม 7. บอกสถานการณ์ดินโคลนถล่มในประเทศไทยและประเทศตา่ ง ๆ ในโลก 8. วิเคราะหเ์ ปรยี บเทียบการเกดิ ดินโคลนถลม่ ของประเทศไทยและประเทศตา่ ง ๆ ในโลก และคาดคะเนการเกิดดนิ โคลนถลม่ ในอนาคตได้ 9. บอกวิธกี ารเตรยี มความพร้อมรบั สถานการณ์การเกิดดนิ โคลนถล่ม 10. บอกวิธปี ฏิบัติขณะเกิดดินโคลนถลม่ 11. บอกวิธปี ฏิบัตหิ ลังเกิดดนิ โคลนถลม่ 12. เสนอแนวทางการป้องกนั และการแก้ไขปญั หา ผลกระทบที่เกดิ จากดินโคลนถล่ม ชุดวชิ า การเรียนร้สู ูภ้ ยั ธรรมชาติ 3 - 55
ขอบข่ายเน้อื หา เรื่องที่ 1 ความหมายของดินโคลนถล่ม เร่ืองที่ 2 ความร้ทู วั่ ไปเก่ียวกบั ดินโคลนถลม่ 2.1 ประเภทของดินโคลนถล่ม 2.2 สาเหตุและปัจจยั การเกิดดินโคลนถล่ม 2.3 ผลกระทบที่เกิดจากดินโคลนถล่ม 2.4 สัญญาณบอกเหตกุ ่อนเกิดดินโคลนถลม่ 2.5 พนื้ ทเี่ ส่ียงภัยต่อการเกดิ ดินโคลนถลม่ เรอื่ งท่ี 3 สถานการณด์ ินโคลนถล่มในประเทศไทยและประเทศตา่ ง ๆ ในโลก 3.1 สถานการณด์ ินโคลนถลม่ ในประเทศไทย 3.2 สถานการณด์ นิ โคลนถลม่ ในประเทศตา่ ง ๆ ในโลก เรื่องท่ี 4 แนวทางและการเตรยี มความพร้อมเพ่ือการป้องกันและการแกไ้ ขปัญหา ผลกระทบที่เกิดจากดินโคลนถล่ม 4.1 แนวทางการป้องกนั การเกดิ เหตุดนิ โคลนถลม่ 4.2 การเตรียมความพรอ้ มรับสถานการณ์การเกิดดินโคลนถล่ม เวลาทีใ่ ชใ้ นการศึกษา 12 ช่ัวโมง ส่อื การเรยี นรู้ 1. ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ภู้ ัยธรรมชาติ 3 2. สมุดบันทกึ กจิ กรรมการเรียนรสู้ ู้ภัยธรรมชาติ 3 3. เว็บไซต์เกี่ยวกบั ภยั ธรรมชาติ 4. สื่อเอกสาร วารสาร จลุ สาร ส่อื วดี ิทัศนเ์ ก่ียวกับภัยธรรมชาติทส่ี ามารถหาได้ในทอ้ งถ่นิ ชุดวชิ า การเรยี นร้สู ภู้ ยั ธรรมชาติ 3 - 56
เรอ่ื งท่ี 1 ความหมายของดนิ โคลนถล่ม ดินโคลนถล่ม (landslide) คือปรากฏการณ์ที่ส่วนของพ้ืนดิน ไม่ว่าจะเป็นก้อนหิน ดิน ทราย โคลนหรอื เศษดิน เศษตน้ ไม้ เกดิ การไหล เลือ่ น เคลอื่ น ถล่ม พังทลาย หรอื หล่นลงมาตามท่ี ลาดเอียง อันเนื่องมาจากแรงดึงดูดของโลก ในขณะท่ีส่วนประกอบของชั้นดิน ความชื้นและความ ชุ่มน้าในดนิ ทาใหเ้ กดิ การเสยี สมดุล ดังนั้น จึงอาจกล่าวได้ว่า ดินโคลนถล่ม เป็นปรากฏการณ์หรือเป็นภัยธรรมชาติของการ สึกกร่อนชนิดหน่ึงท่ีก่อให้เกิดความเสียหายต่อบริเวณพื้นที่ท่ีเป็นเนินสูงหรือภูเขาที่มีความลาด ชนั มาก มักเกดิ ในกรณที ่ีมีฝนตกหนกั มากบรเิ วณภเู ขาและภูเขานน้ั อมุ้ น้าไว้จนเกิดการอ่ิมตัวจนทา ให้เกิดการพังทลาย เกิดการถล่มลงมาของกองดินหรือโคลน ซ่ึงถ้าบรเิ วณนั้นมีการตั้งบ้านเรอื นอยู่ ก็จะเกิดการสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สิน หรือบางคร้ังเกิดจากการตัดต้นไม้บนพ้ืนท่ีภูเขาและ ไหลเ่ ขา เมือ่ เกดิ ฝนตกหนกั ไม่มตี ้นไม้ใหญท่ ี่จะยดึ ดิน ดินโคลนถล่มมักเกิดพร้อมกับน้าป่าไหลหลาก หรือตามมาหลังจากน้าป่าไหลหลาก เกิดข้นึ ในขณะหรอื ภายหลังพายุฝนตกหนกั ต่อเน่ืองอย่างรุนแรง กล่าวคือ เมื่อฝนตกต่อเนื่องน้าซึม ลงในดินอย่างรวดเร็ว เม่ือถึงจุดหน่ึงดินจะอ่ิมตัวชุ่มด้วยน้า ยังผลให้น้าหนักของมวลดินเพ่ิมขึ้น และแรงยึดเกาะระหว่างมวลดนิ ลดลง ระดบั น้าใต้ผวิ ดินเพ่ิมสงู ขน้ึ ทาให้แรงตา้ นทานการเลอ่ื นไหล ของดินลดลง จงึ เกดิ การเลือ่ นไหลของตะกอนมวลดินและหิน ภาพดินโคลนถลม่ ที่ อาเภอนา้ ปาด จ.อุตรดิตถ์ ในเดือนกนั ยายน ปี พ.ศ. 2554 ชุดวชิ า การเรียนรสู้ ู้ภยั ธรรมชาติ 3 - 57
เร่ืองที่ 2 ความรู้ท่ัวไปเก่ยี วกบั ดินโคลนถลม่ 2.1 ประเภทของดินโคลนถล่ม ดนิ โคลนถล่ม มอี งค์ประกอบหลายอย่าง ทงั้ จากส่วนประกอบของดิน ความเร็ว กลไกในการเคลื่อนท่ี ชนดิ ของตะกอน รูปรา่ งของรอยดินถล่ม ปริมาณของน้าท่ีเข้ามาเก่ียวขอ้ งใน กระบวนการดินโคลนถลม่ และสาเหตุตา่ ง ๆ ทท่ี าให้เกิดดินโคลนถลม่ ดินโคลนถลม่ มี 5 ประเภท ใหญ่ ๆ ดงั น้ี 2.1.1 การถล่มแบบร่วงหล่น มักจะเป็นก้อนหินทั้งก้อนใหญ่และก้อนเล็ก ลกั ษณะอาจตกลงมาตรง ๆ หรอื ตกแล้วกระดอนลงมาหรอื อาจกลิง้ ลงมาตามลาดเขาก็ได้ ภาพจาลองลกั ษณะการถลม่ แบบร่วงหลน่ เปรียบเทยี บภาพถา่ ยการถลม่ ของหินรว่ งหลน่ ท่ีเคลยี รค์ รกี แคนยอน รัฐโคโลราโด สหรฐั อเมรกิ าในปี ค.ศ.2005 (ภาพถ่ายโดย หนว่ ยสารวจทางธรณีวิทยารัฐโคโลราโด คดั ลอกจากหนังสือ The Landslide Handbook - A Guide to Understanding Landslides) ชดุ วิชา การเรยี นรู้สภู้ ยั ธรรมชาติ 3 - 58
2.1.2 การถล่มแบบล้มคว่า มักจะเกิดกับหินที่เป็นแผ่นหรือเป็นแท่งหินท่ีแตก และล้มลงมา ภาพจาลองลักษณะการถลม่ แบบลม้ คว่า (Topples) เปรยี บเทยี บกับภาพถ่ายการถลม่ ของหินท่ี ฟร้อทเซนต์จอห์นบริตชิ โคลมั เบยี แคนาดา (ภาพถา่ ยโดย GBianchiFasanจากหนงั สอื The Landslide Handbook - A Guide to Understanding Landslides) 2.1.3 การถล่มแบบการเลื่อนไถล เป็นการเคลื่อนตัวของดินหรือหินจากที่สูง ไปส่ทู ่ีลาดต่าอยา่ งชา้ ๆ แต่หากถงึ ทีท่ ่ีมนี า้ ชุม่ หรือพ้นื ทีท่ ม่ี ีความลาดชันสูง การเคล่อื นทีอ่ าจเรว็ ขึน้ ภาพจาลองลักษณะการเลือ่ นไถลแบบแนวระนาบ(Translation slide) เปรียบเทยี บกับภาพถ่ายการเลอ่ื นไถลท่ี อ.ทา่ ปลาจ.อตุ รดติ ถ์ ซงึ่ เกิดจากกระแสน้ากัดเซาะบรเิ วณตีนของลาดเขา (ภาพจาลองคดั ลอกจากหนังสือ The Landslide Handbook - A Guide to Understanding Landslides) (ภาพถา่ ยโดย ประดิษฐ์ นูเลคดั ลอกจากเวบ็ ไซต์ กรมทรพั ยากรธรณ)ี ชดุ วชิ า การเรียนรูส้ ้ภู ยั ธรรมชาติ 3 - 59
2.1.4 การไหลของดิน (Flows) เกิดจากดินชุ่มน้ามากเกินไป ทาให้เกิด ดินโคลนไหลลงมาตามท่ีลาดชัน โดยการไหลของดินแบบนี้ ดินไหลอาจพัดพาเศษทราย ต้นไม้ โคลน หรือแม้นกระทั่งก้อนหินเล็ก ๆ ลงมาด้วยและหากการไหลของดินพัดผ่าน เขา้ มา หมู่บ้านก็อาจทาให้เกิดความเสียหายรา้ ยแรงได้ ภาพจาลองลกั ษณะตะกอนไหล เปรยี บเทยี บกับภาพถา่ ยความเสียหาย ที่เมอื ง Caraballeda ประเทศเวเนซเู อลา่ ในปี พ.ศ.2545 (ภาพถ่ายโดย L.M. Smith, WaterwaysExperiment Station, U.S. Army Corps of Engineers คดั ลอกจากหนงั สอื The Landslide Handbook - A Guide to Understanding Landslides) 2.1.5 การถล่มแบบแผ่ออกไปด้านข้าง (Lataral Spreading) มักเกิดในพื้นที่ ท่ีลาดชันน้อยหรือพ้ืนท่ีค่อนข้างราบโดยเกิดจากดินท่ีชุ่มน้ามากเกินไปทาให้เนื้อดินเหลว และไม่ เกาะตวั กันจนแผ่ตวั ออกไปดา้ นข้าง ๆ โดยเฉพาะดา้ ยท่ีมีความลาดเอียงหรือต่ากวา่ ภาพจาลองลักษณะการแผอ่ อกไปดา้ นข้าง (Lateral spreading) เปรียบเทยี บกบั ภาพถ่ายความเสยี หายของถนนจาก แผน่ ดนิ ไหวท่ีโลมาพรีเอตาแคลิฟอร์เนียสหรัฐอเมรกิ า เม่อื ปี ค.ศ. 1989ซึ่งมีลักษณะการเคล่ือนตัวแบบแผ่ออกไปดา้ นข้าง (ภาพถ่ายโดย Steve Ellen คัดลอกจากหนังสือ The Landslide Handbook - A Guide to Understanding Landslides) ชุดวิชา การเรยี นร้สู ู้ภยั ธรรมชาติ 3 - 60
