Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สมุดบันทึกการเรียนรู้

สมุดบันทึกการเรียนรู้

Published by 218 วิมลพร ชาสงวน, 2023-03-23 14:06:15

Description: สมุดบันทึกการเรียนรู้

Search

Read the Text Version

สมุดบันทึกการเรียนรู้ Portfolio รายวิชาการวัดและประเมินผลการเรียนรู้

สมุดบันทึกการเรียนรู้ จัดทำโดย นางสาวพชรวรรณ แซ่ริม รหัสนักศึกษา 64115244231 เสนอ รองศาสตร์ตราจารย์ ดร.สำราญ กำจัดภัย สมุดบันทึกการเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ รหัสวิชา 21042103 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

คำนำ บันทึกการเรียนรู้ฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ รหัสวิชา 21042103 มีจุดประสงค์เพื่อบันทึกความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ โดยผู้จัดทำได้ บันทึกความรู้จากสิ่งที่ได้เรียนรู้ในแต่ละสัปดาห์ ซึ่งภายในสมุดบันทึกการเรียนรู้ประกอบไป ด้วย ขอบข่ายเนื้อหา Mind Map และสรุปองค์ความรู้ที่เรียนในแต่ละสัปดาห์ ทั้งนี้ผู้จัดทำต้องขอขอบพระคุณ รศ.ดร.สำราญ กำจัดภัย อาจารย์ประจำรายวิชา การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ที่ให้ความรู้และแนะแนวทางการศึกษา ผู้จัดทำหวังเป็น อย่างยิ่งว่าสมุดบันทึกการเรียนรู้เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ศึกษาไม่มากก็น้อย หากมีข้อ ผิดพลาดประการใดผู้จัดทำขออภัยไว้ณที่นี้ด้วย พชรวรรณ แซ่ริม ผู้จัดทำ

ข้อมูลส่วนตัว ชื่อ-สกุล : นางสาวพชรวรรณ แซ่ริม ชื่อเล่น : กีกี้ รหัสนักศึกษา : 64115244231 หมู่เรียนที่ 2 วัน/เดือน/ปีเกิด : เกิดวันที่ 3 มิถุนายน 2545 อายุ : 20 ปี กำลังศึกษาอยู่ : ชั้นปีที่ 2 คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ที่อยู่ : 153/1 หมู่ 4 บ้านท่าบ่อ ตำบลท่าบ่อสงคราม อำเภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม หมายเลขโทรศัพท์ : 0813284093

รองศาสตราจารย์ ดร.สำราญ กำจัดภัย อาจารย์ผู้สอน รายวิชาการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 อาจารย์ผู้สอน

สัญญาการเรียน บันทึกผลการร่วมกิจกรรม

ครั้งที่ 1 08/11/2565 ใบความรู้ที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ ขอบข่ ายเนื้อหา 1.ความหมายของการเรียนรู้ 2.พฤติกรรมการเรียนรู้ด้านพุ ทธิพิสัย 3.พฤติกรรมการเรียนรู้ด้านจิตพิสัย 4.พฤติกรรมการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย

ความหมายของการเรียนรู้ พฤติกรรมการเรียนรู้ด้านพุ ทธิพิสัย การเรียนรู้ (Learning) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ เป็นความสามารถด้านสติปัญญา (รวมถึงความคิด ค่อนข้างถาวร อันเนื่องมาจากการได้รับประสบการณ์ สร้างสรรค์ต่าง ๆ ) เช่น ความรู้ (Knowledge) หรือความจำ พฤติกรรมการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น 3 ด้านใหญ๋ๆ ได้แก่ , ความเข้าใจ (Comprehension) , การนำไปใช้ (Application) , การวิเคราะห์ (Analysis) , การสังเคราะห์ 1.พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย (Synthesis) , การประเมินค่า (Evaiuation) 2.พฤติกรรมด้านจิตพิสัย 3.พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย แนวคิด เกี่ยวกับการเรียนรู้ พฤติกรรมการเรียนรู้ด้านจิตพิสัย พฤติกรรมการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย เกี่ยวข้องกับความรู็สึก ความเชื่อ เจตคติ ค่านิยม ก่อเกิดบุ พฤติกรรมการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัยเป็นความสามรถของ คลิกภาพหรื่อลักษณะนิสัยของบุคคล แสดงได้ ดังนี้ บุคคลในการใช้อวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายทำงานอย่าง ประสานสัมพันธ์กัน โดยมีขั้นตอนการเกิดพฤติกรรมไปตาม 1.ขั้นรับรู้ ลำดับคือ ทักษะปฏิบัติของ Dave และ ทักษะปฏิบัติของ 2.ขั้นตอบสนอง Simpson 3.ขั้นเห็นคุณค่าหรือสร้างค่านิยม 4.ขั้นจัดระบบค่านิยม 5.ขั้นสร้างลักษณะนิสัยจากค่านิยม

