Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

Description: ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

Search

Read the Text Version

หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หม่ รวบรวมโดย นางกิตติยา ดีผาย บรรณารกั ษ์ ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอเลิงนกทา กศน.อาเภอเลิงนกทา สานกั งาน กศน. จงั หวัดยโสธร

เรอื่ งหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เศรษฐกจิ พอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอย่แู ละปฏบิ ัติตนของประชาชนในทุกระดบั ตัง้ แตร่ ะดับครอบครัว ระดบั ชมุ ชน จนถงึ ระดับรัฐ ทัง้ ในการพฒั นาและบรหิ ารประเทศใหด้ าเนนิ ไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกิจ เพ่อื ใหก้ ้าวทนั ตอ่ โลกยคุ โลกาภวิ ตั น์ ความพอเพียง หมายถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล รวมถึงความจาเป็นทีจ่ ะตอ้ งมี ระบบภมู คิ มุ้ กันในตวั ทีด่ พี อสมควร ต่อการกระทบใดๆ อนั เกดิ จากการเปลยี่ นแปลงทง้ั ภายในภายนอก ทงั้ นี้ จะต้องอาศัย ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมดั ระวงั อย่างยิง่ ในการนาวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนนิ การ ทุก ข้นั ตอน และขณะเดยี วกนั จะต้องเสรมิ สรา้ งพ้ืนฐานจติ ใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหนา้ ท่ขี องรฐั นกั ทฤษฎี และนักธุรกิจ ในทกุ ระดับ ให้มสี านกึ ในคุณธรรม ความซอ่ื สัตย์สุจรติ และใหม้ คี วามรอบรู้ทเี่ หมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความ เพยี ร มสี ติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อใหส้ มดลุ และพรอ้ มตอ่ การรองรบั การเปลยี่ นแปลงอยา่ งรวดเร็วและกวา้ งขวาง ทง้ั ดา้ นวัตถุ สังคม ส่งิ แวดล้อม และวฒั นธรรมจากโลกภายนอกได้เปน็ อยา่ งดี ความหมายของเศรษฐกจิ พอเพยี ง จงึ ประกอบด้วยคุณสมบตั ิ ดงั น้ี ๑. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดที ไี่ ม่น้อยเกินไปและไมม่ ากเกนิ ไป โดยไมเ่ บียดเบียนตนเองและผู้อื่น เชน่ การผลติ และการบริโภคทอ่ี ยู่ในระดับพอประมาณ ๒. ความมเี หตผุ ล หมายถงึ การตดั สินใจเกี่ยวกับระดบั ความพอเพียงนนั้ จะต้องเปน็ ไปอย่างมเี หตผุ ล โดยพจิ ารณาจากเหตุ ปัจจยั ทีเ่ กยี่ วข้อง ตลอดจนคานงึ ถึงผลท่คี าดว่าจะเกดิ ข้ึนจากการกระทาน้ันๆ อย่างรอบคอบ ๓. ภมู คิ มุ้ กนั หมายถึง การเตรยี มตวั ให้พร้อมรับผลกระทบและการเปล่ียนแปลงด้านต่างๆ ทีจ่ ะเกิดขน้ึ โดยคานงึ ถึงความ เป็นไปไดข้ องสถานการณ์ตา่ งๆ ทคี่ าดว่าจะเกิดข้ึนในอนาคต โดยมี เง่อื นไข ของการตดั สินใจและดาเนนิ กจิ กรรมตา่ งๆ ใหอ้ ย่ใู นระดับพอเพียง ๒ ประการ ดังนี้ ๑. เง่ือนไขความรู้ ประกอบดว้ ย ความรอบร้เู กย่ี วกับวชิ าการต่างๆ ท่ีเกย่ี วขอ้ งรอบด้าน ความรอบคอบทจี่ ะนาความรเู้ หลา่ นนั้ มาพจิ ารณาให้เชื่อมโยงกนั เพ่อื ประกอบการวางแผนและความระมดั ระวังในการปฏิบตั ิ ๒. เงอ่ื นไขคุณธรรม ทจี่ ะตอ้ งเสรมิ สร้าง ประกอบดว้ ย มีความตระหนักใน คณุ ธรรม มีความซื่อสัตยส์ จุ รติ และมคี วามอดทน มี ความเพยี ร ใช้สติปญั ญาในการดาเนินชีวิต ท่มี า http://www.chaipat.or.th/site_content/34-13/3579-2010-10-08-05-24-39.html

เกษตรทฤษฎใี หม่ การทาเกษตรทฤษฎีใหม่ ซงึ่ เป็น ทฤษฎที ่ีถูกคิดค้นขน้ึ โดยใช้แนวคิดแหง่ การใช้ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละการ บริหารงานในการทาการเกษตร ที่ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั ภมู พิ ลอ ดุลยเดช มหาราช รัชกาลที่ 9 แห่ง ราชวงศจ์ ักรี ของประเทศไทย ไดท้ รง พระราชทานแก่พสกนกิ รชาวไทย เพื่อ แก้ไขปัญหาการเกษตร เพื่อให้เกษตรกร ไดม้ ชี วี ิตอยู่โดยหลดุ พน้ บว่ งแหง่ ความ ยากจน โดยหลักการคือ การแบง่ พนื้ ท่ี การเกษตรออกเปน็ 4 ส่วน การแบ่งพืน้ ที่ดงั ตัวอยา่ งมีดังน้ี พ้ืนที่สว่ นที่ 1 จานวน 1.2 ไร่ ขดุ สระกักเก็บน้าจานวน 2 สระ สามารถกักเก็บนา้ ไดม้ าก เพยี งพอต่อ การนานา้ มาใช้ในการทาการเกษตรไดท้ ้งั ปีแตก่ ารผันน้ามาใชน้ ้ัน หากพื้นท่ีกว้างใหญ่ เชน่ มีเนอื้ ทีป่ ระมาณ 12- 13 ไร่ การขดุ สระโดยใช้พน้ื ที่ถงึ 3-4 ไร่นน้ั ยงั คงต้องใชเ้ ครื่องจกั รกลในการสูบน้ามาใช้ ทาใหส้ ูญเสียพลงั งาน เชื้อเพลงิ จานวนมาก โดยเฉพาะในช่วงฤดแู ลง้ ถา้ สามารถลดการใช้พลงั งานลงได้ หรือหาพลังงานเชื้อเพลิงอ่ืน ทดแทน หรอื มกี ารวางแผนการใชน้ ้า เชน่ หากพน้ื ทมี่ ีระดบั ที่ตา่ งกนั มาก สามารถวางท่อนาน้าออกมาใช้โดยไม่ ต้องใช้เคร่ืองสูบน้าและน้ามนั เป็นการจัดการทาให้ต้นทนุ การเกษตรลดลงได้ในระยะยาว สาหรบั พืน้ ทเ่ี ล็กๆ ประมาณ 1-2 ไร่ สามารถทาเปน็ ท้องร่องได้โดยกะใหก้ วา้ งพอประมาณไม่ให้แคบเกินไปเพราะเนื้อท่ีแคบน้าจะ ขาดแคลน พ้ืนที่สว่ นที่ 2 ใช้พ้ืนที่ 1 ไร่ ใช้ปลกู ข้าว การปลูกขา้ วดว้ ยพนื้ ท่ี 1 