2.2 สาเหตุและปัจจัยการเกิดดนิ โคลนถลม่ การเกิดดินโคลนถล่ม เกิดจากการท่ีพ้นื ดินหรอื ส่วนของพน้ื ดินเคล่ือน เลื่อนตกหล่น หรือ ไหลลงมาจากท่ีลาดชันหรือลาดเอียงต่างระดับตามแรงดึงดูดของโลกตามแนวบริเวณฝั่งแม่น้าและ ชายฝ่ังทะเลหรอื มหาสมุทร รวมถึงบริเวณใต้มหาสมทุ ร 2.2.1 สาเหตหุ ลกั ท่ที าให้เกิดดินโคลนถล่ม มี 2 สาเหตุ คอื 1) สาเหตุท่ีเกดิ ตามธรรมชาติ เช่น - โครงสร้างของดินที่ไม่แขง็ แรง - พ้นื ทม่ี ีความลาดเอยี งและไมม่ ีต้นไมย้ ดึ หนา้ ดิน - การเกิดเหตกุ ารณ์ฝนตกหนักและตกนาน ๆ - ฤดกู าลโดยเฉพาะฤดูฝนสว่ นสาคญั ทาใหเ้ กดิ การอ่อนตัวและดินถล่ม - ความแห้งแลง้ และไฟป่าทาลายต้นไม้ยึดหน้าดนิ - การเกิดแผ่นดินไหว - การเกิดคล่นื สนึ ามิ - การเปลย่ี นแปลงของน้าใต้ดิน - การกดั เซาะของฝ่งั แมน่ า้ หรือฝ่ังทะเล - ภเู ขาไฟระเบดิ ในบรเิ วณท่ีภเู ขาไฟยังไม่สงบ 2) สาเหตทุ เี่ กดิ จากการกระทาของมนษุ ย์ - การขุดไหลเ่ ขาทาใหไ้ หลเ่ ขาชนั มากข้ึน - การดูดทรายจากก้นแม่น้าลาคลองทาให้แม่น้าลาคลองลึกลง ตล่ิงชัน มากขึ้น ทาใหด้ ินถลม่ ได้ - การขุดดินลึก ๆ ในการก่อสรา้ งอาจทาให้เกิดดินด้านบนโดยรอบเคลื่อน ตวั ลงมายงั หลมุ ทข่ี ดุ ได้ - การบดอดั ดินเพอื่ การกอ่ สร้างกอ็ าจทาให้ดินข้างเคียงเคล่อื นตวั - การสูบน้าใต้ดิน น้าบาดาลที่มากเกินไปทาให้เกิดโพรงใต้ดินหรือการอัด นา้ ลงในดินมากเกินไปก็ทาใหโ้ ครงสร้างดนิ ไมแ่ ขง็ แรงได้ - การถมดินบนสันเขาก็เป็นการเพิ่มน้าหนักให้ดินเม่ือมีฝนตกหนักอาจทา ใหด้ นิ ถลม่ ได้ ชดุ วิชา การเรียนรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 3 - 61
- การตัดไมท้ าลายปา่ ทาใหไ้ มม่ ีต้นไมย้ ึดเกาะหนา้ ดิน - การสร้างอา่ งเก็บน้าบนภูเขา ก็เปน็ การเพ่ิมน้าหนักบนภูเขาและยังทาให้ น้าซมึ ลงใตด้ ินจนเสียสมดลุ - การเปลย่ี นทางน้าตามธรรมชาติ ทาให้ระบบนา้ ใตด้ ินเสียสมดลุ - น้าท้ิงจากอาคารบา้ นเรือน สวนสาธารณะ ถนนหนทาง บนภูเขา - การกระเทือนอย่างรุนแรง เช่น การระเบิดหิน การระเบิดดิน การขุด เจาะนา้ บาดาล การขุดดนิ เพือ่ สร้างอา่ งเกบ็ นา้ เขื่อน ฝายกนั้ น้า เป็นตน้ 2.2.2 ปัจจยั ท่มี ผี ลตอ่ การเกิดดนิ โคลนถลม่ ดินโคลนถล่มท่ีเกิดข้ึนในประเทศไทยเกิดจากปัจจัยหลัก 4 ประการ ดังน้ี (คณะสารวจพ้ืนที่เกดิ เหตุดินถล่มภาคเหนอื ตอนลา่ ง, 2550) 1) สภาพธรณีวิทยาโดยปกติชั้นดินท่ีเกิดการถล่มลงมาจากภูเขา เป็นช้ันดิน ท่ีเกดิ จากการผุกร่อนของหินให้เกดิ เป็นดนิ ซง่ึ ขนึ้ อยู่กับชนดิ ของหินและโครงสรา้ งทางธรณวี ิทยา 2) สภาพภูมิประเทศสภาพภูมิประเทศที่ทาให้เกิดดินถล่มได้ง่าย ได้แก่ ภูเขา และพ้ืนที่ท่ีมีความลาดชันสูง หรือมีทางน้าคดเคี้ยวจานวนมาก นอกจากนั้นยังพบว่า ลักษณะ ภูมิประเทศที่เป็นร่องเขาด้านหน้ารับน้าฝน และบริเวณที่เป็นหุบเขากว้างใหญ่สลับซับซ้อนแต่มี ลานา้ หลักเพยี งสายเดยี ว จะมีโอกาสเกิดดินโคลนถลม่ ได้ง่ายกวา่ บรเิ วณอ่นื ๆ 3) ปริมาณน้าฝนดินโคลนถล่มจะเกิดขึ้นเมื่อฝนตกหนักหรือตกต่อเน่ืองเป็น เวลานาน น้าฝนจะไหลซึมลงไปในช้ันดินจนกระทงั่ ช้ันดินอม่ิ ตวั ด้วยน้า ทาให้ความดันของน้าในดิน เพ่ิมขึ้น เป็นการเพิ่มความดันในช่องว่างของเม็ดดิน ดันให้ดินมีการเคล่ือนท่ีลงมาตามลาดเขาได้ ง่ายข้ึน และนอกจากน้ีแล้วน้าท่ีเข้าไปแทนท่ีช่องว่างระหว่างเม็ดดินทาให้แรงยึดเกาะระหว่าง เม็ดดนิ ลดน้อยลง ส่งผลให้ดนิ มีกาลังรับแรงต้านทานการไหลของดินลดลง 4) สภาพส่ิงแวดล้อมสภาพสิ่งแวดล้อมท่ีเปล่ียนแปลงไป อาจทาให้เกิด ดินโคลนถล่มได้ โดยพบว่าพื้นที่ที่เกิดดินโคลนถล่มมักเป็นพ้ืนที่ภูเขาสูงชัน ที่มีการเปล่ียนแปลง การใชป้ ระโยชน์ที่ดนิ ในรูปแบบต่าง ๆ เชน่ - พื้นทีต่ น้ น้า ลาธาร ปา่ ไม้ ถูกทาลายในหลาย ๆ จุด - การบุกรุกทาลายป่าไมเ้ พอ่ื ทาไร่และทาการเกษตรบนท่ีสงู ชดุ วิชา การเรยี นรสู้ ูภ้ ยั ธรรมชาติ 3 - 62
- รูปแบบการทาเกษตร เช่นการเปล่ียนแปลงสภาพป่าเป็นสวน ยางพาราโดยเฉพาะพวกต้นยางทย่ี ังมีขนาดเลก็ อยู่ และการปลูกยางถงุ ซึ่งรากแกว้ ไม่แขง็ แรง - การใช้ประโยชน์ท่ีดิน การตัดถนนผ่านไหล่เขาสูงชัน หรือการตัดไหล่ เขาสร้างบ้านเรอื น - การปลูกสร้างส่ิงก่อสร้างกีดขวางทางน้า เช่น สะพานท่ีมีเสาสะพาน อยูใ่ นทางนา้ 2.3 ผลกระทบทเี่ กดิ จากดินโคลนถลม่ การเกิดเหตุการณ์ดินโคลนถล่ม สามารถสร้างความเสียหายได้อย่างมาก โดยเฉพาะ ถ้าเกิดขึ้นบริเวณใกล้กับชุมชนที่มีผู้คนอาศัยอยู่จานวนมาก ซึ่งผลกระทบตามมาจากการเกิดดิน โคลนถล่มทาให้เกิดความเสียหายในด้านหลัก ๆ 3 ด้าน ได้แก่ ผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อม ดา้ นเศรษฐกจิ และสงั คม ตลอดจนดา้ นสุขภาพอนามยั และจติ ใจของผ้ปู ระสบภัย สรุปไดด้ งั นี้ 2.3.1 ผลกระทบดา้ นสง่ิ แวดล้อม - เป็นการเร่งให้หน้าดินถูกชะล้าง พังทลายเพ่ิมข้ึน เม่ือมาก ๆ เข้าป่าจะขาด ความอดุ มสมบูรณ์ ต้นน้าจะถูกทาลายตามมา เกิดภาวะแห้งแล้งเพม่ิ ขน้ึ - ปา่ ลดลง สัตวป์ ่ากล็ ดลง ระบบนิเวศน์กจ็ ะเสยี สมดุล - เกิดการเปลี่ยนแปลงของภูมิประเทศ จากการพังทลาย การถูกทับถมด้วย ก้อนหนิ กรวด ทราย - สายน้าเปล่ียนทิศทาง เนื่องจากถูกกีดขวางจากตะกอนมหึมาที่ทับถมปิด เสน้ ทางการไหลของนา้ เปน็ ตน้ 2.3.2 ผลกระทบดา้ นเศรษฐกิจ และสงั คม - ประชาชนผ้ปู ระสบเหตแุ ผ่นดินโคลนถลม่ ได้รับบาดเจ็บ และเสยี ชวี ิต - ทอี่ ยูอ่ าศยั ส่ิงปลกู สร้างเสียหาย ทาใหเ้ ป็นผูไ้ รท้ อ่ี ยูอ่ าศัย - สตั วเ์ ลี้ยงล้มตายและสญู หาย - พื้นท่ที ากินและพืชผลทางการเกษตรเสยี หาย - เส้นทางคมนาคมถูกตัดขาด สาธารณปู โภคต่าง ๆ ใชก้ ารไม่ได้ - เสียงบประมาณในการรักษาการเจบ็ ป่วย ชดุ วิชา การเรยี นรูส้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 3 - 63