สรุปองค์ความรู้ จากใบความรู้จะเห็นได้ว่า การเรียนรู้ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ค่อนข้างถาวร อันเนื่องมาจากการได้รับประสบการณ์ ซึ่งพฤติกรรมการเรียนรู้จะแบ่งออกเป็น 3 ด้านใหญ่ ๆ ได้แก่ พฤติกรรมการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย พฤติกรรมด้านจิตพิสัย และพฤติกรรมด้านทักษะพิสัย พฤติกรรมการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย เป็นความสามารถด้านสติปัญญาและรวมถึงความคิดความ สร้างสรรค์ต่าง ๆ เช่น ความรู้ ความเข้าใจ การนำไปใ ช้การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการ ประเมินค่า พฤติกรรมการเรียนรู้ด้านจิตพิสัย เป็น พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับ อารมณ์ ความรู้สึก จะแสดงออกได้คือ การรับรู้ การตอบสนอง การเห็นคุณค่าหรือการสร้างค่านิยม การจัดระบบ ค่านิยมและลักษณะนิสัยจากค่านิยม และพฤติกรรมการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย เป็นพฤติกรรมการ เรียนรู้ที่ใช้ความสามารถของบุคคลในการใช้อวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายทำงานประสานสัมพันธ์ กัน

ครั้งที่ 2 15/11/2565 ใบความรู้ที่ 2 แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ ขอบข่ ายเนื้อหา 1.แนวคิดเกี่ยวกับการวัดผล 2.แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินผล 3.แนวทางการนำผลการประเมินการเรียนรู้ไปใช้ประโยชน์

แนวคิดเกี่ยวกับการวัด เป็นกระบวนการกำหนดตัวเลขหรือสัญลักษณ์แทน ปริมาณหรือคุณภาพของลักษณะหรือคุณสมบัติของสิ่งที่การ วัด โดยสิ่งที่ต้องการวัดนั้นเป็นผลมาจากการกระทำหรือ กิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวมกัน ในการ วัดผลจะมีวิธีใหญ่ ๆ 2 วิธี คือ 1.การวัดทางตรง เช่น วัดน้ำหนักของนักเรียน วัดส่วนสูง ของนักเรียน 2.การวัดทางอ้อม เช่น การวัดความรู้ การวัดบุคลิกภาพ แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดและ แนวคิดเกี่ยวกับการวัดผล ประเมินผลการเรียนรู้ 1. Evaluation เป็นกระบวนการตัดสินคุณภาพเกี่ยวกับ แนวทางการนำผลการประเมินไปใช้ประโยชน์ การเรียนรู้ของผู้เรียน โดยมีการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อ ตัดสินระดับคุณภาพตามเกณฑ์ที่ได้ตั้งไว้อย่างชัดเจน 2. Assessment เป็นกระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน แล้วนำมา ข้อมูลที่ได้มาจัดกระทำให้ได้สารสนเทศทั้ง จุดแข็งและจุด อ่อน พร้อมให้ข้อมูลป้อนกลับ 1.การใช้ผลการประเมินเพื่อวางแผนการจัดการเรียนรู้ 2.การใช้ผลการประเมินเพื่อปรับปรุงพัฒนา 3.การใช้ผลการประเมินเพื่อสรุปและตัดสินผลการเรียนรู้ 4.การใช้ผลการประเมินเพื่อรายงานต่อผู้ปกครองและผู้ที่เกี่ยวข้อง

สรุปองค์ความรู้ จากใบความรู้จะเห็นได้ว่า การวัดและประเมินที่ดำเนินไปพร้อมกัน หลอมรวมกันอย่างต่อ เนื่อง โดยการเรียนต้องเรียนรู้เต็มศักยภาพและความสามารถการสอบ หรือการวัดและประเมิน ต้องเป็นไปตามสภาพที่แท้จริงและต่อเนื่อง โดยลักษณะการจัดการหรือดำเนินการอาจจะ สอน ไป-เรียนไป-สอบไป หรือเรียนไป-สอบไป-สอนไป หรือสอบไป-สอนไป-เรียนไป ทั้งนี้การวัดและ ประเมินจะทำหน้าที่ค้นหาจุดเด่นจุดด้อยหรือระดับความสามารถของผู้เรียนเพื่อการพัฒนาและ ปรับปรุงแก้ไขการจัดการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง

ครั้งที่ 3 22/11/2565 ใบความรู้ที่ 3 หลักการและจุดมุ่งหมายของการประเมินผลการเรียนรู้ ขอบข่ ายเนื้อหา 1.ความสำคัญของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 2.ประเภทของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3.หลักการของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 4.จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้



สรุปองค์ความรู้ จากใบความรู้จะเห็นได้ว่า โดยในบทนี้ จะเป็นการวัดและประเมินในระดับชั้นเรียน ความสำคัญ ของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับ สำหรับครูผู้สอน ก่อนเรียน จะเป็นการวัดระดับ ความรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสม ขณะเรียน เป็นการวัดความเข้าใจโดยการตอบ สนองของผู้เรียนในรูปแบบต่าง ๆ รู้ถึงผลการสอนของครูว่ามีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงไร หลังเรียน เป็นการวัดโดยการทำข้อสอบ แบบทดสอบ เพื่อให้คะแนน หรือตัดเกรด และนำข้อมูลที่ ได้มาพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของตน สำหรับผู้เรียน ก่อนเรียน เป็นการวัด ระดับความรู้ เพื่อดูว่าตนเองมีความรู้มากน้อยเพียงใด ขณะเรียน เป็นการหาจุดเด่น จุดด้อย ขอ คำแนะนำจากผู้สอน เพื่อนำมาพัฒนาปรับปรุงตนเอง หลังเรียน ทราบว่าตนมีระดับคุณภาพการ เรียนรู้อยู่ในระดับใด ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดหรือไม่ และพัฒนาตนเองต่อไป การแบ่งประเภทของ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในระดับชั้นเรียนมีหลายขนาดขึ้นอยู่กับเกณฑ์การใช้แบ่ง หลัก การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลาง พุทธศักราช 2551 สถานศึกษาจะเป็น ผู้รับผิดชอบในการวัดและประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียน และการกำหนดจุดมุ่งหมายตามบทบาท หน้าที่จะเป็นการกำหนดที่ครอบคลุมทั้งระบบการศึกษาของทุกระดับชั้น ในส่วนการกำหนดจุดมุ่ง หมายตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา พุทธศักราช 2551 จะเน้นที่จุดมุ่งหมายของการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ในระดับชั้นเรียนของผู้เรียน