ไร่ควรใช้วิธกี ารดานา หรอื การ ปลกู ข้าวต้นเดยี ว เพราะจะให้ผลผลติ ดี ปรมิ าณมากกว่าการปลกู ข้าวแบบหวา่ นปกติ เนื่องจากการปกั ข้าวลง ดินเองจะทาให้ข้าวมีผลผลติ ดี การเตรยี มดิน และปกั ดาโดยใชข้ า้ วจา้ วหอมมะลิ 105 ทาการกาจัดวชั พชื ในนา ข้าว โดยการถอน และไถกลบ เริ่มแรกอาจมีการปลูกพืชตระกูลถ่วั ก่อนเน่ืองจากถว่ั เปน็ พืชที่ตอ้ งการน้าน้อย เจริญเติบโตเร็ว หลงั เกบ็ เกีย่ วสามารถไถกลบและซงั พืชจะเป็นปุย๋ ชนั้ ดใี ห้นาขา้ ว พื้นท่สี ่วนท่ี 3 มีท้ังหมด 1.5 ไร่ ปลูกพชื แบบผสมผสาน โดยสามารถปลกู มะม่วงพนั ธโ์ุ ชคอนนั ต์ ปลูก กล้วยนา้ วา้ ปลูกพชื ผัก ปลกู ไมใ้ ชส้ อย เชน่ ต้นสัก ต้นไผร่ วก ไผ่ตง หรือ ต้นหวาย โดยทั้งนพ้ี ืน้ ที่การปลกู อาจ ใช้พ้นื ท่ีท้งั หมดทเ่ี หลือโดยพ้ืนทีส่ าหรับปลกู สรา้ งบา้ นเรอื นกส็ ามารถปลูกคร่อมพน้ื ทีส่ ่วนท่ี 3 ไดเ้ ชน่ เดยี วกนั พ้ืนที่สว่ นท่ี 4 นม้ี ีพ้นื ที่เหลือประมาณ 3 งาน สามารถใช้เป็นพ้ืนทีส่ าหรับสร้างท่ีอยูอ่ าศัยและคอกสัตวเ์ ลก็ ๆ ใต้ ถนุ เรือน หรอื ผสมผสานในการปลกู บ้านเรอื นยกสูงบนสระนา้ ใหใ้ ต้ถนุ เปน็ คอกเลี้ยงเป็ดไก่ หมู ตดิ กบั สระนา้ โดยในน้าก็มีการเลย้ี งปลาดุกปลานลิ ผสมกนั เปน็ แนวทางการเกษตรแบบพงึ่ พาอาศัย ทีม่ า Copyright © http://www.kasetorganic.com

เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎใี หมต่ ามแนวพระราชดาริ เศรษฐกิจพอเพียง ความหมายกว้างกว่าทฤษฎีใหม่ โดยทีเ่ ศรษฐกิจพอเพียงเปน็ กรอบแนวคดิ ที่ช้ีบอกหลักการ และแนวทางปฏิบตั ิของทฤษฎใี หม่ ในขณะที่ แนวพระราชดาริเกีย่ วกบั ทฤษฎใี หม่ หรือเกษตรทฤษฎใี หม่ ซึง่ เป็นแนว ทางการพฒั นาการเกษตรอยา่ งเปน็ ข้นั ตอนน้ัน เป็นตัวอยา่ งการใชห้ ลักเศรษฐกิจพอเพียงในทางปฏบิ ัติ ท่เี ปน็ รปู ธรรม เฉพาะในพ้นื ท่ที ีเ่ หมาะสม ทฤษฎใี หมต่ ามแนวพระราชดาริ อาจเปรียบเทียบกบั หลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง ซึ่งมีอยู่ 2 แบบ คอื แบบพน้ื ฐาน กับ แบบกา้ วหน้า ได้ดังน้ีความพอเพียงในระดบั บุคคล และครอบครัว โดยเฉพาะเกษตรกรเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี งแบบพ้ืนฐาน เทยี บไดก้ ับทฤษฎใี หม่ เกษตรทฤษฎีใหม่ แนวทางหรือหลกั ในการบริหารจัดการที่ดนิ และนา้ เพอ่ื การเกษตรในที่ดินขนาดเล็กใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสดุ ดว้ ยหลกั เศรษฐกจิ พอเพียง พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ ัวไดพ้ ระราชทานพระราชดารินี้เพ่ือเปน็ การช่วยเหลือ เกษตรกร ทป่ี ระสบความยากลาบาก ให้สามารถผ่านช่วงวิกฤต โดยเฉพาะการขาดแคลนน้าไดโ้ ดยไม่เดอื ดร้อนและยากลาบาก นัก การดาเนนิ งานตามทฤษฎีใหม่มี 3 ข้ันตอน คือ การผลิต ให้พ่ึงตนเองด้วยวิธีงา่ ย ค่อยเป็นค่อยไปตามกาลัง ใหพ้ อมพี อกนิ การรวมพลงั กันในรปู แบบ หรือ สหกรณ์ ร่วมแรงร่วมใจกนั ในดา้ นการผลติ การตลาด ความเป็นอยู่ สวัสดิการ การศึกษา สงั คมและศาสนา การดาเนินธุรกจิ โดยติดต่อ ประสานงาน จัดหาทุนหรือแหลง่ เงิน ขอบคุณรูปภาพ : goo.gl/Fvp5k5

ขั้นท่ี 1 สาหรับ การพงึ่ พาตนเอง (สรุปง่ายๆ) เกษตรทฤษฏใี หม่นั้น ให้แบง่ พน้ื ที่ออกเป็น 4 ส่วน ตามอัตราสว่ น 30 : 30 : 30 : 10 ซ่ึงหมายถงึ 30% แรกให้ขดุ สระเกบ็ กักน้าเพื่อใชเ้ ก็บกักนา้ ฝนในฤดฝู น และใชเ้ สรมิ การปลูกพชื ในฤดูแล้ง ตลอดจนการเลีย้ งสัตว์ และพชื น้าตา่ งๆ 30% ตอ่ มาให้ปลูกขา้ วในฤดูฝนเพ่อื ใชเ้ ปน็ อาหารประจาวนั สาหรับครอบครัวใหเ้ พียงพอตลอดปี เพอ่ื ตดั คา่ ใชจ้ า่ ยและ สามารถพ่ึงตนเองได้ 30% ตอ่ มาให้ปลกู ไม้ผล ไม้ยืนตน้ พืชผกั พืชไร่ พชื สมุนไพร ฯลฯ เพอื่ ใชเ้ ปน็ อาหารประจาวัน หากเหลือบริโภคก็ นาไปจาหนา่ ย 10% สดุ ท้ายเป็นที่อยอู่ าศัย เลี้ยงสัตว์ ถนนหนทาง และโรงเรอื นอ่นื ๆ ขั้นที่ 2 รว่ มแรงร่วมใจหลายๆด้าน เช่น (สรปุ พอเข้าใจนะครับ) การผลติ (พนั ธุ์พืช เตรียมดิน ชลประทาน ฯลฯ) การตลาด (ลานตากข้าว ยุ้ง เครือ่ งสีขา้ ว การจาหนา่ ย) การเปน็ อยู่ (กะปิ น้าปลา อาหาร เคร่ืองนุง่ ห่ม ฯลฯ) สวัสดกิ าร (สาธารณสขุ เงนิ ก)ู้ การศกึ ษา (โรงเรยี น ทุนการศึกษา) สังคมและศาสนา (การทากิจกรรมรว่ มกนั เป็นหมคู่ ณะ) ขั้นท่ี 3 การตดิ ตอ่ หรือการหาเเหล่งเงนิ คอื การตดิ ต่อประสานงาน เพื่อจดั หาทนุ หรอื แหล่งเงนิ เช่น ธนาคาร หรือบรษิ ัทห้างร้านเอกชน มาช่วยในการทา ธุระกิจ การลงทุนและพฒั นาคุณภาพชวี ิต ท้งั นี้ ท้งั ฝา่ ยเกษตรกรและฝา่ ยธนาคารกบั บริษทั จะได้รบั ประโยชนร์ ว่ มกนั กล่าวคือ เกษตรกรขายข้าวไดร้ าคาสูง (ไม่ถูกกดราคา) ธนาคารหรอื บริษัทเอกชนสามารถซื้อขา้ วบรโิ ภคในราคาต่า (ซ้อื ข้าวเปลอื กตรงจากเกษตรกรและมาสเี อง) เกษตรกรซอ้ื เครอ่ื งอุปโภคบรโิ ภคไดใ้ นราคาต่า เพราะรวมกันซื้อเป็นจานวนมาก (เปน็ รา้ นสหกรณ์ราคาขายสง่ ) ธนาคารหรือบรษิ ัทเอกชน จะสามารถกระจายบคุ ลากร เพื่อไปดาเนินการในกจิ กรรมต่างๆ ใหเ้ กิดผลดยี ่งิ ขน้ึ หลกั ปรชั ญา การพัฒนาประเทศจาเปน็ ตอ้ งทาตามลาดบั ข้นั ตอ้ งสรา้ งพ้นื ฐาน คือ ความพอมีพอกิน พอใชข้ องประชาชน ส่วนใหญ่เปน็ อนั พอควรและปฏิบัติได้แล้ว จึงคอ่ ยสร้างค่อยเสรมิ ความเจรญิ และฐานะเศรษฐกิจขนั้ ท่สี ูงขึ้นโดยลาดบั ตอ่ ไป หากมงุ่ แต่จะทุม่ เทสรา้ งความเจรญิ ยกเศรษฐกิจขึ้นใหร้ วดเร็วแตป่ ระการเดยี ว โดยไม่ใหแ้ ผนปฏิบตั ิการ สมั พันธ์กับสภาวะของประเทศและของประชาชนโดยสอดคลอ้ งดว้ ย กจ็ ะเกิดความไม่สมดลุ ในเร่อื งต่าง ๆ ขึน้ ซ่งึ อาจ กลายเปน็ ความย่งุ ยากลม้ เหลวไดใ้ นทีส่ ดุ \" พระบรมราโชวาท ในพธิ พี ระราชทานปรญิ ญาบตั ร ของ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์

ณ หอประชุมมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วนั พฤหสั บดีท่ี 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2517 เศรษฐกจิ พอเพยี งเป็นปรัชญาท่ียดึ หลกั ทางสายกลาง ท่ชี ีแ้ นวทางการดารงอยู่และปฏิบัติของประชาชนในทุก ระดบั ให้ดาเนินไปในทางสายกลาง มีความพอเพยี ง และมีความพร้อมทีจ่ ะจัดการต่อผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลง ซ่ึงจะต้องอาศยั ความรอบรู้ รอบคอบ และระมดั ระวงั ในการวางแผนและดาเนนิ การทุกขัน้ ตอน ทง้ั นี้ เศรษฐกิจ พอเพียงเปน็ การดาเนนิ ชวี ิตอย่างสมดลุ และยั่งยนื เพื่อใหส้ ามารถอยู่ไดแ้ ม้ในโลกโลกาภิวัตน์ทมี่ กี ารแข่งขันสงู ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงทท่ี รงปรบั ปรงุ พระราชทานเป็นท่ีมาของนยิ าม \"3 ห่วง 2 เง่ือนไข\" ที่คณะอนุกรรมการ ขับเคลือ่ นเศรษฐกจิ พอเพยี ง สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ นามาใชใ้ นการรณรงค์ เผยแพรป่ รัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งผ่านชอ่ งทางสื่อต่าง ๆ อย่ใู นปจั จบุ ัน ซง่ึ ประกอบด้วยความ \"พอประมาณ มี เหตุผล มภี มู ิค้มุ กนั \" บนเง่ือนไข \"ความร้\"ู และ \"คณุ ธรรม\" ขอบคุณรปู ภาพ : goo.gl/rNJ9pr ดร.จริ ายุ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ประธานคณะอนุกรรมการขับเคล่ือนเศรษฐกจิ พอเพียง อธิบายถงึ การพัฒนา ตามหลกั เศรษฐกิจพอเพียง ว่า เป็นการพัฒนาทตี่ ้ังอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยคานงึ ถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการสรา้ งภมู ิคุ้มกนั ท่ีดใี นตวั ตลอดจนการใช้ความรู้ ความรอบคอบละคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตดั สินใจและการกระทาตา่ ง ๆ ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ทไ่ี ม่มากและไมน่ ้อย จนเกนิ ไป ไมเ่ บยี ดเบยี นตนเองและผู้อ่นื เช่น การผลติ และการบรโิ ภคท่ีพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การใช้ หลักเหตผุ ลในการตดั สนิ ใจเรื่องต่าง ๆ โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยท่เี กีย่ วข้อง ตลอดจนผลทีค่ าดวา่ จะเกดิ ขน้ึ อย่าง รอบคอบ การมีภมู ิคุ้มกนั ทีด่ ี หมายถงึ การเตรยี มตัวให้พร้อมรบั ตอ่ ผลกระทบที่เกดิ ข้นึ จากการเปล่ยี นแปลงรอบตัว ปัจจัยเหลา่ นี้จะเกิดข้ึนไดน้ ้ัน จะต้องอาศยั ความรู้ และคณุ ธรรม เป็นเงอื่ นไขพน้ื ฐาน กล่าวคอื เงอื่ นไข ความรู้ หมายถงึ ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวงั ในการดาเนนิ ชวี ิตและการประกอบการงาน สว่ น เง่อื นไขคุณธรรม คือ การยดึ ถือคุณธรรมต่าง ๆ อาทิ ความซื่อสตั ยส์ ุจริต ความอดทน ความเพยี ร การมุ่งต่อประโยชน์ สว่ นรวมและการแบง่ ปนั ฯลฯ ตลอดเวลาทป่ี ระยุกต์ใช้ปรัชญา อภิชยั พันธเสน ผูอ้ านวยการสถาบนั การจดั การเพือ่ ชนบทและสงั คม ไดจ้ ดั แนวคดิ เศรษฐกิจพอเพยี งวา่ เป็น \"ขอ้ เสนอในการดาเนนิ กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ตามแนวทางของพุทธธรรมอย่างแท้จรงิ \" ทง้ั นี้เนอ่ื งจากในพระราชดารัส

หนึ่ง ได้ใหค้ าอธบิ ายถงึ เศรษฐกิจพอเพียง ว่า \"คือความพอประมาณ ซื่อตรง ไม่โลภมาก และต้องไม่เบียดเบยี นผอู้ ืน่ \" ระบบเศรษฐกิจพอเพยี งมงุ่ เน้นให้บคุ คลสามารถประกอบอาชีพได้อยา่ งยง่ั ยนื และใชจ้ ่ายเงนิ ใหไ้ ดม้ าอย่างพอเพียง และประหยดั ตามกาลงั ของเงินของบุคคลนน้ั โดยปราศจากการกูห้ น้ียมื สนิ และถ้ามีเงินเหลอื ก็แบ่งเกบ็ ออมไว้ บางส่วน ช่วยเหลอื ผู้อืน่ บางส่วน และอาจจะใชจ้ า่ ยมาเพ่ือปจั จยั เสริมอีกบางสว่ น สาเหตทุ ี่แนวทางการดารงชีวิตอย่าง พอเพียง ได้ถูกกลา่ วถงึ อยา่ งกวา้ งขวางในขณะนี้ เพราะสภาพการดารงชวี ิตของสงั คมทุนนยิ มในปัจจุบันได้ถกู ปลกู ฝัง สร้าง หรือกระตนุ้ ให้เกดิ การใชจ้ า่ ยอยา่ งเกนิ ตวั ในเรือ่ งท่ีไม่เก่ียวขอ้ งหรือเกินกว่าปัจจัยในการดารงชวี ิต เชน่ การบริโภค เกินตวั ความบนั เทงิ หลากหลายรูปแบบ ความสวยความงาม การแตง่ ตัวตามแฟชนั่ การพนันหรอื เสี่ยงโชค เป็นต้น จนทาให้ไม่มีเงนิ เพียงพอเพือ่ ตอบสนองความต้องการเหลา่ นน้ั สง่ ผลใหเ้ กิดการก้หู น้ียืมสิน เกิดเป็นวัฏจกั รท่ีบุคคล หนึ่งไมส่ ามารถหลุดออกมาได้ ถา้ ไมเ่ ปลย่ี นแนวทางในการดารงชวี ิต ซึ่ง ดร. สุเมธ ตันติเวชกลุ ไดก้ ล่าวว่า \"หลาย ๆ คนกลับมาใช้ชวี ิตอยา่ งคนจน ซึ่งเป็นการปรับตวั เขา้ สคู่ ุณภาพ\" และ \"การลงมอื ทาด้วยความมเี หตุมีผล เปน็ คุณคา่ ของเศรษฐกจิ พอเพียง\"