- เสียงบประมาณในการฟื้นฟูความเป็นอยู่ หรืออพยพโยกย้ายที่อยู่อาศัย เพ่ือใหก้ ลับมาดาเนินชวี ติ ต่อไปได้ 2.3.3 ผลกระทบดา้ นสุขภาพอนามัย - ระบบสาธารณูปโภคเสียหาย อาจเกิดการระบาดของโรคต่าง ๆ - เกิดการบาดเจ็บ ปว่ ยไข้ ทุพพลภาพ - ผู้ประสบภยั มีปัญหาสขุ ภาพจิต หวาดวติ ก เครียด ซึมเศร้า สง่ ผลต่อสขุ ภาพ กายตามมา 2.4 สัญญาณบอกเหตกุ ่อนเกดิ ดินโคลนถลม่ 2.4.1 มีฝนตกหนักถงึ หนักมากตลอดทง้ั วัน 2.4.2 ระดบั น้าในแมน่ ้าลาหว้ ยเพมิ่ สงู ขนึ้ อย่างรวดเร็วผดิ ปกติ 2.4.3 สขี องน้ามสี ีขุ่นมากกว่าปกติ เปลยี่ นเป็นเหมือนสีดินภูเขา 2.4.4 มกี ิง่ ไม้หรอื ทอ่ นไม้ไหลมากับกระแสนา้ 2.4.5 เกดิ ช่องทางเดินนา้ แยกขึ้นใหม่หรอื หายไปจากเดิมอย่างรวดเร็ว 2.4.6 เกิดรอยแตกบนถนนหรือพ้นื ดินอย่างรวดเรว็ 2.4.7 ดินบรเิ วณฐานรากของตึกหรือสิ่งก่อสรา้ งเกดิ การเคลอื่ นตวั อยา่ งกะทนั หัน 2.4.8 โครงสรา้ งตา่ ง ๆ เกิดการเคลือ่ นหรอื ดนั ตวั ขนึ้ เช่น ถนน กาแพงเปน็ ต้น 2.4.9 ต้นไม้ เสาไฟ รวั้ หรือกาแพง เอยี งหรือล้มลง 2.4.10 ทอ่ น้าใต้ดินแตกหรอื หกั อยา่ งฉับพลนั 2.4.11 ถนนยบุ ตัวลงอย่างรวดเรว็ 2.4.12 เกิดรอยแตกร้าวขึ้นท่ีโครงสร้างต่าง ๆ เชน่ รอยแตกทีก่ าแพง 2.4.13 เห็นรอยแยกระหว่างวงกบกับประตูหรือระหว่างวงกบกับหน้าต่างที่ขยาย ใหญ่ขึ้น ชุดวชิ า การเรยี นรสู้ ูภ้ ยั ธรรมชาติ 3 - 64
2.5 พ้ืนทเ่ี สย่ี งภัยตอ่ การเกดิ ดินโคลนถลม่ 2.5.1 พ้ืนท่ีท่ีมีโอกาสเกิดภัยดินโคลนถล่ม หมายถึง พ้ืนที่และบริเวณท่ีอาจจะเร่ิม เกดิ การเลื่อนไหลของตะกอนมวลดนิ และหินที่อยู่บนภูเขาสู่ทีต่ ่าในลาห้วยและทางน้าขณะเม่ือมฝี น ตกหนกั อย่างต่อเน่อื ง ลักษณะของพน้ื ทเ่ี สี่ยงภยั ดนิ โคลนถล่ม มขี อ้ สังเกตดงั นี้ · - พืน้ ทล่ี าดเชิงเขาหรือบริเวณท่ีลุ่มใกล้เชงิ เขาท่มี ีการพงั ทลายของดนิ สงู - พ้ืนท่ีเป็นภูเขาสูงชันหรือหน้าผาท่ีเป็นหินผุพังง่ายและมีชั้นดินหนาจากการ ผกุ รอ่ นของหิน - พ้ืนท่ีที่เป็นทางลาดชัน เช่น บริเวณถนนที่ตัดผ่านหุบเขา บริเวณลาห้วย บรเิ วณเหมืองใต้ดนิ และเหมอื งบนดนิ - บริเวณท่ีดินลาดชันมากและมีหินก้อนใหญ่ฝังอยู่ในดิน โดยเฉพาะบริเวณ ทีใ่ กลท้ างน้า เชน่ ห้วย คลอง แม่น้า - ทลี่ าดเชิงเขาที่มีการขดุ หรอื ถม - พืน้ ท่ีต้นน้าลาธารที่มีการทาลายปา่ ไมส้ ูง ชัน้ ดินขาดรากไมย้ ดึ เหนีย่ ว - เป็นพ้ืนทท่ี เี่ คยเกิดดินถล่มมาก่อน - พ้นื ทีส่ งู ชันไมม่ พี ชื ปกคลุม - บริเวณท่ีมีการเปลี่ยนแปลงความลาดชนั ของช้ันดินอย่างรวดเร็วซึ่งมีสาเหตุ มาจากการก่อสร้าง - บรเิ วณพ้ืนทีล่ าดต่าแตช่ น้ั ดนิ หนาและชนั้ ดินอิ่มตัวดว้ ยน้ามาก 2.5.2 หมู่บ้านเส่ียงภัยดินโคลนถล่ม หมายถึง หมู่บ้านหรือชุมชนท่ีตั้งอยู่ใกล้เคียง ลาห้วยตามลาดเชงิ เขา และท่ีลุ่มท่ีอยู่ติดหรือใกล้เขาสูง อาจจะไดผ้ ลกระทบจากการเล่ือนไหลของ ตะกอนมวลดินและหินปริมาณมากที่มาพร้อมกับน้าตามลาห้วยจากท่ีสูงชันลงมาสู่หมู่บ้านหรือ ชุมชนที่ตงั้ อยู่ โดยลักษณะทต่ี ้งั ของหมบู่ ้านเสี่ยงภยั ดินโคลนถล่ม มขี ้อสังเกตไดด้ งั น้ี - อยตู่ ิดภูเขาและใกลล้ าห้วย - มีรอ่ งรอยดนิ ไหลหรือเล่อื นบนภเู ขา มรี อยแยกของพืน้ ดินบนภูเขา - อยู่บนเนินหนา้ หุบเขาและเคยมีดินโคลนถล่มมาก่อน - มนี ้าปา่ ไหลหลากและน้าท่วมบอ่ ย - มีกองหนิ เนนิ ทรายปนโคลนและต้นไมใ้ นห้วยหรือใกลห้ มู่บา้ น - พื้นหว้ ยจะมีก้อนหนิ ขนาดเล็กและใหญป่ นกนั ตลอดทอ้ งนา้ ชุดวชิ า การเรียนรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 3 - 65
จากการสารวจเก็บข้อมูลทางธรณีวิทยาโดยกรมทรัพยากรทางธรณี พบว่า พื้นที่เสี่ยงภัย ดินโคลนถล่มใน 51 จังหวัด 323 อาเภอ 1,056 ตาบล 6,450 หมู่บ้านท่ัวประเทศและพ้ืนท่ีเสี่ยง ภัยในระดับสงู สดุ 17 จังหวัดเป็นจังหวดั ที่อยู่ในพื้นท่ีภาคใต้ 7 จังหวัด ได้แก่ จังหวดั ระนอง ชุมพร กระบ่ี สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง ตรัง และภาคเหนือ 10 จังหวัด ได้แก่ จังหวัด แมฮ่ ่องสอน เชียงราย เชยี งใหม่ นา่ น ลาพนู ลาปาง พะเยา แพร่ อุตรดติ ถ์ และตาก เรอ่ื งที่ 3 สถานการณด์ นิ โคลนถล่มในประเทศไทยและประเทศตา่ ง ๆ ในโลก 3.1 สถานการณด์ นิ โคลนถล่มในประเทศไทย สาหรับในประเทศไทยการเกิดเหตุการณ์ดินถล่มน้ันส่วนใหญ่มีตัวกลางสาคัญ ในการเคลื่อนย้ายมวลของดิน คือ น้า โดยมากแล้วจะมีสาเหตุหลักมาจากการเกิดฝนตกหนักและ นา้ ทว่ ม ทาให้ดินไม่สามารถอุ้มนา้ ไวไ้ ด้ ประเทศไทยเกดิ เหตกุ ารณ์ดนิ โคลนถลม่ รุนแรง ดงั นี้ 22 พฤศจิกายน 2531 บ้านกะทูนเหนือ อาเภอพิปูน จังหวัดนครศรีธรรมราช ผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตประมาณ 230 คน บ้านเรือนเสียหายประมาณ 1,500 หลัง พ้ืนท่กี ารเกษตร เสียหาย 6,150 ไร่ คดิ เปน็ มูลค่าประมาณ 1,000 ลา้ นบาท 11 กันยายน 2543 บ้านธารทิพย์ อาเภอหล่มสัก และบ้านโพธ์ิเงิน อาเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ ผู้เสียชีวิต 10 คน สูญหาย 2 คน บ้านเรือนเสียหาย 363 หลัง การปศุสัตว์และ พืน้ ท่ีการเกษตรไดร้ บั ความเสยี หาย 4 พฤษภาคม 2544 อาเภอวังช้ิน จังหวัดแพร่ ผู้เสียชีวิต 43 คน สูญหาย 4 คน บ้านเรอื นเสยี หาย 18 หลงั คิดเปน็ มูลคา่ ประมาณ 100 ลา้ นบาท 11 สิงหาคม 2544 ตาบลน้าก้อ อาเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ ผู้บาดเจ็บ 109 คน เสียชีวิต 136 คน สูญหาย 4 คน บ้านเรือนเสียหาย 188 หลัง เสียหายบางส่วน 441 หลัง คดิ เปน็ มลู ค่าประมาณ 645 ล้านบาท 22 พฤษภาคม 2547 บ้านสบโขง หมู่ 10 ตาบลแม่สวด อาเภอสบเมย จังหวัด แมฮ่ อ่ งสอน ผู้ประสบภัย 400 คน 120 ครัวเรือน บ้านเรือนเสียหาย 100 หลัง 17 ตุลาคม 2547 ตาบลอ่าวนาง อาเภอเมือง จังหวัดกระบ่ี เกสเฮาส์ 14 หลัง เสยี หาย ดินทบั หลังคา รัว้ และผนงั ห้อง 10 หลังเสยี หาย รวมมลู คา่ กว่า 10 ล้านบาท ชุดวิชา การเรยี นร้สู ้ภู ยั ธรรมชาติ 3 - 66
22 พฤษภาคม 2549 พื้นท่ีอาเภอลับแล อาเภอเมือง และอาเภอท่าปลา จังหวัด อุตรดิตถ์ มปี ระชาชนผูป้ ระสบภยั ประมาณ 128,800 คน โดยมีผ้เู สียชีวิตท้ังหมด 66 ราย สูญหาย 37 คน บ้านเรือนเสียหาย 3,076 หลังในจานวนนี้เป็นบ้านเรือนท่ีเสียหายท้ังหลังจานวน 430 หลงั คาเรือน 9 ตุลาคม 2549 ตาบลแม่งอน อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ มีผู้เสียชีวิต 8 ราย บา้ นเรือน เสียหายรวม 29 หลัง 3 สิงหาคม 2554 บ้านปู่ทา ปิดทับเส้นทางหลวงแผ่นดิน 1194 แม่สะเรียง- แม่สามแลบ กว่า 10 จุด และปิดทับบ้านเรือนเสียหายทั้งหลัง 1 หลัง และเสียหายบางส่วน 9 หลัง มีผูเ้ สยี ชีวติ 9 ราย ผไู้ ดร้ บั บาดเจ็บ 12 คน 23 กันยายน 2554 บ้านเปียงกอก ตาบลโป่งน้าร้อน อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ นา้ ทว่ มบา้ นเรือนประชาชน ทรพั ยส์ ินไดร้ ับความเสียหาย มีผู้เสยี ชวี ิต 1 รายและสญู หาย2 ราย 28 กันยายน 2554 บ้านเมืองก๋าย ตาบลเมืองก๋าย อาเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ บ้านเรือนของประชาชน เสียหายจานวน 4 หลังคาเรือน มีผู้เสียชีวิต จานวน 4 ราย และสูญหาย จานวน 1 ราย ปัจจุบันปัญหาดินโคลนถล่มเกิดบ่อยมากข้ึนและมีความรุนแรงเพ่ิมมากขึ้นอันมี สาเหตจุ ากพฤติกรรมของมนษุ ยเ์ ปน็ ส่วนใหญ่ โดยมผี ลกระทบดังแผนภาพ ดังนี้ แผนภาพแสดง สถติ สิ ถานการณ์ภยั จากดินโคลนถลม่ พ.ศ. 2552-2556 ทีม่ าhttps://dpmcr.files.wordpress.com/2015/06/ ชุดวิชา การเรยี นรูส้ ้ภู ยั ธรรมชาติ 3 - 67
3.2 สถานการณด์ นิ โคลนถล่มในประเทศต่าง ๆ ในโลก การเกิดแผ่นดินโคลนถล่มในประเทศไทยและในต่างประเทศมีลักษณะคล้ายกัน คือ มักเกิดในพ้ืนที่ภูเขาท่ีมีความลาดชัน มีการปรับพื้นที่ป่าตั้งเดิมเป็นพื้นที่เกษตรกรรม สร้างบ้านพัก อาศัย สร้างรีสอร์ทบริการนักท่องเที่ยว และเมื่อมีฝนตกชุกต่อเน่ืองยาวนานมากกว่า 24 ช่ัวโมง มักจะเกิดแผ่นดนิ ถล่มเอาดนิ โคลน เศษหนิ ซากไม้ลงมาพรอ้ มกับสายนา้ สร้างความเสียหายทง้ั ต่อ ชีวิตและทรัพย์สินทุกครั้ง และการเกิดเหตุการณ์ดังกล่าวน้ีมักเกิดถ่ีขึ้น และรุนแรงมากข้ึนทุก ๆ คร้ังด้วย ตัวอย่างเช่น ประเทศยูกันดา ทวีปแอฟริกาได้เกิดดินถล่มในหมู่บ้านแถบเทือกเขาทาง ภาคตะวันออกของประเทศ เมื่อเดือนมีนาคม 2553 เน่ืองจากมีฝนตกหนักในพ้ืนที่อย่างต่อเน่ือง และท่ีประเทศจีน วันที่ 7 กรกฎาคม 2556 เกิดเหตุการณ์ดินโคลนถล่มทับร่างของประชาชนกว่า 30-40 คนในมณฑลเสฉวนของประเทศจีน เนื่องจากฝนท่ีตกหนักจนทาให้เกิดน้าท่วมฉับพลัน มหี ลายพนื้ ท่ซี ่ึงได้รบั กระทบจากฝนทต่ี กหนักตดิ ตอ่ กันหลายวนั โดยเฉพาะทีม่ ณฑลเสฉวน น้าทว่ ม ดินโคลนถลม่ เสฉวนประเทศเทศจนี จาก “ซเู ปอรไ์ ต้ฝุ่นซูลิก (Soulik)” หลังจากหลายพื้นท่ีของจีนประสบกับพายุฝนท่ีโหมกระหน่ามาตั้งแต่ช่วงต้นเดือน กรกฎาคม 2556 ทาให้ประชาชนต้องเผชิญกับอุทกภัยและดินโคลนถล่ม สร้างความเสียหายต่อ ชีวิตและทรัพย์สินจานวนมาก จีนยังเจอเคราะห์ซ้ากรรมซัดจากพายุไต้ฝุ่น “ซูลิก” (Soulik) พัดเข้าถล่มอีกระลอก เม่ือวันท่ี 7 กรกฎาคม 2556 ทาให้เกิดเหตุการณ์ดินโคลนถล่มทับร่างของ ประชาชนกว่า 30-40 คนในมณฑลเสฉวนของประเทศจีน เนื่องจากฝนท่ีตกหนักจนทาให้เกิด น้าท่วมฉับพลัน มีหลายพื้นที่ซ่ึงได้รับกระทบจากฝนท่ีตกหนักติดต่อกันหลายวันโดยเฉพาะท่ี มณฑลเสฉวน สะพาน 3 แห่ง ได้พังถล่มลงมา เหตุดินโคลนถล่มและน้าท่วมเกิดขึ้นบ่อยในเขต ภูเขาของจีน ทาให้มีผู้เสียชีวิตหลายร้อยคนทุกปี ซึ่งภัยธรรมชาติในคร้ังนี้ก่อให้เกิดความเสียหาย อยา่ งมาก เทียบเทา่ กบั การเกิดเหตแุ ผ่นดินไหวครงั้ ใหญ่ 2 ครั้ง ในรอบ 5 ปี ท่ีผา่ นมา ทงั้ น้ีประเทศ จนี ตอ้ งประสบกับภยั ทางธรรมชาตมิ าโดยตลอดในระยะเวลา 30 ปี ชดุ วิชา การเรยี นรสู้ ู้ภยั ธรรมชาติ 3 - 68
กรกฎาคม 2556 ฝนกระหนา่ มณฑลเสฉวนทาให้เกดิ นา้ ท่วมฉับพลนั ประชาชนนบั หม่ืนเดอื ดรอ้ น สถานการณ์ดนิ ถล่ม เมอื งตเู จยี งเยย่ี น มณฑลเสฉวนทางภาคตะวันตกของจีน เจา้ หน้าท่กี ูภ้ ยั ต้องใชร้ ถขุดดนิ เข้าช่วยเหลอื ประชาชนในเมืองแห่งหน่ึงของมณฑลเสฉวนหลงั เกดิ เหตดุ นิ โคลน ภาพจาก http://dpm.nida.ac.th/main/index.php/articles/storm/item/ ชุดวิชา การเรียนร้สู ้ภู ยั ธรรมชาติ 3 - 69
ดินโคลนถล่มในอัฟกานิสถาน เมื่อวันท่ี 2 พฤษภาคม 2557 เกิดเหตุการณ์ดินโคลนถล่มในเขตชนบททางภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของอัฟกานิสถานและคาดว่าอาจจะมีผู้เสียชีวิตหรือสูญหายกว่า 2,700 คน สาหรับเหตุการณ์ดินถล่มครั้งนี้สร้างความเสียหายอย่างใหญ่หลวง หมู่บ้านท้ังหมู่บ้านถูกพัดกลืน หายไป ครอบครวั นับรอ้ ยตอ้ งสูญเสยี ทกุ ส่งิ อย่าง ภาพประกอบจาก WAKIL KOHSAR / AFP ดนิ โคลนถล่มในประเทศยกู นั ดา ทวปี แอฟริกา เม่ือเดือนมีนาคม 2553 เกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติจากดินโคลนถล่มทางภาคตะวันของ ประเทศยูกันดา พบผู้เสียชีวิตราว 100 รายและสูญหายอีกกว่า 300 คน ซึ่งมีฝนตกลงมาอย่าง หนักก่อนดินโคลนถล่มลงมาจากเขา อานุภาพของมันกวาดทาลายต้นไม้และพุ่มไม้ล้มระเนระนาด หมบู่ ้านต้องจมอยใู่ ต้โคลน ดนิ โคลนถล่มทบั หมบู่ ้านยูกนั ดา ที่มา http://www.manager.co.th/Around/ViewNews.aspx?News ชุดวิชา การเรยี นรู้ส้ภู ยั ธรรมชาติ 3 - 70
เรอื่ งที่ 4 แนวทางและการปอ้ งกันและแก้ไขปญั หาผลกระทบทีเ่ กิดจากดินโคลนถล่ม ในการป้องกันภัยธรรมชาติจากการเกิดดินโคลนถล่มน้นั นอกเหนือจากเป็นหน้าที่ของ ผู้รับผิดชอบโดยตรงคือหน่วยงานของรัฐแล้ว ยังมีส่วนของภาคประชาชน ที่ได้เข้ามามีส่วนร่วมใน การหาแนวทาง ปอ้ งกันภยั แผน่ ดินถล่ม หรอื ดนิ โคลนถลม่ ดังนี้ 4.1 แนวทางการปอ้ งกันการเกิดเหตดุ นิ โคลนถล่ม 4.1.1 แนวทางการปอ้ งกันการเกดิ เหตดุ ินโคลนถลม่ ทีด่ าเนินการโดยหนว่ ยงานของรัฐ การป้องกันดินโคลนถล่มที่ดาเนินการโดยหน่วยงานของรัฐบาลในประเทศไทย ส่วนใหญ่จะเป็นการดาเนินการป้องกันดินโคลนถล่มที่เกิดขึ้นในพ้ืนที่ที่มนุษย์เป็นผู้สร้างข้ึน เช่น การตัดภูเขาเพ่ือสร้างถนน ทาให้เกิดแนวดินข้างถนนที่ตัดผ่านเป็นลักษณะลาดชัน การสร้างแนว ป้องกันต้องใช้งบประมาณมาก แต่มีความจาเป็นเนื่องจากเป็นเส้นทางที่ใช้ในการคมนาคม จึงต้อง มีแนวทางในการป้องกนั ปญั หาดินโคลนถลม่ สรุปได้ดังน้ี 1) ลดแรงกระทาซ่ึงเป็นเหตุใหม้ วลดินเกดิ การเคลอ่ื นตวั โดยปรบั ความลาดชนั ภาพแสดงการปรับความลาดชัน ชุดวชิ า การเรยี นรูส้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 3 - 71
2) เพม่ิ กาลังให้มวลดนิ เชน่ ลดระดบั นา้ ใต้ดนิ และลดความชน้ื ของดิน เปน็ ต้น ภาพแสดงการเพิ่มกาลังให้มวลดินโดยการลดระดบั น้าใตด้ ินผ่านทอ่ ระบายนา้ ที่มา :คัดลอกจาก The Landslide Handbook-A Guide to Understanding Landslides. By Lynn M. Highland, United States Geological Survey, andPeterBobrowsky, Geological Survey of Canada. 3) ตดิ ต้ังอุปกรณ์ท่ชี ว่ ยเพิ่มความต้านทานการเคลอื่ นของมวลดนิ เช่น กาแพง กันดินหรอื การตอกเสาเข็ม ภาพแสดงโครงสร้างกาแพงกันดิน ท่มี า : http://www.cendru.eng.cmu.ac.th/web/4-2.htm ชดุ วชิ า การเรียนร้สู ้ภู ยั ธรรมชาติ 3 - 72
4) การป้องกนั หน้าดนิ โดยการปลูกพชื คลุมดนิ หรือการพน่ คอนกรตี ภาพแสดงการรักษาหน้าดินโดยการปลกู พชื คลมุ ดนิ ที่มา : http://www.qsbg.org/database/botanic_book%20full%20option/search_detail.asp ภาพแสดงการรักษาหนา้ ดนิ โดยการพน่ คอนกรีต ที่มา : http://www.cendru.eng.cmu.ac.th/web/4-2.htm ชุดวิชา การเรียนรูส้ ูภ้ ยั ธรรมชาติ 3 - 73
4.1.2 แนวทางการป้องกันการเกดิ เหตุแผ่นดินถล่มทดี่ าเนนิ การโดยภาคประชาชน การป้องกันการเกิดดินโคลนถล่มท่ีเกิดขึ้นเองตามธรรมชาตินั้น นอกจากจะ เป็นหน้าท่ีของหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงแล้ว คนในชุมชนควรร่วมมือกันในการกาหนดแนว ทางการปอ้ งกันภัยพิบตั กิ ารเกิดดินโคลนถลม่ ในพืน้ ทเ่ี สีย่ ง สรุปไดด้ ังนี้ 1) ร่วมกันดแู ล รกั ษา และปอ้ งกันไม่ให้มีการตัดตน้ ไม้ทาลายป่าในพ้ืนทป่ี า่ และ บริเวณลาห้วยให้มีความอดุ มสมบรู ณ์ 2) คนในชุมชนควรร่วมกันจัดสรรเขตพ้ืนที่ป่าเป็นเขตป่าอนุรักษ์และเขตป่าใช้ ประโยชน์ออกจากกนั เพื่อปอ้ งกันการโคน่ ล้มตน้ ไม้ 3) สารวจบริเวณพ้ืนท่ที ่ีมีความเส่ยี งในการเกิดดินโคลนถล่มโดยสงั เกตลักษณะ พื้นที่ ไดแ้ ก่ - เปน็ ภูเขาหัวโล้น ทาให้ดินขาดรากไม้ยดึ เหนี่ยวอาจเกดิ การถล่มลงมาได้ง่าย - มีช้ันดินหนาวางตัวอยู่ตามลาดภูเขาท่ีมีความลาดเอียงสูง หรือเป็นหน้าผา - มีชั้นหินที่รองรับชั้นดินเป็นหินชนิดที่ผุง่าย 4) ทาลายหรอื ขนย้ายเศษก่งิ ไม้ ตน้ ไม้แหง้ ท่ถี ูกน้าพดั มาสะสมขวางทางน้า 5) ควรทาการอพยพประชาชนที่ต้ังบ้านเรือนกีดขวางทางน้าข้ึนไปอยู่บนเนิน หรือทีส่ ูงชว่ั คราว โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ เมอ่ื มกี ารเตอื นภัยวา่ จะเกดิ ฝนตกหนักติดต่อกัน 6) จดั ต้ังกลมุ่ เครือข่ายเฝ้าระวงั และแจ้งเหตุแผน่ ดินถล่ม 7) จัดทาแผนการอพยพแผนการช่วยเหลือและฟ้ืนฟูผู้ประสบภัย และควร ฝึกซ้อมตามแผนการอพยพในโอกาสท่ีเสี่ยงจะเกดิ แผ่นดินถลม่ 4.2 การเตรียมความพรอ้ มรบั สถานการณ์การเกดิ ดินโคลนถล่ม 4.2.1 ก่อนเกดิ เหตุการณด์ ินโคลนถลม่ ในกรณีที่ตั้งบ้านเรือนหรือที่พักอาศัยอยู่ในพ้ืนที่เสี่ยงผู้มีความเสี่ยงประสบเหตุ ดินโคลนถลม่ ควรปฏิบัตติ น ดงั นี้ 1) สังเกตลักษณะบริเวณโดยรอบที่ตั้งของชุมชนและบริเวณท่ีเส่ียงภัยจากการ เกิดดินโคลนถล่ม (1) อยู่ตดิ กบั ภูเขาและใกลล้ าห้วย (2) มรี ่องรอยดนิ ไหล หรือดินเลื่อนบนภเู ขา ชดุ วชิ า การเรยี นรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 3 - 74
(3) มรี อยแยกของพืน้ ดินบนภูเขา (4) อย่บู นเนนิ หน้าหบุ เขาและเคยมโี คลนถลม่ ลงมาบา้ ง (5) ถูกนา้ ป่าไหลหลากและนา้ ท่วมบ่อย (6) มีกองหนิ เนนิ ทรายปนโคลนและต้นไมใ้ นห้วยหรอื ใกลห้ ม่บู ้าน 2) สงั เกตและเฝา้ ระวังน้าและดนิ (1) มีฝนตกหนักถงึ ตกหนักมากตลอดท้ังวนั (2) ปริมาณนา้ ฝนมากกวา่ 100 มิลลิเมตรตอ่ วนั (3) มีเสียงดังผิดปกติบนภูเขาและในลาห้วย เนื่องจากการถล่มและเลื่อนไหล ของนา้ ดนิ และตน้ ไม้ (4) ระดับน้าในลาหว้ ยสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว และมนี า้ ไหลหลากลน้ ตล่งิ (5) สีของนา้ ข่นุ ขน้ และเปลีย่ นเป็นสีดินของภูเขา (6) มเี ศษของตน้ ไมข้ นาดเล็กไหลมากับนา้ 3) การเตรยี มความพร้อมรบั สถานการณด์ ินโคลนถลม่ (1) ติดตามสถานการณ์และข่าวการพยากรณ์อากาศทางสถานีวิทยุ กระจายเสียงท้องถนิ่ เสยี งตามสาย หอกระจายขา่ วประจาหม่บู า้ นอยา่ งใกลช้ ดิ (2) จัดเตรียมอาหาร น้าดื่ม ยารักษาโรค และอุปกรณ์ฉุกเฉินท่ีจาเป็นต้องใช้ เมื่อประสบเหตุ (3) ซ้อมแผนการอพยพ แผนการช่วยเหลอื และฟืน้ ฟผู ู้ประสบภยั แผ่นดนิ ถล่ม (4) หากมีการติดต้ังอุปกรณ์สาหรับเตือนภัยไว้ในพื้นที่เส่ียงภัย ผู้มีส่วน เกี่ยวขอ้ งหรือผู้ที่มีความเส่ยี งประสบเหตุ ควรหม่ันตรวจสอบอุปกรณ์แจ้งเตือนภัยให้อยู่ในสภาพท่ี สมบูรณพ์ รอ้ มใช้งานอยเู่ สมอ (5) หากสังเกตแล้วพบว่ามีความเสี่ยงในการเกิดดินโคลนถล่ม ควรทาการ อพยพออกจากพื้นทท่ี ม่ี คี วามเสยี่ ง หรืออยู่ในบรเิ วณทป่ี ลอดภยั (6) แจ้งสถานการณ์ท่ีเกิดข้ึนให้กับเจ้าหน้าท่ีท่ีเก่ียวข้อง หรือผู้นาชุมขนให้ ทราบโดยเร็ว เพ่ือแจ้งเตือนภัยให้ผู้ที่มีความเสี่ยงประสบเหตุรายอื่น ๆ ได้ทราบอย่างท่ัวถึงและ เตรียมความพร้อมไดอ้ ย่างทนั ท่วงที ชดุ วชิ า การเรยี นรูส้ ู้ภยั ธรรมชาติ 3 - 75
4.2.2 การปฏิบัติขณะเกิดดินโคลนถล่มผู้ประสบเหตุดินโคลนถล่มควรปฏิบัติตน ดงั น้ี 1) ต้ังสติ แล้วรวบรวมอุปกรณฉ์ กุ เฉนิ ที่จาเป็นต้องใช้เม่อื ประสบเหตุ 2) ทาการอพยพออกจากพ้นื ที่เสย่ี ง หรอื อยใู่ นบรเิ วณที่ปลอดภัย 3) แจ้งสถานการณ์เจา้ หน้าท่ีทเ่ี ก่ียวข้อง ผนู้ าชุมขนใหท้ ราบเพ่ือแจง้ เหตุ และ เตรียมการชว่ ยเหลอื ผูป้ ระสบภยั ตามแผนการชว่ ยเหลอื และฟ้นื ฟูผูป้ ระสบภัยแผ่นดินถลม่ 4.2.3 การปฏิบัติหลังเกิดดินโคลนถล่มผู้ประสบเหตุดินโคลนถล่มควรปฏิบัติตน ดงั น้ี 1) ติดตามสถานการณ์และข่าวการพยากรณ์อากาศออกอากาศสถานี วิทยุกระจายเสียงท้องถ่ิน เสียงตามสาย หอกระจายข่าวประจาหมู่บ้านอย่างใกล้ชิด เพื่อป้องกัน การเกดิ เหตซุ ้า 2) จัดเวรยามเพื่อเดินตรวจตาดูสถานการณ์รอบ ๆ หมู่บ้านเพ่ือสังเกตสิ่ง ผิดปกติ 3) ติดต่อขอรับความช่วยเหลอื และฟน้ื ฟูจากบุคคลหรือหนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวข้อง ดินถล่มทบั หมู่บ้านทต่ี ั้งอย่ใู นหบุ เขา ทอี่ าเภอลับแล จงั หวัดอุตรดิตถว์ ันที่ 22 พฤษภาคม 2549 ชุดวิชา การเรียนร้สู ู้ภยั ธรรมชาติ 3 - 76
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 5 ไฟป่า สาระสาคัญ ไฟป่า เป็นพิบัติภัยอย่างหนึ่งท่ีเกิดขึ้นไม่เฉพาะในประทศไทยแต่เกิดข้ึนในทุกภูมิภาค ท่ัวโลกที่เป็นปัญหาเรื้อรังมานานและทวีความรุนแรงข้ึนเรื่อย ๆ ในทุกปี เม่ือเกิดไฟป่าข้ึนท่ีใดก็จะ ส่งผลกระทบและสร้างความเสียหายแก่ทรัพยากรธรรมชาติของป่า และส่ิงแวดล้อมอย่างมาก ย่ิงกว่าสาเหตุอ่ืน ๆ เพราะไฟป่าสามารถลุกลามไหม้ทาลายพ้ืนที่จานวนมากได้ในเวลาอันรวดเร็ว ไม่เฉพาะแต่พื้นท่ีน้ันเท่านั้น แต่จะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมโดยรวมด้วย ซึ่งเป็นความจาเป็นที่ ทกุ คนต้องเรยี นรแู้ ละเข้าใจถึงความรุนแรงลักษณะของการเกิดไฟป่า สถานการณ์และผลกระทบที่ ตามมา ตลอดจนแนวทางการควบคุมและป้องกันเพ่ือร่วมมืออย่างจริงจังในการลดความเสียหาย จากไฟปา่ ใหน้ ้อยลงหรอื ป้องกันไม่ให้เกิดไฟป่าขนึ้ ตัวช้ีวัด 1. บอกความหมายของไฟป่า 2. บอกสาเหตุและปัจจัยการเกิดไฟปา่ 3. บอกชนดิ ของไฟปา่ 4. บอกผลกระทบท่ีเกดิ จากไฟป่า 5. ตระหนักถงึ ภัยและผลกระทบที่เกิดจากไฟป่า 6. บอกฤดูกาลการเกดิ ไฟปา่ ในแต่ละพ้ืนทีข่ องประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ ในโลก 7. บอกสถานการณ์ไฟป่าในประเทศไทยและประเทศตา่ ง ๆ ในโลก 8. บอกวิธีการเตรยี มพรอ้ มรับสถานการณก์ ารเกดิ ไฟป่า 9. บอกวธิ กี ารปฏิบตั ิเกิดขณะเกิดไฟป่า 10. บอกวิธีการปฏบิ ตั ิหลังเกิดไฟป่า 11. บอกแนวทางการป้องกันและการแกไ้ ขปัญหาผลกระทบที่เกดิ จากไฟป่า ชุดวชิ า การเรยี นรู้สภู้ ยั ธรรมชาติ 3 - 77
ขอบข่ายเน้ือหา เรื่องที่ 1 ความหมายของไฟปา่ เร่อื งท่ี 2 ลักษณะการเกิดไฟปา่ 2.1 สาเหตแุ ละปัจจยั การเกิดไฟป่า 2.2 ชนิดของไฟป่า 2.3 ผลกระทบท่เี กิดจากไฟปา่ 2.4 ฤดกู าลเกิดไฟปา่ ในประเทศไทยและประเทศตา่ ง ๆ ในโลก เรอ่ื งที่ 3 สถานการณ์การเกดิ ไฟป่า 3.1 สถานการณก์ ารเกิดไฟป่าในประเทศไทย 3.2 สถานการณก์ ารเกดิ ไฟปา่ ของโลก เรอื่ งที่ 4 แนวทางการป้องกนั และการแกไ้ ขปญั หาผลกระทบทเ่ี กดิ จากไฟป่า 4.1 การเตรียมความพรอ้ มเพ่อื ปอ้ งกนั การเกดิ ไฟปา่ 4.2 การปฏบิ ตั ิขณะเกิดไฟป่า เวลาทใ่ี ชใ้ นการศึกษา 15 ชัว่ โมง สือ่ การเรยี นรู้ 1. ชุดวิชาการเรียนรู้สภู้ ัยธรรมชาติ 3 2. สมดุ บนั ทึกกจิ กรรมการเรียนรู้ ประกอบชุดวชิ าการเรยี นรสู้ ูภ้ ยั ธรรมชาติ 3. สอื่ วีดทิ ศั นเ์ กยี่ วกับไฟป่า 4. ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ / ปราชญ์ชาวบ้าน ชดุ วิชา การเรยี นรู้สภู้ ยั ธรรมชาติ 3 - 78
เร่อื งท่ี 1 ความหมายของไฟป่า ไฟป่าเป็นไฟที่เกิดขึ้นตามพ้ืนท่ีในป่าทั่วไป สามารถเกิดข้ึนได้ทุกภาคของประเทศ และ ทวั่ โลก ท้ังน้ีไฟป่าอาจเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติหรือเกิดจากการกระทาของมนุษย์ โดยเฉพาะอย่าง ย่ิงในฤดูแล้งมักเกิดไฟป่าขึ้นในหลาย ๆ พ้ืนที่ เม่ือมีไฟป่าเกิดข้ึนบริเวณใดก็จะสร้างความเสียหาย ใหบ้ รเิ วณนน้ั และอาจลุกลามไปยังพื้นที่อื่น จนเกิดความเสียหายบริเวณกว้าง และส่งผลกระทบต่อ สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ไฟปา่ นบั เป็นภัยพิบัตอิ ันร้ายแรงท่เี ป็นเสมือนฝนั ร้ายของทั้งสตั วป์ ่านอ้ ยใหญ่รวมถึงป่าไม้ และมวลมนุษยชาติเพราะเมื่อไฟป่ามอดดับลงคงหลงเหลือแต่สภาพความเสียหายอันประมาณค่า ไมไ่ ด้และเกิดปญั หาตามมาอกี มากมาย ความหมายของไฟปา่ โดยสรุป คือ ไฟที่เกิดจากสาเหตุอันใดกต็ าม แล้วเกิดการลุกลาม ไปได้โดยอิสระปราศจากการควบคุม ทั้งน้ีไม่ว่าไฟน้ันจะเกิดข้ึนในป่าธรรมชาติหรือสวนป่า กต็ าม ไฟป่าในลกั ษณะต่าง ๆ ชุดวชิ า การเรียนรู้สูภ้ ยั ธรรมชาติ 3 - 79
เรอ่ื งที่ 2 ลกั ษณะการเกิดไฟป่า 2.1 สาเหตแุ ละปจั จยั การเกิดไฟป่า การเกิดไฟป่า มาจากสาเหตุและปัจจัย 2 อย่าง คือเกิดจากธรรมชาติ และเกิดจาก การกระทาของมนุษย์ อย่างไรก็ตามสาหรับในประเทศไทยยังไม่พบไฟป่าที่เกิดโดยความร้อนตาม ธรรมชาติ สว่ นใหญ่เกดิ จากฝมี ือมนษุ ย์ทั้งส้นิ ดังน้นั มนุษยจ์ ึงเปน็ ต้นเหตุของการเกิดไฟป่าทสี่ าคญั 2.1.1 ไฟป่าท่ีเกิดจากธรรมชาติ ไฟป่าท่ีเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น จากฟ้าผ่า กงิ่ ไมเ้ กดิ การเสียดสกี ัน ปฏิกริ ยิ าเคมใี นดินป่าพรุ ซึง่ สาเหตุทสี่ าคัญ ไดแ้ ก่ 1) ฟ้าผ่า เป็นสาเหตุสาคัญของการเกิดไฟป่าในเขตอบอุ่นของต่างประเทศ ซึง่ แบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ประเภท คอื ฟ้าผา่ แห้ง และฟ้าผ่าเปยี ก - ฟ้าผ่าแห้ง คือฟ้าผ่าที่เกิดข้ึนในขณะที่ไม่มีฝนตก มักจะเกิดข้ึนในฤดูแล้ง เป็นสาเหตสุ าคัญของการเกดิ ไฟป่าในเขตอบอุน่ - ฟ้าผ่าเปียก คือฟ้าผ่าท่ีเกิดข้ึนควบคู่กับการเกิดพายุฝนฟ้าคะนอง ฟ้าผ่าใน เขตร้อนรวมถึงประเทศไทยมักจะเป็นฟ้าผ่าเปียก จึงแทบจะไม่เป็นสาเหตุของไฟป่าในเขตร้อน น้เี ลย ลักษณะของไฟป่าทเี่ กดิ จากฟ้าผา่ ชุดวชิ า การเรียนรู้ส้ภู ยั ธรรมชาติ 3 - 80
2) ก่ิงไม้เสียดสีกัน ไฟป่าท่ีเกิดจากก่ิงไม้เสียดสีกันอาจเกิดข้ึนได้ในพื้นที่ป่า ทมี่ ไี ม้ขน้ึ อยอู่ ย่างหนาแน่น และมีสภาพอากาศแห้งจดั เชน่ ในป่าไผ่ หรือ ป่าสน ลกั ษณะไฟปา่ ที่เกิดตามธรรมชาติ 2.1.2 ไฟป่าที่มสี าเหตุจากมนุษย์ ไฟป่าทีเ่ กดิ ในประเทศกาลังพัฒนาในเขตรอ้ นส่วนใหญ่ จะมีสาเหตุมาจากกิจกรรมของมนุษย์ สาหรับประเทศไทยจากการเก็บสถิติไฟป่าตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528-2542 ซึ่งมีสถิติไฟป่าท้ังสิ้น 73,630 คร้ัง พบว่าเกิดจากสาเหตุตามธรรมชาติ คือ ฟ้าผ่า เพียง 4 คร้ังเท่าน้ัน คือ เกิดท่ีภูกระดึง จังหวดั เลย ที่ห้วยน้าดัง จังหวัดเชียงใหม่ ที่ท่าแซะ จังหวัด ชุมพร และท่ีเขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา แห่งละหน่ึงครั้ง ดังน้ันจึงถือได้ว่าไฟป่าในประเทศไทย ทั้งหมดเกิดจากการกระทาของมนุษย์โดยมีสาเหตุตา่ ง ๆ กนั ไป ไดแ้ ก่ 1) ไฟป่าท่ีเกิดจากการเผาหญ้าเศษวัสดุ เศษพืชผลทางการเกษตร นับเป็น สาเหตสุ าคญั ประการหนงึ่ ท่ีลกุ ลามเปน็ ไฟป่าได้ การเผาเศษพืชผลทางการเกษตร ชดุ วิชา การเรยี นร้สู ภู้ ยั ธรรมชาติ 3 - 81
2) การเผาขยะมูลฝอยและวัสดุเหลือใช้ในชุมชน คนในชุมชนบางคนอาศัย ความสะดวก มักนาขยะหรือเศษวัสดุท่ีเหลือใช้มาเผาในหมู่บ้านหรือในชุมชน อาจเป็นสาเหตุหนึ่ง ท่ที าใหเ้ กดิ ไฟไหม้ลกุ ลามได้ การลกุ ลามของไฟปา่ จากจดุ เลก็ ๆ 3) เก็บหาของป่า เป็นสาเหตุท่ีทาให้เกิดไฟป่ามากท่ีสุด การเก็บหาของป่า ส่วนใหญ่ ได้แก่ ไข่มดแดง เห็ด ใบตองตึง ไม้ไผ่ น้าผึ้ง ผักหวาน และไม้ฟืน การจุดไฟส่วนใหญ่ เพื่อให้พ้ืนป่าโล่ง เดินสะดวก หรือให้แสงสว่างในระหว่างการเดินทางผ่านป่าในเวลากลางคืน หรือ จุดไฟเพื่อกระตุ้นการงอกของเห็ด กระตุ้นการแตกใบใหม่ของผักหวานและใบตองตึง หรือ การจุดเพื่อไลต่ ัวมดแดงออกจากรัง รมควันไล่ผง้ึ หรือไลแ่ มลงต่าง ๆ ในขณะท่อี ย่ใู นปา่ 4) เผาไร่ เป็นสาเหตุที่สาคัญรองลงมา การเผาไรก่ ็เพื่อกาจัดวัชพืชหรือเศษซาก พืชท่ีเหลืออยู่ ภายหลังการเก็บเก่ียว ท้ังนี้เพ่ือเตรียมพื้นท่ีเพาะปลูกในรอบต่อไป โดยปราศจาก การทาแนวกันไฟ และปราศจากการควบคมุ ไฟจึงลุกลามเขา้ ป่าท่ีอยใู่ นบรเิ วณใกล้เคียง 5) แกล้งจุด ในกรณีที่ประชาชนในพ้ืนท่ีมีปัญหาความขัดแย้งกับหน่วยงานของ รัฐในพ้ืนที่ โดยเฉพาะอย่างย่ิงปัญหาเกิดจากเร่ืองที่ทากินหรือถูกจับกุมจากการกระทาผิดในเร่ือง ป่าไม้ ก็มักจะหาทางแก้แค้นเจ้าหน้าที่ด้วยการเผาป่า ซึ่งอาจจะเป็นการกระทาทั้งท่ีต้ังใจหรือ ไม่ตง้ั ใจกต็ าม 6) ความประมาท เกิดจากการเข้าไปพักแรมในป่า ก่อกองไฟเพ่ือให้เกิด ความอบอนุ่ หรือป้องกนั สัตว์รา้ ยแล้วลมื ดับ หรือท้ิงกน้ บุหรี่ ลงบนพนื้ ป่า เป็นตน้ ชุดวชิ า การเรียนร้สู ู้ภยั ธรรมชาติ 3 - 82
7) ล่าสัตว์โดยใช้วิธีไล่เหล่า คือ จุดไฟไล่ให้สัตว์หนีออกจากที่ซ่อน หรือจุดไฟ เพื่อให้แมลงบินหนีไฟ นกชนิดต่าง ๆ จะบินมากินแมลง แล้วดักยิงนกอีกทอดหนึ่ง หรือจุดไฟเผา ทุ่งหญ้า เพ่ือให้หญ้าแตกใบใหม่ เป็นการล่อให้สัตว์ชนิดต่าง ๆ เช่น กระทิง กวาง กระต่าย หมูป่า มากินอาหาร แลว้ ดกั รอยิงสัตวเ์ หลา่ น้นั 8) เลี้ยงปศุสัตว์ ประชาชนท่ีเล้ียงสัตว์แบบปล่อยให้หากินเองตามธรรมชาติ มีจานวนไม่น้อยท่ีทาการลักลอบจุดไฟเผาป่าให้โล่งมีสภาพเป็นทุ่งหญ้าเพ่ือเป็นแหล่งอาหารของ สตั วท์ ตี่ นเองเลย้ี งไว้ 9) ความคึกคะนอง บางคร้ังการจุดไฟเผาป่าเกิดจากความคึกคะนองของผู้จุด โดยไม่มีจุดประสงค์ใดๆ แต่เปน็ การจุดเล่นเพอื่ ความสนุกสนาน เท่านัน้ 10) การเผาวัชพืชริมถนนหนทาง อาจลุกลามเป็นบริเวณกว้าง จนกลายเป็น ไฟป่าท่ีเผาผลาญทาลายบ้านเรอื นและชมุ ชนได้ เจา้ หนา้ ทชี่ ว่ ยกนั ดับไฟจากการเผาหญ้ารมิ ถนน 2.2 ชนดิ ของไฟป่า ไฟปา่ แบ่งออกเปน็ 3 ชนดิ ตามลักษณะของเชอื้ เพลิงทถ่ี กู เผาไหม้ ได้แก่ 2.2.1 ไฟใต้ดนิ เปน็ ไฟทไ่ี หมอ้ ินทรียวัตถทุ ี่สะสมอยู่ในดนิ ลกุ ลามไปชา้ ๆ ใต้ผิวดิน ไม่มีเปลวไฟปรากฏให้เห็นชัดเจนและมีควันให้เห็นน้อยมาก ฉะนั้นไฟใต้ดินจึงเป็นไฟท่ีตรวจพบ หรือสังเกตพบไดย้ ากทีส่ ุดและเป็นไฟที่มีอัตราการลกุ ลามช้าที่สุด แต่สร้างความเสยี หายให้แกพ่ ้ืนที่ ป่าไม้มากที่สุด เพราะไฟจะไหม้ทาลายรากไม้ ทาให้ต้นไม้ใหญ่น้อยทั้งป่าตายในเวลาต่อมา ยิง่ ไปกวา่ นัน้ ยังเปน็ ไฟทคี่ วบคุมได้ยากทส่ี ุดอีกด้วย ชุดวิชา การเรยี นร้สู ู้ภยั ธรรมชาติ 3 - 83
ไฟใตด้ นิ ยังสามารถแบง่ ออกเป็น 2 ชนิด คอื 1) ไฟใต้ดินสมบูรณ์แบบ คือไฟท่ีไหม้อินทรียวัตถุอยู่ใต้ผิวพ้ืนป่าจริง ๆ ดังน้ันเม่ือ ยืนอยู่บนพื้นป่าจึงไม่สามารถตรวจพบไฟชนิดน้ไี ด้ หากจะตรวจให้ได้ผลต้องใชเ้ คร่ืองมือพิเศษ เช่น เครื่องตรวจจับความร้อน เพื่อตรวจหาไฟชนิดน้ี ตัวอย่างทีเ่ ห็นได้อย่างชัดเจนของไฟใต้ดินสมบูรณ์ แบบ คอื ไฟท่ีไหม้ช้นั ถ่านหินใต้ดิน ลักษณะไฟใต้ดิน 2) ไฟกึง่ ผวิ ดินกึ่งใต้ดิน ไดแ้ ก่ ไฟท่ไี หม้ในแนวระนาบไปตามผิวพ้ืนปา่ เช่นเดียวกับ ไฟผิวดิน ในขณะท่ีอีกส่วนหนึ่งจะไหม้ในแนวด่ิงลึกลงไปในชั้นอินทรียวัตถุใต้ผิวพื้นป่า ซึ่งอาจไหม้ ลึกลงไปได้หลายฟุต ไฟชนิดน้ี สามารถตรวจพบได้โดยง่ายเช่นเดียวกับไฟผิวดินท่ัว ๆ ไป แต่การ ดับไฟจะต้องใช้เทคนิคการดับไฟผิวดินผสมผสานกับเทคนิคการดับไฟใต้ดิน จึงจะสามารถควบคุม ไฟได้ ตัวอย่างของไฟชนิดนี้ ได้แก่ ไฟท่ีไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ ในจังหวัดนราธิวาส ของประเทศไทย ไฟก่งึ ผวิ ดินกง่ึ ใตด้ ิน ในปา่ พรจุ งั หวดั นราธวิ าส ชุดวิชา การเรยี นรสู้ ูภ้ ยั ธรรมชาติ 3 - 84
2.2.2 ไฟผิวดิน เป็นไฟที่ไหม้เช้ือเพลิงบนพื้นดิน ได้แก่ ใบไม้ ก่ิงไม้แห้งที่ตก สะสมอยู่บนพื้นป่า หญ้า ลูกไม้เล็ก ๆ ไม้พื้นล่าง กอไผ่ ไม้พุ่มต่าง ๆ ไฟชนิดนี้ลุกลามอย่างรวดเร็ว ความรนุ แรงของไฟผิวดินจะขึ้นอยู่กับชนดิ และประเภทของเชอื้ เพลงิ ไฟป่าทีเ่ กิดขึน้ ในประเทศไทย สว่ นใหญเ่ ปน็ ไฟผวิ ดนิ ลักษณะของไฟผิวดนิ 2.2.3 ไฟเรือนยอด คือไฟที่ไหม้ลุกลามจากยอดของต้นไม้หรือไม้พุ่มต้นหน่ึงไปยัง ยอดของต้นไม้หรือไม้พุ่มอีกต้นหน่ึง ไฟชนิดน้ีมีอัตราการลุกลามที่รวดเร็วมาก ทั้งนี้เนื่องจากไฟ มีความรุนแรงมากและมีความสูงเปลวไฟประมาณ 10 - 30 เมตร ในบางกรณีไฟอาจมีความสูงถึง 40-50 เมตร ไฟเรอื นยอดโดยทัว่ ไปอาจตอ้ งอาศัยไฟผิวดนิ เป็นสื่อในการลุกไหม้ ไฟเรอื นยอด แบง่ ออกเป็น 2 ชนิดย่อย ไดแ้ ก่ 1) ไฟเรือนยอดที่ต้องอาศยั ไฟผิวดินเป็นสอ่ื คือ ไฟเรือนยอดท่ีต้องอาศัยไฟท่ี ลกุ ลามไปตามผิวดนิ เป็นตัวนาเปลวไฟขึ้นไปสู่เรือนยอดของต้นไม้อื่นที่อยู่ใกล้เคียง ลักษณะของไฟ ชนิดน้ี จะเห็นไฟผวิ ดนิ ลุกลามไปก่อนแล้วตามดว้ ยไฟเรอื นยอด ชุดวชิ า การเรียนร้สู ู้ภยั ธรรมชาติ 3 - 85
ลักษณะไฟเรือนยอดทีพ่ บเหน็ โดยทว่ั ไป 2) ไฟเรือนยอดท่ีไม่ต้องอาศัยไฟผิวดินมักเกิดในป่าท่ีมีต้นไม้ท่ีติดไฟได้ง่าย และมีเรือนยอดแน่นทึบติดต่อกัน การลุกลามจะเป็นไปอย่างรวดเร็วและรุนแรงจากเรือนยอดหน่ึง ไปสู่อีกเรือนยอดหนึ่งที่อยู่ข้างเคียงได้โดยตรง จึงทาให้เกิดการลุกลามไปตามเรือนยอดอย่าง ต่อเน่ือง ในขณะเดียวกันลูกไฟจากเรือนยอดจะตกลงบนพื้นป่าก่อให้เกิดไฟผิวดินไปพร้อม ๆ กนั ดว้ ย 2.3 ผลกระทบท่เี กิดจากไฟป่า ไฟป่าที่เกิดข้ึนในพื้นที่หนึ่งๆไม่เพียงแต่จะก่อความเสียหายแก่พื้นท่ีเท่าน้ันแต่จะส่งผล กระทบต่อสง่ิ แวดล้อมและระบบนเิ วศโดยรวมของโลกหลายด้าน เช่นเปน็ ผลเสียต่อสังคมพชื ผลเสีย ต่อดิน ผลเสียต่อทรัพยากรน้า ผลเสียต่อสัตว์ป่าและส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ ในป่า ผลเสียต่อชีวิตและ ทรพั ย์สินของมนุษย์ และผลเสยี ตอ่ สภาวะอากาศของโลก ซงึ่ ผลเสยี หายดังกล่าว มีดงั น้ี 2.3.1 ผลเสียของไฟป่าต่อสังคมพืช เมื่อมีไฟป่าเกิดขึ้นพื้นที่ใด จะทาให้เกิด การเปล่ียนแปลงด้านโครงสร้างของป่า โดยเฉพาะพื้นที่ป่าท่ีถูกไฟไหม้ซ้าซากเป็นประจาทุกปี จะมีผลทาให้โครงสร้างของป่าเปลี่ยนแปลงไป ต้นไม้จะถูกไฟไหม้ตายหมด พ้ืนที่ป่าจะคงเหลือแต่ พืชที่ปรับตวั ได้ดี เช่น หญา้ คา จนสภาพป่ากลายเป็นทงุ่ หญ้า ชดุ วชิ า การเรียนรู้สูภ้ ยั ธรรมชาติ 3 - 86
2.3.2 ผลเสียของไฟป่าต่อดิน ความร้อนจากการเผาผลาญของไฟป่า ทาให้พื้นดิน เสื่อมความอุดมสมบูรณ์ หน้าดินท่ีเปิดโล่ง ทาให้ดินสูญเสียความช้ืน นอกจากน้ี จุลินทรีย์ท่ีอาศัย อยู่ในดินถูกทาลาย ดินปราศจากแร่ธาตุอาหาร ไม่สามารถที่จะเอื้ออานวยประโยชน์ต่อ การดารงชีพของพืชอีกตอ่ ไป 2.3.3 ผลเสียของไฟป่าต่อทรัพยากรน้า ไฟป่าทาให้เกิดความร้อน น้าที่มีอยู่จะ ละเหยออกไป เมอ่ื ผนื ป่าถูกไฟไหม้ ความสามารถในการดูดซับน้าลดลง เม่ือถงึ ฤดแู ล้งในชั้นดินไม่มี น้าเก็บสะสมอยู่ตามช่องรูพรุนของดิน จึงไม่มีน้าไหลออกมาหล่อเล้ียงลาน้า ทาให้เกิดภาวะ แห้งแล้ง ขาดแคลนน้าเพ่ือการอุปโภคบริโภค และเพ่ือการเกษตร ก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิต ความเปน็ อยขู่ องมนษุ ย์ 2.3.4 ผลเสียของไฟป่าต่อสตั ว์ปา่ และส่งิ มีชีวิตเล็ก ๆ เม่ือเกิดไฟไหม้ป่า สตั ว์เล็ก ที่หากินอยู่บนพื้นป่าจะถูกควันไฟรม และถูกไฟคลอกตาย นอกจากน้ี ไฟป่ายังทาลายและ เปล่ียนแปลงสภาพแหล่งท่ีอยู่อาศัย และแหล่งอาหาร ทาให้ไม่เหมาะสมต่อการดารงชีวิตของสัตว์ ป่าอกี ตอ่ ไป 2.3.5 ผลเสียของไฟป่าต่อชีวิตและทรัพย์สินของมนุษย์ ไฟป่าเมื่อเกิดขึ้นแล้ว ลุกลามเข้าไหม้บ้านเรือน เรือกสวน ไร่นา และทรัพย์สินของประชาชน ท่ีอาศัยอยู่ใกล้ป่า ประชาชนไร้ที่อยู่อาศัย ล้มตายหรือได้รับบาดเจ็บจากไฟป่า ควันไฟยังก่อให้เกิดโรคระบบทางเดิน หายใจ ทาให้ผู้ป่วยเพ่ิมมากขึ้น นอกจากน้ีป่าท่ีเคยเป็นแหล่งท่องเท่ียวท่ีสวยงามก็หมดสภาพลง ส่งผลให้จานวนนักท่องเท่ียวลดลง ทาให้ขาดรายได้จากการท่องเที่ยว เกิดผลกระทบต่อเศรษฐกิจ โดยรวมของประเทศ 2.3.6 ผลเสียของไฟป่าต่อสภาวะอากาศของโลก ไฟป่าก่อให้เกิดสภาวะเรือน กระจก ซ่ึงมีผลทาให้อุณหภูมิของโลกสูงขึ้น และอุณหภูมิที่สูงขึ้น ยังทาให้ระบบนิเวศของโลกเสีย สมดุลตามธรรมชาติ ทาให้เกิดการกอ่ ตวั ของพายุที่มคี วามรนุ แรง ฝนตกไมส่ ม่าเสมอ ไม่ตกตอ้ งตาม ฤดูกาล สร้างความเสียหายต่อการประกอบอาชีพและส่งผลถึงระบบเศรษฐกิจของประเทศตามมา อกี ดว้ ย ชดุ วิชา การเรยี นร้สู ภู้ ยั ธรรมชาติ 3 - 87
2.4 ฤดูกาลเกดิ ไฟปา่ ในประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ ในโลก 2.4.1 ฤดูกาลเกิดไฟป่าในประเทศไทย การเกิดไฟป่ามักจะเกิดช่วงฤดูร้อน เพราะ ในช่วงฤดูร้อนอากาศแห้ง ต้นไม้ขาดน้า หญ้าหรือต้นไม้เล็ก ๆ อาจจะแห้งตายกลายเป็นเชื้อเพลิง ไดเ้ ปน็ อย่างดี การเกิดไฟปา่ ในแตล่ ะภมู ภิ าคของประเทศไทย จะมีดงั น้ี 1) ภาคเหนือ มักเกิดในช่วงระหว่างเดือนเมษายน ถึงเดือนพฤษภาคมของทุกปี 2) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มักจะเกิดในช่วงระหว่างเดือนพฤศจิกายน ถึง เดอื นพฤษภาคมของทกุ ปี 3) ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต้ มักจะเกิดในช่วงระหว่างเดือน มีนาคม ถงึ เดือนพฤษภาคมของทกุ ปี 2.4.2 ฤดกู าลเกดิ ไฟปา่ ประเทศต่าง ๆ ในในโลก ในภูมิภาคเอเชีย ต้นเดือนตุลาคมเป็นหน้าแล้งของประเทศอินโดนีเซีย โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ท่ีเกาะกาลิมันตัน หรอื เกาะบอร์เนียวเหนอื และที่เกาะสุมาตราจะมีไฟป่าเกิดข้ึน ทาให้เกิดหมอกควันอย่างรุนแรงพัดมาปกคลุมเกาะสิงคโปร์และแหลมมลายู เลยมาถึง 4 จังหวัด ภาคใตแ้ ละจังหวดั สงขลา บางทกี ็เลยไปถึงเมอื งไซง่ ่อนของประเทศเวยี ดนาม การเกิดไฟป่าในภูมิภาคอื่นๆของโลก จะเกิดในช่วงเวลาไม่เท่ากัน เช่น ประเทศ แคนาดา สหรฐั อเมรกิ า ออสเตรเลีย ชว่ งเวลาเกดิ ไฟป่า มักเกดิ ในชว่ งเวลา ดงั น้ี 1) ประเทศแคนาดา มักเกดิ ในช่วงระหวา่ งเดอื น พฤษภาคม ของทุกปี 2) ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะท่ีรัฐแคลิฟอร์เนีย มักเกิดในช่วงเดือน มิถนุ ายน-สิงหาคม ของทกุ ปี 3) ประเทศออสเตรเลีย มักเกิดในชว่ งเดอื นพฤษภาคม-มถิ นุ ายนของทกุ ปี ชุดวชิ า การเรยี นรู้ส้ภู ยั ธรรมชาติ 3 - 88
เรื่องที่ 3 สถานการณก์ ารเกดิ ไฟป่า 3.1 สถานการณก์ ารเกดิ ไฟป่าในประเทศไทย ในประเทศไทย แม้จะยังไม่มีการศึกษาถึงประวัติการเกิดไฟป่าอย่างจริงจัง มาก่อน แต่จากการศึกษาประวัติการเจริญเติบโตของต้นไม้ท่ีมีอายุนับร้อยปีโดยการวิเคราะห์วงปี ของต้นไม้ พบหลักฐานว่าได้เกิดไฟป่าข้ึนหลายคร้ังในช่วงชีวิตของต้นไม้นั้น ๆ จึงพอบอกได้ว่า อย่างนอ้ ยท่สี ุดก็มีไฟไหม้ปา่ มาเปน็ เวลานับร้อยปีแลว้ อย่างไรก็ตาม เน่ืองจากในอดีตน้ัน พ้ืนท่ีประเทศไทยยังมีป่าไม้ท่ีอุดมสมบูรณ์ และเป็นป่าประเภทที่มีความชุ่มช้ืนสูง ไฟป่าท่ีเกิดข้ึนจากกิจกรรมของมนุษย์มีไม่บ่อยนัก จึงอยู่ใน วิสยั ทก่ี ลไกของธรรมชาตจิ ะปรบั ตัวเพือ่ รักษาสภาวะสมดลุ ของระบบนเิ วศปา่ ไมเ้ อาไว้ได้ แต่ในช่วง 20-30 ปีท่ีผ่านมา อัตราการเพิ่มของประชากรไทยเป็นไปอย่าง รวดเร็ว ทาให้ความจาเป็นในการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรป่าไม้มีมากขึ้นตามไปด้วย ป่าไม้ถูก แผ้วถางเป็นพื้นท่ีทางการเกษตรกรรม พ้ืนท่ีป่าถูกจัดสรรให้เป็นที่ตั้งและขยายชุมชนต่างๆ ทาให้ พน้ื ท่ีป่าถูกทาลายลงเป็นอันมาก ผืนป่าที่เหลืออยู่ก็อยู่ในสภาพเส่อื มโทรมและเปลยี่ นแปลงไปสู่ป่า ประเภทที่มคี วามชุ่มชื้นน้อยลง เช่น ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าละเมาะและป่าหญ้า ซึ่งเป็นป่าที่ เกิดไฟป่าได้ง่าย ประกอบกับความยากจนของผู้คนในชนบทบีบบังคับให้ประชาชนต้องอาศัยป่า เพื่อการยังชีพมากข้ึน ไม่ว่าจะด้วยการเก็บหาของป่า ล่าสัตว์ บุกรุกป่าเพื่อทาการเกษตร กิจกรรม เหลา่ นี้ลว้ นตอ้ งใช้ไฟและเป็นสาเหตุใหเ้ กิดไฟปา่ ทั้งสน้ิ ไฟปา่ บริเวณทางหลวงแผน่ ดินหมายเลข 108 ในเขตพืน้ ทีจ่ ังหวัดแมฮ่ ่องสอน เมือ่ เดอื นมนี าคม 2553มีสาเหตุจากชาวบ้านจดุ ไฟเผากระตุ้นการเจรญิ เติบโตของเหด็ เผาะ และกล็ ุกลามเป็นไฟป่า ชดุ วชิ า การเรยี นรสู้ ูภ้ ยั ธรรมชาติ 3 - 89
ด้วยเหตุนี้ ไฟป่าจากการประกอบกิจกรรมของประชาชน จึงมีความถ่ีและความรุนแรง มากเกินกว่าที่กลไกธรรมชาติจะปรับตัวเพ่ือรักษาสมดุลของระบบนเิ วศป่าไม้เอาไว้ได้ ไฟป่าจึงเป็น ปัจจัยท่ีสร้างความเสียหายอย่างร้ายแรงต่อทรัพยากรป่าไม้และส่ิงแวดล้อม ส่งผลให้ไฟป่า กลายเปน็ ปญั หาสาคญั ระดับชาติ ที่ทุกฝา่ ยตระหนักและหว่ งใยอยูใ่ นขณะนี้ ปัจจุบัน จากการสารวจพนื้ ท่ีไฟไหมป้ ่า เปรียบเทียบการเกิดไฟไหม้ป่าในช่วงเวลาเดียวกัน ระหวา่ งปี พ.ศ. 2557 - 2558 พบว่า ภาคเหนือมีพืน้ ทีป่ ่าทถ่ี ูกไฟไหม้มากทส่ี ุด ตารางเปรยี บเทียบการเกิดไฟไหม้ปา่ ระหวา่ งปี พ.ศ. 2558 - 2559 (1 ต.ค. 57 – 29 มิ.ย.58) (1 ต.ค.58 - 29 มิ.ย. 59) พน้ื ที่ ดบั ไฟป่า พื้นที่ถูกไฟไหม้ ดับไฟปา่ พื้นที่ถูกไฟไหม(้ ไร่) (ครัง้ ) (ไร่) (คร้งั ) 1. ภาคเหนอื 3,444 35,862.14 4,536 70,397.29 2. ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 1,077 14,848.57 1,560 26,702.58 3. ภาคกลางและภาคตะวนั ออก 392 7,137 530 11,100.13 4. ภาคใต้ 56 1,951.14 113 10,126.50 รวม 4,969 59,798.85 6,739 118,326.50 หมายเหต:ุ ขอ้ มูลจาก สว่ นควบคมุ ไฟป่า กรมอุทยานแห่งชาติ สตั วป์ า่ และพันธุ์พืช (http://www.dnp.go.th/forestfire/2546/firestatistic%20Th.htm) 3.2 สถานการณ์การเกดิ ไฟป่าของโลก บนพื้นผิวโลกเกือบทุกทวีป ต่างเคยประสบกับปัญหาการเกิดไฟป่ามาแทบทั้งส้ินการเกิด ไฟป่ามีความรุนแรงมากหรือน้อยแตกต่างกันไป แม้แต่ประเทศที่มีความเจริญทางเทคโนโลยีก็ไม่ อาจหลีกเล่ียงการเกิดไฟป่าได้ เช่น อินโดนีเซีย มาเลเซีย แคนาดา อเมริกา และออสเตรเลีย เป็นตน้ ไฟไหม้ปา่ ท่ีอนิ โดนีเซีย การเกิดเหตุไฟไหม้ป่าบนเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ไม่เพียงก่อให้เกิดความ เดือดร้อนเฉพาะในประเทศอินโดนเี ซียเทา่ น้ัน แตก่ ลุ่มควนั สดี าท่ีหนาทึบถกู ลมพัดพาเข้าสู่ประเทศ เพอื่ นบ้านใกลเ้ คยี ง เช่น มาเลเซีย สงิ คโปร์ รวมถงึ ทางภาคใต้ของประเทศไทยดว้ ย ชดุ วิชา การเรียนร้สู ู้ภยั ธรรมชาติ 3 - 90
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245