ครั้งที่ 4 29/11/2565 ใบความรู้ที่ 4 แบบทดสอบความเรียง หรือแบบทดสอบอัตนัย ขอบข่ ายเนื้อหา 1.ความหมายของแบบทดสอบความเรียง 2.หลักการหรือแนวทางในการสร้างแบบทดสอบความเรียง 3.แนวทางการตรวจให้คะแนนข้อสอบความเรียง

แบบทดสอบความเรียง ความหมายของแบบทดสอบความเรียง หลักการหรือแนวทางในการสร้างแบบทดสอบ เป็นชุดของข้อชุดคำถามที่ผู้สอนกำหนดขึ้น เพื่อให้ผู้เรียน เขียนเรียบเรียงคำตอบอย่างอิสระ ใช้ความรู้ ความสามารถ 1.กำหนดผลการเรียนรู้ที่ใช้สติปัญญาสูง ที่ไม่สามารถวัด ในการคิดระดับสูง ได้โดยใช้แบบทดสอบปรนัย จุดแข็ง สามารถวัดพฤติกรรมการเรียนรู้ขั้นสูงของผู้ 2.กำหนดจำนวนข้อคำถาม เรียนได้ดี 3.ใช้ถ้อยคำที่ชัดเจน 4.ระบุน้ำหนักคะแนน ความยาวของคำตอบ และช่วง จุดอ่อน ความเป็นปรนัยในการให้คะแนนคำตอบของผู้ ระยะเวลา เรียน 5.ระบุเกณฑ์การให้คะแนนข้อสอบ 6.ตรวจสอบคุณภาพเบื้องต้น แนวทางการให้คะแนนแบบทดสอบความเรียง 7.หลังการนำข้อสอบไปใช้ ควรมีการทบทวนของคำตอบ 1.สร้างเกณฑ์การให้คะแนนอย่างละเอียดชัดเจน 2.ควรระมัดระวังเกี่ยวกับความลำเอียงหรืออคติ 3.ตรวจให้คะแนนคำตอบให้เสร็จทีละข้อในเวลาที่ต่อเนื่องกัน 4.กรณีผู้ตรวจหลายคน แบ่งข้อสอบให้ผู้ตรวจคนละหนึ่ง - สองข้อ 5.เก็บรวบรวมบันทึก ข้อผิดพลาดที่ผู้ตรวจได้มีการหัก คะแนนไว้ 6.ไม่ควรนำเอาประเด็นความถูกต้องเกี่ยวกับไวยากรณ์มา เป็นเกณฑ์ในการตรวจให้คะแนนของคำตอบ

สรุปองค์ความรู้ จากใบความรู้จะเห็นได้ว่า แบบทดสอบความเรียง เป็นชุดของข้อชุดคำถามที่ผู้สอนกำหนดขึ้น เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงออก โดยใช้ภาษาของตนเองเขียนตอบตามเสรีภาพ ตามความ รู้สึก และความคิดเห็นของแต่ละคนอย่างอิสระ เป็นการใช้ความรู้ความสามารถในการคิดระดับ สูง ข้อสอบความเรียงมีจุดแข็ง คือ สามารถวัดพฤติกรรมการเรียนรู้ขั้นสูงของผู้เรียนได้ดี ส่วน จุดอ่อนนั้น ความเป็นปรนัยในการให้คะแนนคำตอบของผู้เรียน หลักการในการสร้างแบบทดสอบ ความเรียงจะเป็นการกำหนดผลการเรียนรู้ที่ใช้สติปัญญาในระดับสูงเป็นส่วนมาก แนวทางการ ให้คะแนน จะให้คะแนนตามเกณฑ์การให้คะแนนที่ผู้สอนได้สร้างขึ้นมา

ครั้งที่ 5 29/11/2565 ใบความรู้ที่ 5 แบบทดสอบปรนัยชนิดถูกผิด ขอบข่ ายเนื้อหา 1.ความหมายและลักษณะแบบทดสอบปรนัยชนิดถูกผิด 2.หลักการหรือแนวทางในการสร้างแบบทดสอบชนิดถูกผิด

แบบทดสอบปรนัย ชนิดถูกผิด ความหมายและลักษณะของแบบทดสอบปรนัยชนิดถูกผืด หลักการหรือแนวทางในการสร้างแบบทดสอบปรนัย เป็นชุดของข้อความซึ่งอาจเขียนอยู่ในรูปประโยคบอก ชนิดถูกผิด เล่าธรรมดา หรือประโยคคำถามก็ได้ ให้พิจารณาว่า 1.เขียนคำชี้แจงในการทำแบบทดสอบให้ชัดเจน ข้อความนั้น ถูกหรือผิดตามหลักวิชา โดยเลือกระหว่าง \"ถูก- 2.ข้อคำถามจะถูกหรือผิดอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น ผิด\" หรือ \"จริง-ไม่จริง\" หรือ \"ใช่-ไม่ใช่\" เป็นต้น 3.เขียนคำถามด้วยภาษาที่เรียบง่าย ชัดเจน เข้าใจตรงกัน 4.ควรถามเพียงประเด็นดียว พื่อไม่ให้สับสนในการตอบ 5.ควรให้ข้อมูลสารสนเทศพื้นฐานที่เพียงพอ 6.หลีกเลี่ยงข้อความจากหนังสือเรียนมาเป็นคำตอบ 7.โดยทั่วไปนิยมเขียนอยู่ในรูปประโยคบอกเล่าธรรมดา 8.หลีกเลี่ยงการใช้คำศัพท์ที่ผู้เรียนไม่คุ้นเคย 9.หลีกเลี่ยงคำบางคำที่เป็นเครื่องชี้คำตอบ 10.ไม่ควรใช้ข้อความปฏิเสธซ้อน 11.คำตอบควรถูกหรือผิดตามหลักวิชา 12.ข้อสอบที่สะกดชื่อคนผิดหรือสถานที่ผิด ไม่ได้เป็นสาระ สำคัญ 13.อย่าให้ข้อสอบข้อใด ข้อหนึ่งแนะคำตอบข้ออื่นๆ 14.มีจำนวนข้อถูกผิดใกล้เคียงกัน 15.ข้อถูกและข้อผิดควรกระจายกันออกไป 16.ในกรณีมีข้อสอบหลายประเภท ควรจัดข้อสอบ แบบ ถูก-ผิด ไว้ตอนต้น ๆ ของแบบทดสอบ

สรุปองค์ความรู้ จากใบความรู้จะเห็นได้ว่า แบบทดสอบปรนัยชนิดถูกผิด เป็นชุดของข้อความซึ่งอาจ เขียนอยู่ในรูปประโยคบอกเล่าธรรมดาหรือประโยคคำถามก็ได้ให้พิจารณาดูว่า ข้อความนั้นถูกหรือผิดตามหลักวิชาโดยให้นักเรียนเลือกระหว่าง”ถูก-ผิด” หรือ”จริง- ไม่จริง” หรือ”ใช่-ไม่ใช่” เป็นต้น โดยแบบทดสอบปรนัย ชนิดถูกผิดนี้จะมีประโยชน์ สำหรับการค้นหาว่า ผู้เรียนสามารถที่จะแยกแยะข้อเท็จจริงออกจากความคิดเห็น หรือระบุข้อเท็จจริงเหล่านั้นได้ว่า ถูกหรือผิดตามหลักวิชาการของวิชานั้น ๆ หรือหลัก ความเป็นจริงทั่วไป

ครั้งที่ 6 29/11/2565 ใบความรู้ที่ 6 แบบทดสอบปรนัยชนิดจับคู่ ขอบข่ ายเนื้อหา 1.ความหมายและลักษณะแบบทดสอบปรนัยชนิดจับคู่ 2.หลักการหรือแนวทางในการสร้างแบบทดสอบชนิดจับคู่

แบบทดสอบปรนัยชนิดจับคู่ หลักการหรือแนวทางการสร้างข้อสอบปรนัยชนิดจับคู่ ความหมายและลักษณะของแบบทดสอบปรนัยชนิดจับคู่ 1. คำ วลี ตัวเลข หรือสัญลักษณ์ต่าง ๆ ทั้งที่อยู่ในคอลัมน์ เป็นอีกรูปหนึ่งของแบบทดสอบปรนัยในลักษณะโดยทั่วไป ข้อคำถามและคอลัมน์คำตอบ ควรเป็นเรื่องราวหรือเนื้อหา เดียวกัน จะเอาบางกลุ่มของคำ วลี ตัวเลข หรือสัญลักษณ์ไว้เป็น 2 คอลัมน์ คอลัมน์ซ้ายเป็นกลุ่มข้อคำถามและคอลัมน์ขวาเป็น 2. เขียนคำชี้แจงในการจับคู่ระหว่างชุดรายการข้อ กลุ่มคำตอบ คำถามกับชุดรายการคำตอบให้ชัดเจน 3. ควรทบทวนรายการข้อคำถามและข้อคำตอบของชุด ข้อสอบจับคู่อย่างรอบคอบ ว่าไม่ได้ชี้แนะคำตอบอย่างเด่นชัด 4. ควรเพิ่มจำนวนรายการข้อคำตอบซึ่งอยู่ในคอลัมน์ ทางขวามือให้มากกว่าจำนวนรายการข้อคำถามที่อยู่ทาง ซ้ายมือ 5. การเรียงลำดับก่อนหลังของรายการข้อคำตอบที่อยู่ ทางขวามือควรจัดเรียงให้สมเหตุสมผลเพื่อความสะดวกใน การค้นหาคำตอบ 6. รายการข้อคำถามและรายการข้อคำตอบทั้งหมดในชุด หนึ่งๆ ของข้อสอบจับคู่แต่ละชุดควรจัดอยู่ในกระดาษหน้า เดียวกัน

สรุปองค์ความรู้ จากใบความรู้จะเห็นได้ว่า แบบทดสอบปรนัยชนิดจับคู่ เป็นอีกรูปแบบหนึ่งของแบบ ทดสอบปรนัย ในลักษณะโดยทั่วไป จะเอาบางกลุ่มของคำ วลี ตัวเลข หรือสัญลักษณ์ไว้ เป็นสองคอลัมน์ คอลัมน์ซ้าย เป็นกลุ่มของคำถามและคอลัมน์ขวาเป็น กลุ่มของคำตอบ ข้อคำถามจะอยู่ในช่วง 5 ถึง 8 ข้อ หรือมากสุดไม่ควรเกิน 10 ข้อ ในการตอบของผู้ เรียนนั้นจะอ่านหรือสังเกตคำ วลี ตัวเลข หรือสัญลักษณ์ ในคอลัมท์ทางซ้ายมือของ แต่ละข้อคำถาม จากนั้นก็พิจารณาดูว่า มีความเกี่ยวข้องหรือสามารถจับคู่ได้กับคำ วลี ตัวเลข หรือสัญลักษณ์ ในคอลัมน์ทางขวามือ

ครั้งที่ 7 06/12/2565 ใบความรู้ที่ 7 แบบทดสอบปรนัยชนิดเติมคำและชนิดตอบสั้น ขอบข่ ายเนื้อหา 1.ความหมายและลักษณะแบบทดสอบปรนัยชนิดเติมคำและชนิดตอบแบบสั้น 2.หลักการหรือแนวทางในการสร้างแบบทดสอบชนิดเติมคำและชนิดตอบสั้น

แบบทดสอบปรนัยชนิดเติมคำและชนิดตอบสั้น แบบทดสอบปรนัยชนิดเติมคำ แบบทดสอบปรนัยชนิดตอบแบบสั้น ความหมายและลักษณะของแบบทดสอบชนิดเติมคำ ความหมายและลักษณะของแบบทดสอบชนิดตอบแบบสั้น เป็นแบบทดสอบปรนัยชนิดหนึ่ง ที่มุ่งให้ผู้เรียนคิดหาคำ เป็นแบบทดสอบปรนัยชนิดหนึ่ง ที่มุ่งให้ผู้เรียนตอบข้อสอบ ตอบด้วยตนเอง ซึ่งเป็นคำ วลี หรือประโยคแล้วเขียนคำตอบ ซึ่งอยู่ในรูปของประโยคคำถามหรือประโยคคำสั่ง (ไม่ใช่ นั้นลงในช่องว่างต่อจากข้อความที่ได้เขียนค้างไว้ เพื่อให้เป็น ประโยคบอกเล่า) โดยการเขียนคำตอบขึ้นมาเองสั้น ๆ กระชับ ข้อความที่ถูกต้องสมบูรณ์ สมเหตุสมผล หรือตรงตามข้อเท็จ ตรงตามความเป็นจริงหรืออยู่ในขอบเขตคำตอบที่ข้อสอบ จริง กำหนด หลักการหรือแนวทางการสร้างแบบทดสอบปรนัยชนิดตอบ หลักการหรือแนวทางการสร้างแบบทดสอบปรนัยชนิดเติมคำ แบบสั้น 1.ให้คำแนะนำในการตอบข้อสอบอย่างชัดเจน โดยระบุราย 1. ให้ข้อแนะนำในการตอบข้อสอบอย่างชัดเจนโดยระบุราย ละเอียดของคำตอบว่าควรเป็นอย่างไร ละเอียดของคำตอบว่าควรเป็นอย่างไร 2. เขียนข้อคำถามให้ชัดเจนในรูปของประโยคคำถามหรือ 2.เขียนประโยคข้อความที่เป็นข้อคำถามให้ชัดเจนและ ประโยคคำสั่ง สมบูรณ์เพียงพอ 3. ข้อคำถามควรให้มีคำตอบถูกต้องเพียงคำตอบเดียวเท่านั้น ที่เป็นไปได้และตรงกับคำตอบที่ผู้สอนคาดหวังให้ ผู้เรียนตอบ 3. ประโยคข้อความที่เป็นข้อคำถามควรสร้างขึ้นใหม่ 4. ควรประยุกต์ข้อคำถามให้วัดสติปัญญาในระดับสูงกว่า 4. ควรเว้นช่องว่างสำหรับเติมคำตอบให้มีความยาวเพียง ความรู้ความจำ พอในการเขียนคำตอบที่คาดหวังไว้ 5. ข้อคำถามควรเป็นเรื่องที่สำคัญของบทเรียนสอดคล้อง กับวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้

สรุปองค์ความรู้ จากใบความรู้จะเห็นได้ว่า แบบทดสอบปรนัยชนิดเติมคำ เป็นแบบทดสอบปรนัยชนิด หนึ่ง ที่มุ่งให้ผู้เรียนคิดหาคำตอบด้วยตนเอง เพื่อให้ตอบข้อความให้ถูกต้องสมบูรณ์ สม เหตุสมผล หรือตรงข้ามข้อเท็จจริง ไม่ควรให้เติมข้อความหลายแห่ง โดยแต่ละแห่งจะ ต้องต่อเนื่องกันและถ้าจำเป็นต้องการเติมขอมูล 2 ช่อง ควรเว้นที่ว่างให้เท่า ๆ กัน แบบทดสอบปรนัยชนิดตอบสั้น เป็นแบบทดสอบปรนัยชนิดหนึ่ง ที่มุ่งให้ผู้เรียนตอบ ข้อสอบซึ่งอยู่ในรูปประโยคคำถามหรือประโยคคำสั่งโ ดยการเขียนคำตอบขึ้นมาเองสั้น สั้นกระชับตรงตามความเป็นจริงหรืออยู่ในของเขตคำตอบที่ข้อสอบกำหนด ในแต่ละข้อ ควรถามจุดสำคัญเรื่องเดียว ไม่ควรใช้คำถามเชิงปฏิเสธ ตัวเลือกถูกตัวควรมีเหตุผลที่ เป็นไปได้และตัวเลือกที่เป็นตัวเลขควรเรียงจากน้อยไปมาก ควรมีตัวเลือกที่ถูกที่สุด เพียงข้อเดียว

ครั้งที่ 8 06/12/2565 ใบความรู้ที่ 8 แบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ ขอบข่ ายเนื้อหา 1.ความหมายและลักษณะแบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ 2.หลักการหรือแนวทางในการสร้างแบบทดสอบชนิดเลือกตอบ



สรุปองค์ความรู้ จากใบความรู้จะเห็นได้ว่า แบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ คือลักษณะของข้อสอบ ปรนัยที่มีคำถามและตัวเลือกคำตอบให้ 3-5 ข้อ แล้วให้ผู้สอบเลือกคำตอบที่ถูกต้อง จากตัวเลือกที่กำหนด ข้อสอบในแต่ละข้อจะประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนคำถามนำ หรือคำถามหลัก และส่วนของตัวเลือกหรือคำตอบทั้งหมดที่กำหนดไว้ โดยทั่วไปจะนิยม สร้างและใช้ 3 แบบ คือ แบบคำถามเดี่ยว แบบตัวเลือกคงที่ และแบบสถานการณ์

ครั้งที่ 9 13/12/2565 ใบความรู้ที่ 9 การตรวจคุณภาพของแบบทดสอบ ขอบข่ ายเนื้อหา From : 1.ความเที่ยงตรง 2.ความเป็นปรนัย 3.ความยากรายข้อ Aaron4L.อoำeนbาจจำแนกรายข้อ 5.ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ



สรุปองค์ความรู้ จากใบความรู้จะเห็นได้ว่า ในการตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบนั้นจะแบ่ง ออก 5 ประเภท ได้แก่ ความเที่ยงตรง คือ ระดับคุณภาพของเครื่องมือวัดผลที่บ่งบอก ว่าข้อมูลที่ได้จากการวัดตัวแปรคุณลักษณะหรือสิ่งที่ต้องการวัดด้วยเครื่องมือนั้นนั้นมี ความถูกต้องหรือไม่ เพียงใดและมีความสำคัญมากที่สุดในการตรวจสอบคุณภาพของ แบบทดสอบ ความเป็นปรนัย เป็นลักษณะที่ดีอย่างหนึ่งของแบบทดสอบทั้งฉบับ ที่บ่ง บอกว่าแบบทดสอบชุดนั้น มีความชัดแจ้งในการเขียนคำชี้แจงและข้อคำถามแต่ละข้อ รวมถึงตัวเลือกต่างๆ ความยากรายข้อ การวิเคราะห์ดัชนีความยากรายข้อหรือระดับ ความยากหลายข้อ สัญลักษณ์ที่ใช้คือตัว \"P\" ซึ่งการหาดัชนีความยากหลายข้อนี้นิยม ใช้เฉพาะที่เป็นแบบทดสอบอิงกลุ่ม โดยจำแนกเป็น 2 กรณีคือ 1.กรณีที่ให้คะแนนเป็น 0 กับ 1 และ2.กรณีที่มีการให้คะแนนที่ไม่ใช่ 0 กับ 1 เช่น การให้คะแนนของข้อความ ประเภทความเรียง อำนาจจำแนก คือระดับคุณภาพของข้อสอบแต่ละข้อของแบบ ทดสอบฉบับหนึ่ง ๆ ที่บ่งบอกว่าสามารถแยกคุณเป็นสองกลุ่ม คือ กลุ่มผู้สอบที่มี คุณลักษณะที่ต้องการวัดสูง กับกลุ่มผู้สอบที่มีลักษณะต่ำได้มากน้อยเพียงใด ความเชื่อมั่นของข้อสอบ เป็นคุณสมบัติที่ดีอย่างหนึ่งของแบบทดสอบทั้งฉบับที่บ่งบอก ว่าสามารถวัดคุณลักษณะที่ต้องการวัดได้คงเส้นคงวาวัดกี่ครั้งก็ได้ผลเหมือนเดิมหรือ ใกล้เคียงกับของเดิม

ครั้งที่ 10 21/02/2566 ใบความรู้ที่ 10 การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ ขอบข่ ายเนื้อหา 1.ความหมายของมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด 2.ประเภทของตัวชี้วัด 3.การกำหนดหลักฐานการเรียนรู้ 4.วิธีการวิเคราะห์ตัวชี้วัดเพื่อการออกแบบหน่วยการเรียนรู้



สรุปองค์ความรู้ จากใบความรู้จะเห็นได้ว่า มาตรฐานการเรียนรู้ คือ สิ่งที่ผู้เรียนเพิ่งรู้และปฏิบัติ มี คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ที่ต้องการให้เกิดแก่ผู้เรียนเมื่อจบการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวชี้วัด คือ สิ่งที่ผู้เรียนเพิ่งรู้และปฏิบัติได้ รวมถึงคุณลักษณะของผู้ เรียนในแต่ละระดับชั้น ประเภทของตัวชี้วัดจะแบ่งออกเป็น 5 ประเภท ได้แก่ ด้านความรู้ ความเข้าใจ ด้านการคิดอย่างมีเหตุผล ด้านทักษะการปฎิบัติ ด้านผลผลิต และด้านจิต นิสัย วิธีการวิเคราะห์ตัวชี้วัด เป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นถึงผลการเรียนรู้ของผู้เรียนที่เป็น รูปธรรม และมีความสัมพันธ์โดยตรงกับตัวชี้วัดหลักฐาน และการเรียนรู้สามารถ จำแนกออกได้เป็น 2 ประเภทหลัก คือ ผลผลิตและผลปฏิบัติ

ครั้งที่ 11 21/02/2566 ใบความรู้ที่ 11 การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานโดยใช้ กระบวนการออกแบบย้อนกลับ ขอบข่ ายเนื้อหา 1.ความหมายของการออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน 2.การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานโดยใช้ กระบวนการออกแบบย้อนกลับ 3.ขั้นตอนการออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานโดยใช้ กระบวนการออกแบบย้อนกลับ



สรุปองค์ความรู้ จากใบความรู้จะเห็นได้ว่า การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ เป็นการวางแผนและจัด ทำหน่วยการเรียนรู้เป็นสาระการเรียนรู้ย่อยของรายวิชา โดยมีมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด เป็นเป้าหมายสำคัญของการเรียนรู้ และเป็นขั้นตอนสำคัญที่สุดในการจัด ทำหลักสูตรสถานศึกษานายแบบหลักสูตรอิงมาตรฐาน การออกแบบหน่วย อันดับแรก เราต้องกำหนดชื่อเล่นของหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานและตัวชี้วัด และดูว่าประจำ หน่วยการเรียนรู้นั้นสาระสำคัญคืออะไร มีสาระการเรียนรู้อย่างไร จะสร้างชิ้นงาน หรือมอบหมายภาระงานอะไรให้แก่ผู้เรียนได้ปฏิบัติ มีวิธีการวัดและประเมินผลการ เรียนรู้อย่างไร กิจกรรมการเรียนรู้หรือวิธีการจัดการเรียนการสอนที่จะใช้ และเวลา เรียน น้ำหนักคะแนนประจำหน่วยการเรียนรู้ ส่วนขั้นตอนการออกแบบหน่วย ต้องระบุ ผลลัพธ์ที่ต้องการหรือกำหนดเป้าหมาย กำหนดหลักฐานการเรียนรู้ที่ยอมรับได้ วางแผนการจัดประสบการณ์และการเรียนรู้หรือการเรียนการสอนในการออกแบบ หน่วยการเรียนรู้

ครั้งที่ 12 10/01/2566 ใบความรู้ที่ 12 การประเมินจากการสื่อสารระหว่างบุคคล ขอบข่ ายเนื้อหา 1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสื่อสารระหว่างบุคคล 2.ความหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้จาก การสื่อสารระหว่างบุคคล 3.วิธีการหลากหลายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จากการสื่อสารระหว่างบุคคล 4.แนวทางปฏิบัติในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสื่อสารระหว่างบุคคล วิธีการหลากหลายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการติดต่อสื่อสารระหว่างบุคคลสองคนหรือ จากการสื่อสารระหว่างบุคคล มากกว่านั้นขึ้นไป มี 4 องค์ประกอบ 1.การถามตอบในชั้นเรียน 1.ผู้ส่งสาร บุคคลที่ทำหน้าที่ในการส่งสาร 2.การพบปะพูดคุยกับผู้เรียน 2.สาร เรื่องราวที่มีความหมาย อาจอยู่ในรูปของข้อมูล 3.การพูดคุยกับผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้เรียน 3.สื่อ หรือช่องทาง พาหนะของสาร 4.การอภิปรายหน้าชั้นเรียน 4.ผู้รับสาร บุคคลที่รับเรื่องราวข่าวสารจากผู้ส่งสาร 5.การสอบปากเปล่า 6.การบันทึกเหตุการณ์ของผู้เรียน 7.การตรวจการบ้านหรือแบบฝึกหัดประจำวัน การประเมินจากการสื่อสารระหว่างบุคคล ความหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้จาก แนวทางปฏิบัติในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การสื่อสารระหว่างบุคคล 1.วางแผนก่อนมอบหมายการบ้านหรือแบบฝึกหัด 2.มอบหมายการบ้านหรือแบบฝึกหัด เป็นกระบวนการเก็บรวบรวม วิเคราะห์ ตีความ บันทึก 3.ตรวจและประเมินการบ้านหรือแบบฝึกหัด ข้อมูลที่ได้จากการติดต่อสื่อสาร มาตีค่าเปรียบเทียบกับเกณฑ์ ที่กำหนดเอาไว้ ให้ข้อมูลป้อนกลับ จุดที่ต้องปรับปรุงให้แก่ผู้ เรียน

สรุปองค์ความรู้ จากใบความรู้จะเห็นได้ว่า การประเมินจากการสื่อสารระหว่างบุคคล เป็นอีกหนึ่ง ทางเลือกของวิธีการวัดและประเมินการเรียนรู้ ที่นำมาใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เกี่ยวกับผู้เรียนให้สอดคล้องกับสภาพการจัดการเรียนการสอนจริงในชั้นเรียน การ ประเมินจากการสื่อสารระหว่างบุคคล เป็นกระบวนการเก็บรวบรวม วิเคราะห์ ตีความ บันทึกข้อมูล ที่ได้จากการติดต่อสื่อสารตั้งแต่สองคนขึ้นไปหรือมากกว่านั้น การประเมิน จากการสื่อสารระหว่างบุคคลจะประกอบไปด้วย 4 องค์ประกอบได้แก่ ผู้ส่งสาร สาร สื่อหรือช่องทาง และผู้รับสาร ส่วนวิธีการที่หลากหลายของการวัดและประเมินผลการ เรียนรู้จากการสื่อสารบุคคล มี 7 ประเภท ได้แก่ การถามตอบในชั้นเรียน การพบปะพูด คุยกับผู้เรียน การพูดคุยกับผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้เรียน การอภิปรายหน้าชั้นเรียน การสอบ ปากเปล่า การบันทึกเหตุการณ์ของผู้เรียน และการตรวจการบ้านหรือแบบฝึกหัด ประจำวัน

ครั้งที่ 13 17/01/2566 ใบความรู้ที่ 13 การประเมินการปฏิบัติ ขอบข่ ายเนื้อหา 1.แนวคิดและความหมายของการประเมินการปฏิบัติ 2.ลักษณะสำคัญของการประเมินการปฏิบัติ 3.ขั้นตอนการประเมินการปฏิบัติ 4.จุดแข็งและจุดอ่อนของการประเมินการปฏิบัติ



สรุปองค์ความรู้ จากใบความรู้จะเห็นได้ว่า การประเมินการปฎิบัติ เป็นอีกหนึ่งทางเลือกในการ ประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียน ที่คิดว่าน่าจะส่งผลดีต่อการจัดการเรียนการสอนได้ดี กว่าการใช้วิธีการทดสอบเพียงอย่างเดียว การประเมินการปฏิบัติ เป็นกระบวนการ เก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน ผ่านการลงมือปฏิบัติ จริงตามภาระงานที่ผู้สอนได้ออกแบบไว้ แล้วนำข้อมูลที่ได้ มาวิเคราะห์ให้ได้สาระ สนเทศสำหรับการพัฒนาผู้เรียน หรือตัดสินคุณภาพการเรียนรู้

ครั้งที่ 14 17/01/2566 ใบความรู้ที่ 14 การประเมินตามสภาพจริงในชั้นเรียน ขอบข่ ายเนื้อหา 1.แนวคิดและความหมายของการประเมินตามสภาพจริง 2.ลักษณะสำคัญของการประเมินตามสภาพจริง 3.ข้อแตกต่างระหว่างการประเมินการปฏิบัติกับการประเมินตามสภาพจริง 4.แนวทางการประเมินตามสภาพจริงในการจัดการเรียนการสอน 5.ขั้นตอนการประเมินตามสภาพจริงในการจัดการเรียนการสอน



สรุปองค์ความรู้ จากใบความรู้จะเห็นได้ว่า การประเมินตามสภาพจริง เป็นการประเมินที่เน้นให้ผู้เรียนปฏิบัติ ถ้าสามารถปฏิบัติได้ในสถานการณ์จริงจะดีมาก แต่ถ้าไม่ได้ อาจใช้สถานการณ์จำลองที่ พยายามให้เหมือนจริงมากที่สุด หรืออาจจะให้ผู้เรียนไปปฏิบัตินอกห้องเรียนหรือที่บ้าน แล้ว เก็บผลงานไว้ โดยอาจจะเก็บไว้ในแฟ้มสะสมผลงาน แล้วครูเรียกมาประเมินภายหลัง สถานการณ์ที่ประเมินควรเป็นสถานการณ์ที่ประเมินผู้เรียนได้หลายมิติ เช่น ทักษะ ความรู้ ความสามารถ การคิด และคุณลักษณะต่าง ๆ วิธีการที่ใช้ประกอบการประเมินตามสภาพจริง ควรมีหลากหลายประกอบกัน ข้อแตกต่างระหว่างการประเมินการปฎิบัติกับการประเมินตาม สภาพจริง การประเมินการปฏิบัติ จะมุ่งตรวจสอบการตอบสนองของผู้เรียน ในขณะที่การ ประเมินตามสภาพจริง จะให้ความสนใจบริบทสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวกับการตอบสนอง

ครั้งที่ 15 24/01/2566 ใบความรู้ที่ 15 การใช้รูบริกส์ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ขอบข่ ายเนื้อหา 1.ความหมายของรูบริกส์ 2.องค์ประกอบของรูบริกส์ 3.การแบ่งประเภทของรูบริกส์ 4.แนวทางและขั้นตอนการสร้างรูบริกส์

ความหมายของรูบริกส์ ลักษณะของรูบริกส์ Rubrics เป็นเครื่องมือการประเมินการปฏิบัติงานหรือ ลักษณะแรก แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้ เกณฑ์การให้คะแนนคุณภาพการปฏิบัติงานของผู้เรียน 1.รูบริกส์แบบองค์รวม (Holistic rubrics) 2.รูบริกส์แบบแยกส่วน (Analytic rubrics) ลักษณะที่สอง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1.รูบริกส์แบบทั่วไป (General rubrics) 2.รูบริกส์เฉพาะ (Task specific rubrics) การใช้รูบริกส์ในการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ องค์ประกอบของรูบริกส์ แนวทางและขั้นตอนการสร้างรูบริกส์ 1.ประเด็นที่จะประเมิน (เกณฑ์) ในที่นี้หมายถึง สิ่งที่ผู้สอน 1.กำหนดชิ้นงานที่ต้องการประเมิน และผู้เรียนร่วมกันกำหนดขึ้น 2.กำหนดประเภทของ Rubrics ที่ใช้ประเมินงาน 3.กำหนดเกณฑ์หรือประเด็นที่ต้องการประเมิน 2.ระดับความสามารถหรือระดับคุณภาพ ในที่นี้หมายถึง 4.กำหนดจำนวนระดับคุณภาพ จำนวนระดับคุณภาพของการปฏิบัติงานตามประเด็นที่จะ 5. เขียนบรรยายคุณภาพของแต่ละระดับ ประเมิน 6.จัดทำเป็นเครื่องมือการให้คะแนนที่สมบูรณ์ 3. การบรรยายคุณภาพของแต่ละระดับ ในที่นี้หมายถึง การเขียนบรรยายหรือพรรณนารายละเอียดเพิ่มเติม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook