Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (Measurement, Analysis and Knowledge Management)

หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (Measurement, Analysis and Knowledge Management)

Published by แดนกุงสาร, 2019-09-14 10:09:01

Description: หมวด 4 หมวด4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (Measurement, Analysis and Knowledge Management) หนองพอกวิทยาลัยOBECQA

Search

Read the Text Version

หมวด 4 การวัด การวเิ คราะห์ และการจัดการความรู้ (Measurement, Analysis and Knowledge Management)and Stakeholder) | 1 โรงเรียนหนองพอกวทิ ยาลัย สพม. 27

หมวด 4 การวดั การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (Measurement, Analysis and Knowledge Management)and Stakeholder) | 2 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (Measurement, Analysis and Knowledge Management) โรงเรียนหนองพอกวิทยาลัย ได้กาหนดกรอบแนวคิดในการดาเนินการเพื่อบรรลุเป้าหมายของ โรงเรยี น ภายใตโ้ ครงสร้างการบริหารงาน ดงั รายละเอียดท่ปี รากฏในหมวด 6.1 และ หมวด 6.2 ซงึ่ สอดคลอ้ ง กับแผนกลยุทธ์โรงเรียนตามทอ่ี ธิบายไว้ในหมวด 2.1 และหมวด 2.2 โรงเรียนได้ปฏิบัติการตามแผนกลยุทธ์ ที่กาหนดไว้ในแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (การปฏิบัติการในปีการศึกษา 2558 ใช้แผนพัฒนา การจัดการศึกษา พ.ศ. 2555 - พ.ศ. 2558 และการปฏิบัติการในปีการศึกษา 2559-2560 ใช้แผนพัฒนา การจัดการศึกษา พ.ศ. 2559-2562) ภายใต้โครงสร้างการบริหารงานนาสู่การปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการ ประจาปี ซึง่ แสดงความสมั พันธ์ดงั ภาพประกอบ 4-1 / / PLC / PHOKWIT-Model Hardware Software Information Data ภาพประกอบ 4-1 แผนภูมิความสมั พนั ธ์ของระบบงานตามโครงสร้างการบริหารงานและแผนกลยุทธ์ 4.1 การวดั การวิเคราะหแ์ ละการปรับปรงุ ผลการดาเนินการของโรงเรียน ก. การวัดผลการดาเนนิ การ (PERFORMANCE MEASUREMENT) (1) ตัววัดผลการดาเนินการ (PERFORMANCE MEASURE) จากภาพประกอบ 4-1 ความสัมพันธ์ของระบบงานตามโครงสร้างการบริหารงานและแผน กลยุทธ์ และภาพประกอบ 2-1 วงจรการวางแผนกลยทุ ธ์ของโรงเรียน แสดงให้เห็นถึงข้ันตอนของการจัดทา โรงเรยี นหนองพอกวิทยาลยั สพม. 27

หมวด 4 การวดั การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (Measurement, Analysis and Knowledge Management)and Stakeholder) | 3 แผนพฒั นาการจดั การศึกษาโรงเรียนหนองพอกวิทยาลัย ระยะ 4 ปี ซึง่ กาหนดใหม้ กี ารประเมนิ ผล การ ปฏิบตั ิงานตามมาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรียน 15 มาตรฐาน ตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์และ วิธีการประกันคุณภาพการศึกษาพ.ศ.2533 เพื่อใช้เป็นวัตถุประสงค์ที่สาคัญ ในการกาหนดตัวช้ีวัด ค่า เป้าหมาย และกลยุทธ์ในการดาเนินการ เพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ท่ีสาคัญ ทาให้เกิดความมั่นใจในการใช้ ตัวชี้วดั ไปสู่การปฏิบัติ โรงเรียนมีระบบของการดาเนนิ การ ดังนี้ 3. 2. 1. 4. 8. 5. / 6. 7. PLC ภาพประกอบ 4-2 แผนภูมิระบบการกาหนดตัวชีว้ ัดความสาเร็จตามมาตรฐานการจดั การศกึ ษา จากภาพประกอบ 4-2 แสดงระบบการกาหนดตัวชีว้ ัดความสาเร็จตามมาตรฐาน การ จดั การศึกษาของโรงเรียนดงั ข้อมูลทแ่ี สดงในตาราง 2-1 มขี ั้นตอนดังนี้ 1) ศึกษามาตรฐานการจัดการศึกษาของโรงเรียนที่ได้ประกาศไว้ในแต่ละปี 15 มาตรฐาน ซ่ึงมาตรฐานดังกล่าวได้กาหนดค่าเป้าหมายที่อ้างอิงจากการประเมินผลการปฏิบัติการ และการวิเคราะห์ SWOT รวมไปถึงมาตรฐานการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานที่ประกาศโดยสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขนั้ พ้ืนฐาน มาตรฐานการจัดการศึกษาท่ีใช้ประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานของสานักงานรับรอง และประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา(องค์การมหาชน) เพื่อใช้ประเมินคุณภาพภายนอกในระบบประกัน คณุ ภาพการศึกษา โดยคานงึ ถึง พนั ธกิจ เปา้ ประสงค์ ความท้าทายและความได้เปรยี บเชงิ กลยทุ ธ์ ขอ้ รอ้ งเรียนของนักเรียนและผู้มสี ่วนได้สว่ นเสีย ผู้ส่งมอบ พันธมติ ร และผู้ใหค้ วามร่วมมอื ตลอดจนขอ้ มลู ด้านครู และบุคลากรทางการศึกษา รวมทั้งระบบการกากับติดตาม และระบบการวัดผลการดาเนินการเพ่ือให้การ กาหนดมาตรฐานของโรงเรียนครอบคลุมวัตถุประสงค์สาคัญทโี่ รงเรียนต้องดาเนินการเพื่อบรรลุมาตรฐานการ จัดการศึกษาทีก่ าหนดไว้ 2) การวิเคราะห์พฤติกรรมตัวบ่งช้ีความสาเร็จเพื่อใช้ในการตรวจสอบผลการดาเนินการ มีกระบวนการ ท่สี าคญั ดังนี้ 1. พิจารณาตวั วดั ผลการดาเนินการที่ผา่ นมาว่าตัวช้วี ัดใดยังมีความเหมาะสม และ ตัวช้ีวัดใดควรยกเลิกเนื่องจากดาเนินการบรรลุผล หรือไม่สะท้อนผลสาเร็จตามแผนปฏิบัติการ 2. พิจารณาตัววัดผลการดาเนินการเพม่ิ เติมในแผนยุทธศาสตร์ภารกจิ หลกั และนโยบายเร่งดว่ นของกระทรวง 3. พจิ ารณาตัววัดผลการดาเนินการและจานวนตัววัดผลการดาเนินการที่เหมาะสมโดยใช้หลัก SMART คือ พจิ ารณาวา่ มีความเจาะจงตอ้ งการวัดอะไร (Specific) และผลลัพธ์ที่ตอ้ งการคืออะไรโดยต้องกาหนดวธิ ีการวัด โรงเรยี นหนองพอกวิทยาลัย สพม. 27

หมวด 4 การวดั การวเิ คราะห์ และการจดั การความรู้ (Measurement, Analysis and Knowledge Management)and Stakeholder) | 4 ได้ (Measurable) ท้ังเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพโดยไม่เป็นภาระงานมากเกินไป และแต่ละฝ่ายเห็นชอบ ร่วมกันว่าสามารถบรรลุได้ (Achievement) ขณะเดียวกันต้อง ท้าทายแต่มีโอกาสเป็นไปได้ (Realistic) โดย มีกรอบเวลาในการทางานท่ชี ัดเจนเหมาะสม (Time Bound) 3) การกาหนดตัวช้ีวดั หลกั โดยจดั กลมุ่ และจดั ลาดับความสาคัญของตวั วดั จาแนกเปน็ 4 ดา้ น ตามกลยทุ ธ์การพฒั นาการศึกษาของโรงเรียน ประกอบดว้ ย ด้านผู้เรยี น ด้านการบรกิ ารทางการศึกษา ดา้ นครู และบุคลากร และด้านการบริหารจัดการ จากนั้นทาการคัดเลือกตัวช้ีวัดท่ีสาคัญ ที่ส่งผลต่อความสาเร็จของ ตัวชวี้ ดั อนื่ ๆ ซ่งึ ถอื เป็นตัวช้ีวัดหลกั ของโรงเรียน 4) การประเมินตัวชี้วัดโดยเปรียบเทียบเกณฑ์สัมบูรณ์เพ่ือใช้วัดว่าโครงการ/กิจกรรมน้ัน สามารถทาได้สมบูรณ์ครบถ้วนหรือไม่ เปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานกลาง เพื่อใช้วัดว่าโครงการ/กิจกรรมน้ัน สามารถทาได้ใกลเ้ คียงปริมาณความตอ้ งการท่กี าหนด 5) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้/ PLC เป็นวิธีเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการจัดให้บุคลากรใน องคก์ รมีโอกาสได้รว่ มกันอภิปราย พูดคุยกันซ่ึงประกอบด้วย ฝ่ายบริหาร หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน หัวหน้างาน และหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ มุ่งประเด็นการสนทนาไปยังเร่ืองตัววัดผลการดาเนินการ โดยพิจารณาว่า ตัวชี้วดั เหล่านั้นเหมาะสมหรืออิงกับสภาพขอ้ เท็จจริงของโรงเรียนหรือไม่ กลุ่มงานและโครงการ/กิจกรรมตาม แผนปฏบิ ัติการท่ีได้รับจดั สรรงบประมาณเพื่อใหส้ ามารถดาเนินการต่อไปได้หรอื ไม่ จงึ ถือเป็นข้ันตอนที่ทบทวน กล่นั กรอง 6) การปรับตวั ชี้วัด ตามความเหมาะสม 7) เสนอขออนมุ ตั จิ ากฝา่ ยบริหาร 8) ประกาศใช้เพอื่ นาตวั วัดผลการดาเนนิ การทไี่ ด้ไปกาหนดคา่ เป้าหมาย (2) ข้อมลู เชิงเปรียบเทียบ (Comparative Data) โรงเรียนเลือกใช้ข้อมูลสารสนเทศเชิงเปรียบเทียบเพ่ือสนับสนุนการตัดสินใจในระดับ ปฏิบัติการ ระดับกลยุทธ์ มุ่งสู่ความเป็นเลิศ โดยแต่งต้งั คณะกรรมการคัดเลือกประเด็นเชิงเปรียบเทียบ เพ่ือ กาหนดกลยุทธ์ที่สาคัญตามแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา และเลือกประเด็นท่ีจะเปรียบเทียบกับ โรงเรียนคู่เทียบ คือโรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา โดยนาผลการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาข้ัน พื้นฐาน รอบ 3 จากสานักงานประเมินและรับรองคุณภาพการศึกษา องค์กรมหาชน (สมศ.) ซึ่งโรงเรียนมี คะแนนรวมมากกว่าโรงเรียนคเู่ ทยี บ ดงั ขอ้ มูลที่ปรากฏในหมวด 7 ภาพประกอบ 7-7 มาเป็นขอ้ มูล ใน การกาหนดวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ท่สี าคญั ดังนี้ 1) ร้อยละของผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนที่มีผลการเรียนระดับดีข้ึนไป โรงเรียนตงั้ คา่ เป้าหมายเพื่อพัฒนาไว้ในปี 2558 -2560 ไว้ทรี่ อ้ ยละ 65, 67 และ 70 ตามลาดับ ซึ่งผลจากการ พัฒนาเปน็ ไปตามค่าเปา้ หมายดังแสดงไว้ในหมวด 7 ภาพประกอบ 7-5 2) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขน้ั พน้ื ฐาน (O-NET) ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษา ปีที่ 3 และระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 6 ที่สงู ข้ึนในแต่ละปี โรงเรียนต้ังค่าเป้าหมายร้อยละ 5 ผลจากการพัฒนา โรงเรยี นหนองพอกวทิ ยาลัย สพม. 27

หมวด 4 การวดั การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (Measurement, Analysis and Knowledge Management)and Stakeholder) | 5 พบว่าในระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้นเป็นไปตามค่าเป้าหมายในปี2558 และ ปี2559 ดังแสดงไว้ในหมวด 7 ภาพประกอบ 7-9 3) ร้อยละของผเู้ รียนที่จบหลักสูตร โรงเรียนตั้งค่าเป้าหมายเพ่ือพัฒนาไว้ในปี 2558 - 2560 ไว้ที่ร้อยละ 72, 75 และ 78 ตามลาดับ ซึ่งผลการพัฒนาเป็นไปตามเป้าหมายที่ต้ังไว้ในปี 2559 และ ปี 2560 ดงั แสดงไว้ในหมวด 7 ภาพประกอบ 7-6 จากการปฏิบัติการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา โดยใช้ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ ทาใหเ้ หน็ แนวโน้มของโรงเรียนในทิศทางที่ดีขน้ึ ดงั เห็นได้จากผลการแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับ เขตพ้ืนท่ีการศึกษา โดยเทียบจากรางวัลเหรียญทอง ดังข้อมูลที่ปรากฏในหมวด 7 ภาพประกอบ 7-11 และ ภาพประกอบ 7-12 จะเหน็ วา่ โรงเรียนมีแนวทีส่ ูงกวา่ โรงเรยี นคูเ่ ทยี บ 3 กล่มุ กิจกรรม คือ นาฏศลิ ป์ การ งานอาชีพ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนซึ่งสอดคล้องกับการออกแบบหลักสูตร ดังที่ปรากฏในหมวด 6.1 ซ่ึง ได้มาจากการรบั ฟังเสยี งของนกั เรยี นและผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสียในหมวด 3.1 (3) ข้อมูลนกั เรยี นและผูม้ สี ว่ นได้ส่วนเสีย (STUDENT and STAKEHOLDER Data) โรงเรียนทบทวนวัตถุประสงค์สาคัญ ตัวช้ีวัดความสาเร็จ ค่าเป้าหมาย และกลยุทธ์ที่ใช้ ดาเนินการเพื่อสร้างนวัตกรรม โดยให้ความสาคัญกับข้อมูลที่ได้จากการรบั ฟงั เสียงของนักเรียนและผู้มีสว่ นได้ ส่วนเสียทั้งนักเรียนปัจจุบัน และความต้องการของนักเรียนในอนาคตที่จะเข้ามาเรียนในโรงเรียน รวมถึง วิเคราะห์ความพร้อมในการสนับสนุนของผู้ส่งมอบ พันธมิตร ผู้ให้ความร่วมมือ คณะครูและบุคลากร เช่นการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาท้ังก่อนการใช้ ระหว่างใช้ และหลังการใช้หลักสูตร ประเมินโครงการ กจิ กรรมที่สนับสนุนการเรียนรู้ตามหลกั สูตร นาไปสู่การปรับปรงุ แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี และการบริหารงาน ในโรงเรียน โดยนาข้อมลู มาวิเคราะห์ สรุปข้อคิดเหน็ ประเด็นต่าง ๆ มาประชุมแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ และกาหนด วธิ ีการพัฒนางานหรอื วิธีการแก้ปัญหา สนองต่อความคาดหวังของนักเรียนและผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสียดังท่ีปรากฏ ในหมวด 3.1 และสอดคลอ้ งเปน็ ไปตามวิสัยทัศน์ พนั ธกิจ และคา่ นยิ มดงั ปรากฏในหมวด 1.1 (4) ความคลอ่ งตัวของการวัดผล (Measurement Agility) โรงเรียนจัดทาระบบการกากับดูแลองค์กรและประเมินผลการดาเนินการ เพื่อให้เกิดความ คลอ่ งตัวในการวัดผล ดงั ปรากฏในหมวด 1.2 มีนโยบายในการทบทวนตวั ชวี้ ดั ผลการดาเนินงานทุกปี ท้ังดา้ น มาตรฐานการศึกษา และด้านกลยุทธ์ กากับดูแลตามโครงสร้างการบริหารงาน และระดับการปฏิบัติการ ตามแผนกลยทุ ธ์ เพอื่ ใหเ้ กดิ ความคล่องตวั ฝา่ ยบรหิ ารกากบั ติดตามโดยนาหลกั ธรรมาภบิ าลเข้ามาใช้ มี การทบทวนการดาเนินงานตามมาตรฐานปีละ 2 คร้ัง โดยภาคเรยี นท่ี 1 ตดิ ตามตรวจสอบความกา้ วหนา้ การ จัดการศึกษา ภาคเรยี นที่ 2 ประเมนิ คุณภาพการศึกษา โดยเพิ่มตวั ชี้วดั มาตรฐานการศึกษา โครงการรเิ รม่ิ เพ่ือ สนองตอบความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียดังปรากฏในหมวด 3.1 และรายงานผลการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาประจาปีของสถานศึกษา (SAR) สรุปเป็นข้อมูลสารสนเทศที่โรงเรียนสามารถนาไปใช้พัฒนาระบบ การบรหิ ารจัดการตอ่ ไป โรงเรยี นหนองพอกวทิ ยาลัย สพม. 27

หมวด 4 การวัด การวเิ คราะห์ และการจัดการความรู้ (Measurement, Analysis and Knowledge Management)and Stakeholder) | 6 ข. การวเิ คราะหแ์ ละทบทวนผลการดาเนินการ (PERFOMANCE ANALYSIS and Review) โรงเรียนทบทวนผลการดาเนนิ การและขีดความสามารถของโรงเรยี น โดยใชต้ ัววัดผลการดาเนนิ การ ท่ีสาคัญของโรงเรียนในการทบทวน ดังน้ี 1) ศึกษาความต้องการของสถานศึกษา และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในการกาหนดทิศทางของการจัดการศึกษา โดยวิเคราะห์จากสภาพปัญหาท่ีพบในปีการศึกษาท่ีผ่านมา 2) จัดระบบข้อมูลเพ่ือใช้ในการบริหารจัดการในระดับข้อมูลสารสนเทศ โดยอาศัยแนวคิดการจัดการองค์กร เพือ่ ใหโ้ ครงสรา้ งการบริหารงานรองรบั กบั แผนงานท่กี าหนดไว้ ทาใหท้ ุกฝา่ ยเข้าใจรว่ มกัน ชว่ ยลดความซ้าซ้อน ของภาระงาน ผู้บริหารมีส่วนช่วยสนับสนุน เปิดโอกาสในการสะท้อนผลการปฏิบัติตามแผนกลยุทธ์ และแผนปฏบิ ัตกิ าร 3) สนับสนนุ เครือข่ายเพือ่ การพฒั นาองคก์ รไปสู่องค์กรแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ ให้ ประสบผลสาเร็จ ประกอบดว้ ย ระยะเวลาท่เี หมาะสม บคุ คลทมี่ ีคณุ ภาพ ทรัพยากรท่ีพร้อมเพรยี ง โดย มเี ป้าหมาย ข้อตกลงไปในทิศทางเดียวกนั ตามพนั ธกจิ วิสัยทัศน์และคา่ นยิ ม ดังปรากฏในหมวด 1.1 ค. การปรบั ปรงุ ผลการดาเนนิ การ (PERFORMANCE Improvement) โรงเรียนหนองพอกวิทยาลัยได้นา PHOKWIT- Model มาใช้ในการกากับดูแลการปฏิบัติการตาม โครงสร้างการบริหาร และกจิ กรรม/โครงการภายใตก้ ลยุทธ์ ดังแสดงไว้ในหมวด 2.1, 2.2 และหมวด 6.1 (1) การแลกเปล่ยี นเรยี นร้แู ละวิธีปฏิบตั ทิ ่ีเป็นเลศิ (Best Practices) เมื่อทบทวนผลการดาเนนิ การของงานต่างๆ ตามโครงสร้างการบริหารงาน โครงการ/กิจกรรม ภายใต้กลยุทธ์แล้ว ฝ่ายบริหารงาน/กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้สร้างองค์ความรู้ดังปรากฏในหมวด 4.2 ก.(1) ซ่งึ เป็นวิธีการในการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้วธิ ีการปฏิบัตทิ ี่เป็นเลิศของแต่ละฝ่ายบริหารงาน/กลุ่มสาระการเรียนรู้ ผ่านกระบวนการนิเทศภายในสถานศึกษา และใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ในการสร้างองค์ความรู้ (Knowledge Management) จากการปฏิบัติการของทุกฝ่าย งานและกลุ่มสาระการเรยี นรู้ เพื่อปรับปรุงผลการดาเนินงานตามบริบทของโรงเรียนไปส่กู ารปฏิบัตทิ ่ีเปน็ เลิศ และมกี ารแลกเปล่ียนเรียนรู้ซ่ึงกนั และกันโดยผ่านกระบวนการต่าง ๆ ได้แก่ การนาเสนอต่อทีป่ ระชุมกลมุ่ ใหญ่ และกลุ่มย่อย การจัดนิทรรศการแสดงผลงาน การเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์โรงเรียน เผยแพร่ในวารสารโรงเรียน ทาเอกสาร/แผ่นพบั เผยแพรใ่ หก้ บั ผู้ท่ีสนใจตอ่ ไป (2) ผลการดาเนนิ การในอนาคต (Future PERFORMANCE) โรงเรียนใช้กระบวนการทบทวนผลการดาเนินการและนาผลการดาเนินการในรอบปีท่ีผ่านมาใช้ เป็นขอ้ มูลพ้ืนฐานประกอบการพิจารณา เพ่ือกาหนดเป้าหมายเชิงเปรียบเทียบ ตามวิธกี ารที่กล่าวไว้ในหมวด 2.1 ข. เพอื่ คาดการณ์ผลการดาเนินการในอนาคตตอ่ ไป (3) การปรบั ปรุงอยา่ งตอ่ เนอ่ื งและนวตั กรรม (Continuous Improvement and INNOVATION) โรงเรยี นใชผ้ ลการทบทวนผลการดาเนินการตามหมวด 4.1 ข. แล้วนาผลการทบทวนเหลา่ นน้ั ไป จัดลาดับความสาคัญ นาไปวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงการวางแผนกลยุทธ์ ซ่ึงเกิดการพัฒนาอย่างต่อเน่ืองจน กลายเป็นนวตั กรรมของโรงเรียน และถา่ ยทอดสู่หนว่ ยงานตามโครงสรา้ งการบริหารงาน สผู่ ูส้ ่งมอบ พันธมิตร และผู้ให้ความร่วมมือของโรงเรียน นาสู่การปฏิบัติด้วยวิธีการสร้างองค์ความรู้ และจดั ระบบสารสนเทศที่ง่าย ต่อการเข้าถงึ และพร้อมใชง้ านแมอ้ ยู่ในสภาวะฉกุ เฉิน ดังแสดงในหมวด 4.2 โรงเรียนหนองพอกวทิ ยาลยั สพม. 27

หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (Measurement, Analysis and Knowledge Management)and Stakeholder) | 7 4.2 การจัดการความรู้ สารสนเทศ และเทคโนโลยสี ารสนเทศ (Knowledge Management, Information and Information Technology) ก. ความรขู้ ององคก์ ร (Organization Knowledge) (1) การจัดการความรู้ (Knowledge Management) โรงเรียนมีวิธีจัดการความรู้ เพ่ือบรรลุผลตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยมดังต่อไปนี้ คือแต่งต้ังผู้รับผิดชอบในการพัฒนาบุคลากร การนิเทศติดตาม การรายงานรวบรวมและถ่ายทอดองค์ความรู้ ของบคุ ลากร จัดทาสมุดบันทกึ ไปราชการ การอบรมสัมมนา การประชมุ ปฏิบัติการของครู โดยจาแนกตามกลุ่ม สาระการเรยี นรู้ แลว้ สรปุ เป็นสารสนเทศของโรงเรยี นไว้อย่างเปน็ ระบบท้ังที่เป็นเอกสารเผยแพร่ และเป็นไฟล์ บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซ่ึงครูและบุคลากรจะนาองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์จากการไปราชการเสนอต่อ ผู้บริหารเพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน กระตุ้นให้ครูและบุคลากรตระหนักถึงข้ันตอนการคิดค้นกระบวนการ จัดเตรียมเคร่ืองมือ การฝึกอบรม การถา่ ยทอดความรู้ ตามกระบวนการ KM จากนน้ั รวบรวมความรู้และนาไป ถา่ ยทอด แบ่งปันองคค์ วามรู้ โดยมีการนเิ ทศกากับติดตามและประเมินผลกระบวนการจดั การองคค์ วามรู้เพื่อ นากลับไปปรับปรุงการดาเนินงานในครั้งต่อไปให้มีประสิทธิภาพ ข้อมูลมีความถูกต้องเป็นปัจจุบันทันต่อ การเปล่ียนแปลง สามารถพัฒนาเป็นนวัตกรรมนาสู่วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศเพ่ือเป็นแนวทางการปฏิบัติการ โรงเรยี นได้ผสานและหาความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งขอ้ มลู จากแหลง่ ต่างๆ เพอ่ื สร้างองค์ความรู้โดยมขี ั้นตอนดังนี้ 1. 2. 3. 1. 2. / 7. KM - 6. 3. (Best 5. 4. - - Practice 6. 5. 4. ภาพประกอบ 4-3 แผนภูมิการจดั การระบบองค์ความรู้ (2) การเรียนร้รู ะดับองคก์ ร (Organization LEARNING) โรงเรียนให้ความสาคัญกับการเรียนรู้ระดับองค์กรของบุคลากร ศึกษาและวิเคราะห์บริบท ของสถานศึกษา (SWOT Analysis) ในการวางแผนกลยุทธ์ และการบริหารความเส่ียงมีการทบทวนจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค เพ่ือนามาวางแผนกลยุทธ์ในองค์กร มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตามมาตรฐาน การศึกษาของระบบประกันคุณภาพเป็นแนวทางการดาเนินงานให้บรรลุเป้าหมายเพ่ือพัฒนางานด้วย PHOKWIT Model เกิดการเรยี นรู้สร้างสรรค์และพัฒนางานได้อย่างตอ่ เน่ืองและมีความย่ังยนื เพ่ือให้เกดิ การ เรียนรู้ฝงั ลกึ ลงไปในวถิ ีการปฏิบตั ิงานของโรงเรียน มีวิธีการดาเนินการดังภาพประกอบ 4-4 โรงเรยี นหนองพอกวิทยาลัย สพม. 27

หมวด 4 การวดั การวเิ คราะห์ และการจัดการความรู้ (Measurement, Analysis and Knowledge Management)and Stakeholder) | 8 / / ภาพประกอบ 4-4 แผนภูมิการเรยี นรรู้ ะดบั องค์กร ข. ข้อมูล สารสนเทศ และเทคโนโลยสี ารสนเทศ (Data, Information and Information Technology) โรงเรียนหนองพอกวิทยาลัย ใช้ระบบสารสนเทศในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยมีการวิเคราะห์ ระบบสารสนเทศ เพื่อกาหนดขอบเขตของงานสารสนเทศ เนน้ ความถูกตอ้ งและเป็นปัจจุบันหากพบว่าข้อมูล ไม่ครบถ้วนจะปรับปรุง พัฒนาเครื่องมือเพื่อให้ได้ข้อมูลสารสนเทศที่ถูกต้องจากนั้นจะวิเคราะห์ข้อมูล ตรวจสอบคุณภาพของข้อมูล นามาทาสารสนเทศเพ่ือใช้ในการออกแบบหลักสูตรและพัฒนาการจัดการเรียน การสอน กระบวนการจัดการข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศโดยมีขั้นตอนการดาเนินการดัง ภาพประกอบ 4-5 - - - - - - - - ภาพประกอบ 4-5 แผนภมู ิการจดั การข้อมูล สารสนเทศและเทคโนโลยี โรงเรยี นหนองพอกวิทยาลัย สพม. 27

หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (Measurement, Analysis and Knowledge Management)and Stakeholder) | 9 (1) คุณภาพของขอ้ มูลและสารสนเทศ (Data and Information Quality) โรงเรียนมีกระบวนการจัดการข้อมูลสารสนเทศ และองค์ความรู้ให้มีความถูกต้อง น่าเชื่อถือและทันสมัย มีความปลอดภัย โดยนาเทคโนโลยีเข้ามาช่วยจัดเก็บข้อมูล เช่นความต้องการของ นักเรียนต่อหลักสูตรและแผนการเรียน ความพึงพอใจในการจัดการเรยี นการสอน การประเมินโครงการเสริม หลักสูตร ท้ังน้ีเทคโนโลยีท่ีนามาใช้จะมีการวิเคราะห์และเลือกที่เหมาะสมกับลักษณะฐานข้อมูลและข้อจากัด ในการเข้าถึงข้อมูล ซึ่งนักเรียนและผู้มีส่วนได้เสียส่วนเสีย มีความพึงพอใจต่อคุณภาพของข้อมูลและ สารสนเทศ ดงั ข้อมลู ทปี่ รากฏในหมวด 7 ภาพประกอบ 7-13 โดยมขี ้นั ตอนการดาเนินงานดงั นี้ 1.) วางแผนการดาเนินการ แต่งตั้งผู้ดูแลและรับผิดชอบสารสนเทศโรงเรียน ประกอบด้วยครหู รอื เจ้าหนา้ ท่ผี ู้รับผดิ ชอบจากทกุ กล่มุ บรหิ ารงาน กล่มุ สาระการเรียนรู้ 2.) ดาเนินการรวบรวมข้อมูลโดยเจ้าหน้าที่แต่ละฝ่ายงานมีหน้าท่ีจัดเก็บตามหลัก วิชาการ เช่น งานหลักสูตร งานแผนงาน ข้อมูลบุคลากร มีบุคลากรท่ีรับผิดชอบดูแล อีกทั้งยังมีหัวหน้าฝ่าย หรือผทู้ รงคุณวฒุ ิในเร่ืองที่เก่ียวข้องมาตรวจสอบความถูกต้อง เมื่อมีข้อสงสัยหรือความผิดพลาดเกิดขึ้นข้อมูล จะถูกนามาวัด วเิ คราะห์ และปรับปรุงข้อมลู สารสนเทศให้ถกู ตอ้ ง 3.) เมื่อได้ข้อมูลท่ีผ่านการตรวจสอบแล้วเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบจะรวบรวมวิเคราะห์ ข้อมูลจัดเกบ็ เปน็ หมวดหมู่ เพ่ือใหอ้ ยู่ในรูปแบบที่งา่ ยและสะดวกตอ่ การนาไปใชง้ านและนาเสนอ 4.) จัดเก็บข้อมูลในรูปแบบต่างๆ เช่น การจัดทาเป็นรูปเล่มรายงาน วารสารโรงเรียน คู่มอื นักเรยี น จดั เกบ็ ในฐานขอ้ มูลคอมพิวเตอร์ของโรงเรียน 5.) จัดทาระบบการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ พร้อมใช้งานผ่านเว็บไซต์โรงเรียน (www.phokwit.ac.th) เพ่ือความสะดวกในการจัดเก็บและสืบค้นสารสนเทศอย่างถูกต้อง แม่นยา รวดเร็ว ตรงตามความตอ้ งการ 6.) เผยแพร่สารสนเทศใหค้ รูและบคุ ลากร นักเรยี นและผู้มีส่วนได้ส่วนเสยี โดยสามารถ เชื่อมต่อเครือข่ายได้ตลอดเวลา ทั้งนี้ให้บริการเช่ือมต่อเครือข่ายระบบ Lan และระบบ Wi-Fi สามารถใช้ บริการเขา้ ถึงข้อมูลอย่างรวดเรว็ โดยมีการจัดระเบียบผใู้ ช้บริการผ่านระบบเครือข่าย โดยมี User name และ password ในการเข้าใช้ เพ่ือสามารถตรวจสอบคุณสมบัติของผู้ใช้งานและสร้างความปลอดภัยให้กับระบบ เครือข่ายในโรงเรียน โดยมีเจ้าหน้าท่ีฝ่าย ICT โรงเรียนเป็นผู้จัดการข้อมูลการเข้าใช้งานอย่างเป็นระบบ มีการวางแผนตดิ ตามตรวจสอบและปรบั ปรุงแก้ไข (2) ความปลอดภัยของข้อมลู และสารสนเทศ (Data and Information Security) โรงเรยี นดาเนินการด้านความปลอดภัยของข้อมลู สารสนเทศ ทง้ั ด้านการรักษาฐานข้อมูล ทั่วไป ข้อมูลสาคัญ และข้อมูลเฉพาะบุคคล เพื่อมิให้บุคคลอ่ืนนาข้อมูลสาคัญของโรงเรียนไปใช้ในทางท่ีไม่ เหมาะสม เช่น หมายเลขบัตรประชาชนนักเรยี น ข้อมลู พื้นฐานของนักเรยี นจากการเย่ยี มบา้ น เป็นต้น มีขั้นตอนการดาเนนิ งานดังนี้ 1) แตง่ ต้งั คณะกรรมการผรู้ บั ผิดชอบด้านขอ้ มูลสารสนเทศและประชาสัมพันธ์ มี การปรบั ปรงุ ข้อมลู สารสนเทศสมา่ เสมอและเป็นปจั จุบัน โรงเรยี นหนองพอกวิทยาลยั สพม. 27

หมวด 4 การวัด การวเิ คราะห์ และการจัดการความรู้ (Measurement, Analysis and Knowledge Management)and Stakeholder) | 10 2) พัฒนาบุคลากรท่ีรับผิดชอบด้านข้อมูลสารสนเทศ โดยสนับสนุนให้บุคลากรเข้ารับ การอบรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่จาเป็นต่อการใช้งานและพัฒนาประสิทธิภาพของบุคลากร พัฒนา ระบบงาน มบี คุ ลากรทมี่ คี วามรู้ ความสามารถในการบารุงรกั ษาให้สามารถใชง้ านไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ 3) ประชาสมั พนั ธ์วิธกี ารเข้าถงึ ระบบสารสนเทศแก่ครู บุคลากรและนกั เรียนอย่างทง่ั ถงึ 4) พฒั นาเคร่ืองแม่ข่าย (Server) ในการเช่ือมโยงการสอ่ื สารทง้ั ภายในและภายนอกโรงเรยี น 5) ใชร้ ะบบยนื ยนั ตวั ตนผูเ้ ข้าใช้งานอนิ เทอรเ์ นต็ Authentication ของ Mikrotik router 6) กาหนดผู้รับผิดชอบในการกาหนดสิทธิใ์ นการเข้าใช้งานทีช่ ัดเจน จัดซื้อ Hardware และ Software ท่ีทันสมัยมาทดแทนอุปกรณ์ท่ีชารุด มีแผนกซ่อมบารุงและบุคลากรท่ีพร้อมให้บริการในการซ่อม บารุงอปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ให้พรอ้ มใชง้ านตลอดเวลา (3) ความพร้อมใชง้ านของข้อมลู และสารสนเทศ (Data and Information Availability) การดาเนินงานข้อมูลสารสนเทศมีความพร้อมใช้งานสาหรับผู้ปฏิบัติงาน นักเรียนและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตลอดจนผู้ส่งมอบ พันธมิตรและผู้ให้ความร่วมมือ สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ตามขีดจากัด ทีอ่ นุญาต โดยจดั ให้มหี ้องแมข่ ่าย (Server) ที่ปรบั อุณหภมู เิ หมาะแก่ hardware ตลอด 24 ช่ัวโมง บารุงรกั ษา และพัฒนาฮาร์ดแวร์ เคร่ืองแม่ข่ายอุปกรณ์ทุกส่วนให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการ ป้องกันการบุกรุกและภัยคุกคามทางคอมพิวเตอร์ทุกรูปแบบด้วยการส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาครูและ บคุ ลากรท้ังในกลุ่มผู้รับผิดชอบเข้าอมรม สัมมนาพฒั นาตนเอง และรวบรวมข้อมูลข่าวสารและสารสนเทศให้ เปน็ ปัจจุบัน (4) คุณลักษณะของฮารด์ แวรแ์ ละซอฟต์แวร์ (Hardware and Software Properties) โรงเรียนมีกระบวนการจัดการคุณลักษณะของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์โดยกาหนด ผ้รู ับผิดชอบชดั เจน เพ่ือให้ม่นั ใจว่ามีความเชื่อถอื ไดป้ ลอดภัยและใช้งานง่าย โดยสารวจความต้องการในการใช้ งานเทคโนโลยีสารสนเทศ จัดหาลักษณะของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ดังข้อมูลที่ปรากฏในหมวด 7 ภาพประกอบ 7-14 โดยมีแผนการบารุงรกั ษาฮารด์ แวร์ตามกรอบเวลาทก่ี าหนด และพฒั นาระบบซอฟต์แวร์ อย่างสมา่ เสมอ ดังตารางต่อไปนี้ ตาราง 4-1 คุณลกั ษณะของฮารด์ แวรแ์ ละซอฟต์แวร์ ความเชอ่ื ถือได้ ความปลอดภัย การใช้งานง่าย 1. มกี ารจัดทาขอ้ มลู ประวัติของ ด้านฮาร์ดแวร์ ฮารด์ แวร์ โดยมรี ายละเอียด เชน่ - วนั ที่ไดม้ า 1. มกี ารควบคมุ การเข้าออกหอ้ ง บริการเขา้ ถงึ ระบบไดจ้ าก - หมายเลขรหสั เคร่ือง - ขอ้ มลู การรับประกนั Server ระยะไกล สามารถ remote เขา้ มา - ผรู้ ับผดิ ชอบ 2. มรี ะบบการ Maintenance เพอ่ื 2. มีระบบสารองไฟฟา้ กรณีไฟฟา้ แกไ้ ขระบบเมื่อเกิดปัญหาผ่าน ตรวจสอบเปน็ ประจาทกุ ภาคเรยี น เพ่อื ใหฮ้ ารด์ แวร์พรอ้ มใหบ้ ริการ ดบั เพือ่ ใหร้ ะบบทางานไดไ้ มห่ ยุดชะงัก เครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ โดยไม่ต้อง 3. มีการกาหนดสิทธิใ์ นการเข้าถึง อยหู่ น้าเครื่อง ฮารด์ แวรท์ ีส่ าคญั 4. มีการตดิ ต้ังระบบเพ่ือป้องกนั ผบู้ กุ รกุ จากภายนอก โรงเรียนหนองพอกวิทยาลยั สพม. 27

หมวด 4 การวดั การวเิ คราะห์ และการจัดการความรู้ (Measurement, Analysis and Knowledge Management)and Stakeholder) | 11 ตาราง 4-1 (ตอ่ ) ความเชอื่ ถอื ได้ ความปลอดภัย การใช้งานง่าย ดา้ นฮาร์ดแวร์ 3. มกี ารกาหนดตวั ชว้ี ัดด้านการ ให้บริการและ ติดตามตวั ช้ีวดั เป็นระยะ 4. มกี ารกาหนดแผนบารุงรกั ษา ดาเนินการตามแผน และมรี ะบบการรายงานผลการบารงุ รักษา 5. มีการเปล่ียนเครอ่ื งตามอายุการใชง้ าน ดา้ นซอฟตแ์ วร์ 1. มีการสารวจความตอ้ งการใช้ ซอฟตแ์ วร์เพอ่ื การ 1. มีการกาหนดสิทธ์ใิ นการเข้าใช้งาน จดั การเรียนการ สอนในแตล่ ะรายวชิ า และประชุมผู้ 2. มีระบบ Authentication หรอื ท่ี เกีย่ วข้องในการจัดหาซอฟต์แวรท์ ี่ เหมาะสมต่อ ระบบยืนยันตัวตน การพฒั นาส่ือการเรียนรู้ ด้าน ICT 3. จดั เกบ็ ข้อมลู การจราจรของ 2. มีนโยบายให้ใชซ้ อฟต์แวร์ลิขสทิ ธ์ คอมพวิ เตอรอ์ ย่างน้อย 90 วนั ตาม พรบ.คอมพวิ เตอร์ 4. กาหนดผรู้ บั ผิดชอบในการกาหนดสทิ ธ์ิ ในการเขา้ ใช้งานทช่ี ัดเจน (5) ความพร้อมใชง้ านในภาวะฉกุ เฉนิ (Emergency Availability) โรงเรียนมั่นใจว่าข้อมูลสารสนเทศรวมถึงระบบฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์พร้อมใช้งาน แมใ้ นสภาวะฉกุ เฉนิ มีขั้นตอนการดาเนินงานดงั นี้ 1. ติดตั้งเคร่ืองแม่ข่ายสาหรับเช่ือมต่อระบบอินเทอร์เน็ต 2 ระบบคือระบบ อนิ เทอร์เน็ตความเร็วสูง Fiber Optic โดยเช่าใช้บริการสัญญาณจากบริษัททีโอที TOT และ CAT Telecom หากมีระบบใดระบบหน่งึ ขดั ขอ้ งกจ็ ะมรี ะบบสารองเพ่ือใหส้ ามารถใชง้ านเครือขา่ ยได้ตลอด 2. มีเครื่องสารองไฟฟ้าและปรับแรงดันไฟฟ้าอัตโนมัติ (UPS) ตลอดระยะเวลาที่เปิด เครื่องคอมพิวเตอร์สาหรับเครื่องแม่ข่ายเพ่ือป้องกันและแก้ไขปัญหากระแสไฟฟ้าขัดข้องซึ่งอาจสร้างความ เสยี หายแก่ระบบสารสนเทศ 3. ใช้ซอฟต์แวร์ในการบริหารจัดการระบบอย่างมีประสิทธิภาพโดยเลือกใช้ซอฟต์แวร์ บริหารจดั การแบบมลี ิขสิทธิ์ ซง่ึ มีบรกิ ารให้คาปรกึ ษาจากทีมงานผู้พฒั นาระบบซอฟตแ์ วร์ 4. มีระบบสารองฐานข้อมูลท่ีหลากหลายเช่นการจัดเก็บไวใ้ น External Storage และ ระบบ Cloud Computing จัดเกบ็ ไวบ้ นเครือข่ายอินเทอรเ์ น็ตโดยผ่านระบบ Google App For Education 5. จัดให้มบี ุคลากรที่มีความร้คู วามชานาญในการดูแลข้อมูลและสารสนเทศ ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ วัสดุอุปกรณ์และทาหนา้ ทีเ่ ตรยี มพรอ้ มให้ใช้งานได้อย่างต่อเนือ่ งในกรณภี าวะฉกุ เฉนิ 6. หากมีสภาวะฉุกเฉินเกิดข้ึน เชน่ ไฟฟา้ ดับกะทันหันจะมีการแจ้งประชาสัมพนั ธ์และ ทาง Facebook Line ของโรงเรียน หากเป็นสารสนเทศประเภทไฟล์งานเอกสารต่าง ๆ มีการเก็บไว้ใน Google Drive ซ่งึ มีความเสถยี รและปลอดภัยสูง สามารถใช้งานร่วมกันตลอดเวลาโดยผา่ นทางบัญชี Google จึงทาใหค้ รแู ละบุคลากรมแี หล่งสารสนเทศสารองที่สามารถใช้งานร่วมกันภายในองค์กรได้ โรงเรียนหนองพอกวทิ ยาลัย สพม. 27