พระราชดารัสที่เก่ียวกับเศรษฐกิจพอเพียง . “...เศรษฐศาสตรเ์ ป็นวิชาของเศรษฐกจิ การท่ีต้องใชร้ ถไถต้องไปซือ้ เราต้องใชต้ ้องหาเงนิ มาสาหรบั ซื้อนา้ มนั สาหรบั รถไถ เวลารถไถเก่าเราตอ้ งยง่ิ ซ่อมแซม แต่เวลาใชน้ ้นั เรากต็ ้องปอ้ นน้ามันใหเ้ ป็นอาหาร เสรจ็ แล้วมัน คายควนั ควันเราสูดเขา้ ไปแล้วกป็ วดหัว สว่ นควายเวลาเราใชเ้ ราก็ตอ้ งปอ้ นอาหาร ต้องใหห้ ญา้ ให้อาหารมัน กิน แตว่ า่ มันคายออกมา ทีม่ ันคายออกมากเ็ ปน็ ปุ๋ย แลว้ ก็ใช้ไดส้ าหรับใหท้ ีด่ นิ ของเราไมเ่ สยี ...” พระราชดารสั เนอ่ื งในพระราชพธิ พี ืชมงคลจรดพระนงั คลั แรกนาขวัญ ณ ศาลาดสุ ิดาลยั วนั ท่ี ๙ พฤษภาคม ๒๕๒๙ “...เราไมเ่ ป็นประเทศร่ารวย เรามีพอสมควร พออยู่ได้ แต่ไมเ่ ป็นประเทศท่ีก้าวหนา้ อย่างมาก เราไมอ่ ยากจะ เปน็ ประเทศกา้ วหนา้ อยา่ งมาก เพราะถ้าเราเปน็ ประเทศกา้ วหน้าอยา่ งมากก็จะมีแต่ถอยกลับ ประเทศ เหลา่ น้นั ทีเ่ ปน็ ประเทศอุตสาหกรรมก้าวหนา้ จะมแี ตถ่ อยหลงั และถอยหลงั อยา่ งน่ากลวั แต่ถา้ เรามีการบริหาร แบบเรียกวา่ แบบคนจน แบบท่ีไม่ติดกับตารามากเกนิ ไป ทาอยา่ งมีสามคั คีน่แี หละคอื เมตตากัน จะอยไู่ ด้ ตลอดไป...” พระราชดารสั เนอ่ื งในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลยั วนั ที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๔ “...ตามปกติคนเราชอบดสู ถานการณ์ในทางดี ที่เขาเรยี กวา่ เลง็ ผลเลศิ กเ็ ห็นว่าประเทศไทย เรานก่ี ้าวหน้าดี การเงนิ การอตุ สาหกรรมการค้าดี มีกาไร อีกทางหน่ึงกต็ ้องบอกว่าเรากาลงั เส่อื มลงไปส่วนใหญ่ ทฤษฎวี ่า ถา้ มี เงนิ เทา่ นน้ั ๆ มีการกู้เท่านัน้ ๆ หมายความว่าเศรษฐกจิ ก้าวหนา้ แล้วกป็ ระเทศก็เจรญิ มีหวังวา่ จะเปน็ มหาอานาจ ขอโทษเลยต้องเตือนเขาว่า จริงตวั เลขดี แต่ว่าถ้าเราไมร่ ะมัดระวงั ในความต้องการพนื้ ฐานของ ประชาชนนั้นไม่มีทาง...” พระราชดารสั เน่ืองในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสดิ าลยั วนั ท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๓๖


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook