Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-book คู่คิดพิชิตวอร์ด

E-book คู่คิดพิชิตวอร์ด

Description: E-book คู่คิดพิชิตวอร์ด
หนังสือเกี่ยวกับหลักการและเทคนิคการพยาบาล เปลี่ยนเรื่องยาก...ให้เป็นเรื่องง่าย...ตามสไตล์พยาบาล

Search

Read the Text Version

test ค่าปกติ ค่าต่ากวา่ ปกติ ค่าสูงกว่าปกติCBC (platelet count) -อาจเกิดโรคของไขกระดกู -อาจเกิดโรคมะเร็งเกีย่ วกับไขกระดกู เชน่ leukemia -อาจเกดิ สภาวะม้ามโตกวา่ กว่าปกติ จงึ ดกั จับทําลายเกล็ดเลือดมากกวา่ ปกติ -อาจเกิดภาวะเม็ดเลอื ดแดงมากPlatelet count : 150-400 ×109/L -อาจเกิดจากรา่ งกายเสยี เลอื ด -อาจขาดธาตุเหล็ก ทาํ ให้ไขกระดกู เรง่ ผลิตเมด็ เลือด : 150,000-400,000 -อาจมกี ารรกั ษามะเร็งดว้ ยวธิ เี คมบี ําบัด แดง cells/mm3 -อาจเกิดจากการขาดฟอลกิ -เม็ดเลอื ดแดงอาจถูกทาํ ลายจากเหตุต่างๆ เชน่ จากReticulocyte 0.5-2.0 %ของ RBC -อาจเกดิ โรคโลหิตจางจากการขาดธาตเุ หลก็ ระบบภมู ิคุ้มกนัcount -อาจเกดิ โรคโลหิตจางเพราะไขกระดูกฝอ่ -อาจเกดิ การตกเลอื ด -อาจไดร้ บั การฉายรงั สีบาํ บัด หรอื เคมีบําบัด -การตอบสนองต่อการรกั ษาอาการขาดธาตเุ หลก็Bleeding time 3-6 min -อาจกําลงั เปน็ มะเร็ง วิตามนิ บี 12 หรือฟอเลต -อาจเกิดโรคไขกระดกู ล้มเหลว -ร่างกายมีเกล็ดเลอื ดตาํ่ เกนิ ไป ร่างกายมเี กลด็ เลือดมากเกินไป -อาจขาดวิตามินซี -ไขกระดูกอาจทํางานบกพร่อง ทําใหผ้ ลติ เกล็ดสารบญั ค เลอื ดออกในเกณฑต์ า่ํ เกินไป -อาจกําลงั เกิดโรคมะเร็งในไขกระดกู -อาจเกดิ โรคมะเร็งเมด็ เลอื ดขาว -อาจเกิดสภาวะมา้ มทาํ งานเกนิ หรือม้ามโต จึงทาํ ลาย เกลด็ เลือดมากกว่าปกติ -อาจเกิดโรคตับอยา่ งร้ายแรง 43

test คา่ ปกติ ค่าตา่ กวา่ ปกติ ค่าสูงกวา่ ปกติCBC (platelet count)Clotting time 5-8 min Clotting time นานมากกวา่ คา่ ปกติ (8 นาท)ี อาจแสดงผลว่า -รา่ งกายอาจขาดองค์ประกอบท่ที าใหเ้ ลือดจบั ตวั เปน็ กอ้ นอยา่ งรา้ ยแรง เช่น คา่ โปรตนี รวมในเลือดอาจตา่ เกินไป คา่ แคลเซยี มและวติ ามิน เค ตา่ เกนิ ไป -อาจมียาละลายล่มิ เลือด (anticoagulants) ตกคา้ งอยูใ่ นกระแสเลอื ด เช่น ยาแอสไพริน หรอื ยาแก้ปวดชนิด “NSAID”APTT (ratio) 30-40 sec -เลอื ดข้นเกนิ ไป เนอ่ื งจากอาจกาลังเกดิ สภาวะลิม่ เลือดกระจายท่วั ภายในหลอด -เลอื ดใสเกนิ ไป อาจขาดโปรตีนในกระแสเลอื ด Ratio : 1.5-2.5 เลือด -อาจเกิดโรคตบั แขง็ -อาจกาลงั มีการกอ่ ตวั ของโรคมะเร็งบางชนิด เช่น มะเร็งรงั ไข่ มะเร็งตับอ่อน -อาจขาดวติ ามินเคPT 11.0-12.5 sec เปน็ ตน้ -อาจมียาเฮพาริน (heparin , ทาใหเ้ ลือดใส) ตกค้าง(Prothrombin -อาจเกิดบาดแผลแลว้ เลอื ดหยุดไหลยากtime ) คา่ ผดิ ปกติในทางท่ีใช้เวลานอ้ ยกวา่ ปกติ อาจแสดงผลวา่ -เลอื ดอาจยงั ขน้ เกินไป คา่ ผดิ ปกตใิ นทางทยี่ าวนานขึ้น อาจแสดงผลวา่ -อาจมโี รคเก่ยี วกับตับทีผ่ ลติ โปรตนี ส่งมาสู่กระแสเลือดมากเกนิ ไป -อาจเกิดโรคตบั (เช่น ตบั แขง็ ตับอกั เสบ ฯลฯ ) เน่ืองจากตบั สรา้ งสารประกอบให้เกิดลิม่ เลอื ด เมื่อตับสารบญั ค อกั เสบจึงสรา้ งสารนไ้ี มเ่ พียงพอ -อาจขาดวติ ามนิ เค -ท่อน้าดีอาจถูกปดิ ก้นั เนอื่ งจากวิตามนิ เค จะถูกผลิต และส่งออกมาใชท้ างทอ่ น้าดี เมื่อทอ่ น้าดผี า่ นไม่สะดวก จงึ ทาให้วิตามนิ เค ไม่พอใช้ -เลอื ดอาจจะใสเกนิ ไป 44

test คา่ ปกติ ค่าต่ากว่าปกติ คา่ สงู กวา่ ปกติCBC (platelet count) เลือดข้นมาก จนอาจมีล่มิ เลือด เลือดใสเกินไปINR INR : 2-3.5 คา่ ผดิ ปกติในทางท่ีใช้เวลาน้อยกว่าปกติ อาจแสดงผลว่า(International -เลือดอาจยงั ข้นเกินไป ค่าผิดปกติในทางท่ียาวนานขนึ ้ อาจแสดงผลวา่normalized -อาจมีโรคเก่ียวกบั ตบั ที่ผลิตโปรตีนสง่ มาส่กู ระแสเลือดมากเกินไป -อาจเกิดโรคตบั (เชน่ ตบั แข็ง ตบั อกั เสบ ฯลฯ )ratio) เน่ืองจากตบั สร้างสารประกอบให้เกิดล่ิมเลอื ด เมื่อ ตบั อกั เสบจงึ สร้างสารนีไ้ ม่เพยี งพอTT (ratio) : 2-3 sec -อาจขาดวติ ามินเค -ทอ่ นา้ ดีอาจถกู ปิดกนั้ เนื่องจากวติ ามินเค จะถกู ผลติ และสง่ ออกมาใช้ทางทอ่ นา้ ดี เมื่อทอ่ นา้ ดีผ่านไม่ สะดวกจงึ ทาให้วติ ามนิ เค ไม่พอใช้ -เลือดอาจจะใสเกินไปสารบญั ค 45

test ค่าปกติ คา่ ตา่ กวา่ ปกติ ค่าสูงกวา่ ปกติCBC (platelet count)FBS < 110 mg/dL -อาจเกิดภาวะ insulinoma ตบั อ่อนผลิตอินซูลินเอง โดยทไ่ี ม่มกี ลโู คสไป -กาํ ลงั เปน็ โรคเบาหวาน กระต้นุ ดังน้นั เม่อื ระดบั อนิ ซูลินในเลือดมากเกิน ทําใหก้ ลูโคสในเลือดตํ่ากว่า -อาจเกดิ ความเครยี ดฉับพลนั ปกติ -อาจกําลังเกดิ โรคไตวายเรอื้ รัง -อาจเกิดสภาวะ hypothyroidism หรอื ตอ่ มไทรอยด์ทํางานมากเกนิ ไป หลงั่ -อาจเกิดภาวะ glucagonoma การทีต่ ับอ่อนหลัง่ ฮอรโ์ มนในการเผาผลาญกลโู คสมากเกนิ ทําให้กลูโคสในกระแสเลอื ดมีระดบั ต่ํา ฮอร์โมน glucagon ออกมาอตั โนมตั ิ ไรก้ าร ควบคมุ จงึ ดึงกลูโคสเขา้ ส่กู ระแสเลือด ทาํ ให้ อยูต่ ลอดเวลา -อาจเกดิ โรคตบั เนอื่ งจากตับเป็นอวัยวะท่สี ง่ กลูโคสเข้าสูก่ ระแสเลือด แต่เม่ือ ระดับกลโู คสในกระแสเลอื ดสูงข้ึน -อาจเกดิ โรคตับออ่ นอกั เสบเฉยี บพลัน ทาํ ให้ ตบั ทาํ หนา้ ท่ไี ม่ครบถ้วนจึงอาจสง่ กลโู คสใหก้ บั เลือดน้อย -ในผ้ปู ่วยโรคเบาหวานทใ่ี หอ้ ินซลู ินเกนิ ขนาด ย่อมมผี ลทําให้กลโู คสในเลอื ดอาจ ควบคมุ การหลงั่ glucagon ไม่ได้ -การกินยารกั ษาโรคความดนั โลหติ สูงชนิดขบั ตาํ่ กวา่ เกณฑ์ปกติ ปัสสาวะ ก็อาจทําใหร้ ่างกายมกี ลโู คสในเลอื ด -การอดอาหาร เขม้ ข้นขึน้สารบญั ค 46

test ค่าปกติ คา่ ตา่ กว่าปกติ ค่าสงู กว่าปกติElectrolytesNa ผใู้ หญ่/ผู้สงู อายุ -กินโซเดยี มหรืออาหารเคม็ มากเกนิ ไป aldosterone-link effect ทาใหไ้ ตดดู กลับ -อาจเกิดโรค addison’s disease จากการที่ต่อมหมวกไตผลิตฮอรโ์ มน aldosterone และ โซเดียมมากเกนิ ไป : 136-145 mEq/L corticosteroid ไมเ่ พียงพอ ทาให้ไตดดู กลับโซเดยี มได้ไมเ่ ต็มที่ -อาจเกิดการเสยี นา้ ผ่านชอ่ งทางเดนิ อาหาร Na : 1 mEq/L = 23 -อาจเกดิ จากอาการอาเจียน หรือท้องร่วงตดิ ตอ่ กันนาน เช่น ทอ้ งร่วง ทอ้ งเสีย และดมื่ น้าไม่ mg/L -อาจเกดิ จากการกินยาขับปสั สาวะ เพียงพอ -อาจมีเหตสุ าคัญ หรอื โรคของไตเอง ทดี่ ดู กลบั โซเดียมไมไ่ ด้อย่างทค่ี วรทา -อาจเกิดการสูญเสียเหงอ่ื มากเกินไปK ผู้ใหญ่/ผสู้ งู อายุ : 3.5-5.0 mEq/L -บรโิ ภคอาหารทอี่ ุดดมด้วยโพแทสเซียมน้อยไป -ผู้ป่วยบรโิ ภคอาหารท่ีอุดมดว้ ยโพแทสเซียม K : 1 mEq/L = 39.1 -ในรา่ งกายคนท่ีสุขภาพไมด่ ีอาจเกิดภาวะฮอร์โมนแอลโดสเตอโรนทางานเกิน มากเกินไป mg/L (hyperaldosteronism) ไตดูดกลบั โซเดยี มมากขึ้น เมอ่ื โซเดียมมากข้ึน โพแทสเซียมจะ -อาจเกดิ ภาวะไตวายอยา่ งเฉยี บพลันหรอื ตา่ ลงไปด้วย เร้อื รัง -อาจมเี หตุทาให้เกิดสภาวะฮอร์โมน aldosterone ทางานตา่ เกนิ ไป ไตดดู กลับ โซเดยี มไม่เต็มท่ี โซเดียมถกู ขบั ออกกบั ปัสสาวะ ทาใหโ้ พแทสเซยี มสูงขึน้สารบญั ค 47

test คา่ ปกติ คา่ ตา่ กว่าปกติ ค่าสงู กวา่ ปกติ Electrolytes Cl ผใู้ หญ่/ผู้สูงอายุ -ดม่ื นา้ มากเกินไป -รา่ งกายอาจขาดน้า ทาให้คลอไรดใ์ นเลอื ดเขม้ ข้น : 90-106 mEq/L -อาจเกิดจากความผิดปกติของฮอรโ์ มนขับนา้ ออกจากร่างกาย (SIADH) ทาใหค้ ลอไรด์ในเลอื ด ข้ึน Co2 ผู้ใหญ่/ผสู้ งู อายุ เจือจางลง -อาจได้รับน้าเกลือ (normal saline) ทาใหอ้ าจ : 23-30 mEq/L -อาจเกดิ การอาเจยี น หรอื มกี ารดดู เอาของเหลวออกจากกระเพาะอาหารนานเกนิ ไป ได้รบั คลอไรดจ์ ากนา้ เกลือ มากกว่าท่ีปล่อยทิ้งทางสารบญั ค -การเกดิ จากไตอักเสบ ทาใหส้ ญู เสยี เกลอื ปัสสาวะ -อาจเกิดจากโรค addison’s disease ต่อมหมวกไตทางานลดลง ผลิตฮอรโ์ มน aldosterone -อาจเกิดโรคคุชชงิ เปน็ ภาวะทตี่ อ่ มหมวกไตทางาน ไดน้ ้อยลง ไตดดู กลับโซเดียมไดน้ อ้ ยลง ทาใหโ้ ซเดยี มในเลือดลดตา่ ลง คลอไรด์จึงลดลงตามไป เกิน จึงปล่อย aldosterone ออกมามาก ไตดูด ดว้ ย กลบั โซเดยี มมาก คลอไรด์จึงสูงขึน้ ด้วย -อาจเกดิ จากตางานผดิ ปกติ ดดู กลับโซเดยี มมาก เกนิ ไป -อาจเกดิ จากสภาวะครรภเ์ ปน็ พษิ -อาจมีอาการท้องเสียเรือ้ รัง -อาจเกิดการอาเจียนอย่างรุนแรง ทาให้ -อาจมีการสวนใสท่ อ่ ปัสสาวะนานเกินไป ทาให้ไบคาร์บอเนตสญู เสียไปกบั ปัสสาวะ นนั้ คือ มี เสียนา้ ในร่างกาย ความเข้มข้นของ ผลตอ่ เน่ืองทาให้คาร์บอนไดออกไซตใ์ นเลือดลดระดบั ลง คาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดมีมากขนึ ้ -อาจกาลงั มีสภาวะโรคไตวายระยะเร่ิมต้น จงึ ควบคมุ ไบคาร์บอเนตไมไ่ ด้ -อาจมีการดดู นา้ ออกจากกระเพาะอาหาร -อาจเกิดสภาวะความเป็นกรดจากโรคเบาหวาน ร่างกายใช้ไบคาร์บอเนต เพื่อชว่ ยลดความ ทงิ ้ ออกนอกร่างกาย เป็นกรด -อาจเดินโรคปอดอดุ กนั้ เรือ้ รัง -อาจอยใู่ นสภาวะอดอาหาร 48

test คา่ ปกติ คา่ ต่ากว่าปกติ ค่าสงู กว่าปกติElectrolytes - อาจกินอาหารโปรตีนต่าเกินไป - อาจกินอาหารโปรตีนมากเกินไป - ร่างกายมีปัญหา การดดู ซมึ สารอาหาร - อาจมีปัญหาเก่ียวกบั ไตBUN ผูใ้ หญ่ 10 -20 - อาจมีปัญหาเกี่ยวกบั โรคตบั - อาจเกิดจากการกินยาบางตวั mm/dL - อาจดื่มนา้ น้อยไป เด็ก 5 – 8 mm/dL - อาจมีการตกเลือดในชอ่ งทางเดนิ อาหาร - อาจออกกาลงั กายหกั โหมจนเกินไป Cr ผู้ชาย 0.6 – 1.2 mm/dL - เกิดอาการออ่ นแรง หรือเป็นบคุ คลท่ีไมใ่ คร่จะได้เขยือ้ นเคลื่อนไหวร่างกาย - ตบั ออ่ นอาจหลง่ั เอนไซม์ยอ่ ยอาหาร GFR ผ้หู ญงิ 0.5 – 1.1 mm/dL - เกิดจากมวลกล้ามเนือ้ ลดลง เชน่ อาจเกิดโรคกล้ามเนือ้ ลีบ โรคกล้ามเนือ้ อ่อน บกพร่อง ทาให้เหลือของเสียมากกว่าปกติ วยั รุน่ 0.5 – 1.0 mm/dL แรงชนิดรุนแรง - มีปัญหาจากเหตสุ าคญั ตอ่ ไตหรือโรคไตสารบญั ค เดก็ 0.3 – 0.7 mm/dL อย่างใดอยา่ งหนงึ่ - อาจมีเหตสุ าคญั หรือโรคร้ายแรงนาไปสู่ 90 หรอื มากกว่า ไตเริ่มเสือ่ ม (มโี ปรตนี ในปัสสาวะ) ค่า GFR ปกติ สภาวะของโรคกล้ามเนือ้ สลาย 60-89 ไตเสอ่ื ม คา่ GFR ลดลงเลก็ น้อย - อาจเกิดจากสภาพร่างกายใหญ่โตไม่สม 30-59 สว่ น เชน่ โตเกินวยั 15-29 ค่า GFR ลดลงปานกลาง นอ้ ยกวา่ 15 ค่า GFR ลดลงมาก 49 ไตวาย

test คา่ ปกติ คา่ ตา่ กวา่ ปกติ ค่าสูงกว่าปกติLFT (liver function test)Total protein ผู้ใหญ่ 6.4 – 8.3 - อาจขาดสารอาหาร - อาจเกิดสภาวะขาดนา้ gm/dL - อาจเกิดการเสียนา้ จากการอาเจียน เดก็ 6.2 – 8 - อาจเกิดโรคในชอ่ งทางเดนิ อาหาร อาการท้องเดนิ gm/dL - อาจเกิดสภาวะความเป็นกรดจาก - อาจเกิดโรคเกี่ยวกบั ความผิดปกตขิ องเลือด อาการของโรคเบาหวานAlbumin 3.5 – 5 gm/dL - อาจเกิดโรคมะเร็งไขกระดกู - อาจเป็นโรคเบาหวานที่ไมร่ ู้ตวั หรือไมค่ วบคมุ - อาจเกิดโรคมะเร็งไขกระดกู - อาจเกิดความผิดปกตใิ นระบบดดู ซมึ อาหาร - อาจเกิดสภาวะการขาดนา้ - อาจแสดงวา่ ตบั ทางานผิดปกติ - อาจเกิดพิษจากการตงั้ ครรภ์ - อาจเกิดโรคไตเสื่อม - อาจเกิดการเสียเลือด เชน่ ริดสีดวงทวาร - อาจเกิดโรคเก่ียวกบั ตบั ทาให้ผลติ Albumin ได้น้อย เช่น โรคตบั อกั เสบ โรค ตบั แขง็ - อาจขาดสารอาหารโดยเฉพาะโปรตีน - อาจเกิดโรคไต - อาจเกิดจากการร่ัวซมึ ที่ผนงั เส้นเลือดแดงฝอยสารบญั ค 50

test ค่าปกติ คา่ ต่ากวา่ ปกติ ค่าสงู กวา่ ปกติLFT (liver function test) - - อาจมีสาเหตจุ ากเม็ดเลอื ดแดงถูกทาํ ลายมากกวา่ ปกติ หรอื ตับทาํ งานผดิ ปกติ หรอื ไตทํางานผิดปกติ -กรณีโรคโลหติ จาง เม็ดเลือดแดงมขี นาดผิดปกติ ถกู ม้ามทําลายได้งา่ ย จงึ ทาํ ให้เกดิ bilirubin สูงขึน้Total bilirubin ผ้ใู หญ่ 0.3 – 1.0 gm/dL -กรณีทีร่ า่ งกายมีการซ้ําเลือดขนาดใหญ่ เป็นจาํ้ แดงๆหรอื ดําๆ ทาํ ให้เส้นเลอื ดฝอยแตก หรือเมด็ เลือดแดง ทารก 2.0 – 12.0 gm/dL แตก ม้ามจงึ ต้องทาํ ลาย bilirubin จึงสูงขนึ้ -กรณีตับมภี าวะผิดปกติ เชน่ ตบั อักเสบ ตบั แขง็ ทาํ ใหต้ ับทาํ งานไดไ้ ม่เตม็ ที่ การเปลี่ยน bilirubin เปน็Direct bilirubin : 0.1-0.3 mg/dL -มกี ารขับทงิ้ direct bilirubin direct bilirubin ได้ไม่ดี จงึ มี bilirubin คงั่ ในการแสเลือด โดยตบั และไต ไดอ้ ย่างดี -กรณีที่ไตทําหนา้ ท่บี กพรอ่ ง การปลอ่ ยท้งิ direct bilirubin ออกไปกบั ปสั สาวะไมส่ ะดวก อาจมสี ว่ นทาํ ให้ total bilirubin ในเลอื ดสงู ข้นึAST ชาย : 8-46 U/L - -อาจเกิดนิ่วในถงุ น้าํ ดี จงึ ปิดทางผา่ นออกของช่องทางท่อถุงนา้ํ ดไี ด้ direct bilirubin จึงลน้ หญงิ : 7-34 U/L เขา้ สู่กระแสเลือด -อาจเกิดโรคทีม่ ผี ลกระทบตอ่ ตับ เชน่ มะเรง็ อาการฟกชํา้ จงึ ทาํ ใหท้ อ่ นํา้ ดอี ดุ ตนั ผ่าไมส่ ะดวก -อาจเกดิ จากสภาวะภายในตับ ทเ่ี ปลี่ยน bilirubin เป็น direct bilirubin เรียบรอ้ ยแลว้ แต่ ไม่ปลอ่ ยทิง้ ทางออกของทอ่ น้าํ ดี -อาจเกิดการอกั เสบหรือเจ็บปวดของเนือ้ เย่ือของหวั ใจ หรือตบั หรือกล้ามเนือ้ หรือตบั ออ่ นก็ได้ -ดมื่ แอลกอฮอล์มากเป็นประจา -อาจตดิ เชือ้ ไวรัสจากโรคโมดนนิวคลีโอซสิสารบญั ค 51

test คา่ ปกติ ค่าต่ากวา่ ปกติ ค่าสงู กวา่ ปกติLFT (liver function test) - - อาจมีสาเหตุจากเมด็ เลือดแดงถกู ทาํ ลายมากกวา่ ปกติ หรือตบั ทาํ งานผดิ ปกติ หรอื ไตทํางานผิดปกติTotal bilirubin ผใู้ หญ่ 0.3 – 1.0 -กรณโี รคโลหิตจาง เม็ดเลือดแดงมขี นาดผิดปกติ ถกู มา้ มทาํ ลายได้ง่าย จึงทาํ ใหเ้ กิด bilirubin สูงขึน้ -มีการขบั ทิ้ง direct bilirubin -กรณที ่ีรา่ งกายมกี ารซา้ํ เลอื ดขนาดใหญ่ เป็นจํ้าแดงๆหรอื ดาํ ๆ ทาํ ให้เสน้ เลอื ดฝอยแตก หรือเมด็ เลือดแดง gm/dL โดยตบั และไต ได้อยา่ งดี แตก มา้ มจึงตอ้ งทําลาย bilirubin จึงสูงขนึ้ ทารก 2.0 – 12.0 -กรณีตับมภี าวะผิดปกติ เชน่ ตบั อักเสบ ตับแขง็ ทําใหต้ บั ทํางานไดไ้ มเ่ ต็มท่ี การเปลีย่ น bilirubin เปน็ gm/dL - direct bilirubin ได้ไมด่ ี จงึ มี bilirubin คัง่ ในการแสเลือด -กรณที ี่ไตทําหนา้ ทบ่ี กพรอ่ ง การปลอ่ ยทงิ้ direct bilirubin ออกไปกับปสั สาวะไมส่ ะดวก อาจมสี ว่ นทาํ ให้Direct : 0.1-0.3 mg/dL total bilirubin ในเลอื ดสงู ขึ้นbilirubin -อาจเกดิ นว่ิ ในถุงน้าํ ดี จึงปิดทางผ่านออกของชอ่ งทางท่อถุงนํา้ ดไี ด้ direct bilirubin จึงลน้ AST ชาย : 8-46 U/L เข้าสูก่ ระแสเลอื ด หญิง : 7-34 U/L -อาจเกดิ โรคท่ีมีผลกระทบต่อตับ เชน่ มะเร็ง อาการฟกช้าํ จึงทําใหท้ อ่ นาํ้ ดีอดุ ตนั ผ่าไมส่ ะดวกสารบญั ค -อาจเกิดจากสภาวะภายในตบั ท่เี ปล่ียน bilirubin เป็น direct bilirubin เรียบรอ้ ยแลว้ แต่ ไม่ปลอ่ ยทง้ิ ทางออกของท่อนาํ้ ดี -อาจเกิดการอกั เสบหรือเจ็บปวดของเนือ้ เยื่อของหวั ใจ หรือตบั หรือกล้ามเนือ้ หรือตบั ออ่ นก็ได้ -ดมื่ แอลกอฮอล์มากเป็นประจา -อาจตดิ เชือ้ ไวรัสจากโรคโมดนนิวคลีโอซิส 52

test ค่าปกติ คา่ ตา่ กว่าปกติ ค่าสูงกว่าปกติ LFT (liver function test) ALT 0-48 U/L -กรณี ALT ต่า พรอ้ มกบั 1. ALT สูงมากในระดับ 50 เทา่ ข้นึ ไปจากค่าปกติ อาจแสดงวา่ ALP 30-120 U/L คอเลสเตอรอลสูงเกินปกติ อาจ -เซลลต์ บั กาลงั เสยี หายจากการโจมตขี องเชอ้ื ไวรัสตับชนดิ Aสารบญั ค พบได้ในกรณที อ่ นา้ ดีในตับอดุ ตนั 2.ระดับปานกลางถงึ สงู อาจแสดงว่า -ตบั อกั เสบจากการกินแอลกอฮอลอ์ ย่างหนกั -ตับอาจได้รับพษิ จากยา 3.ระดับสงู เล็กนอ้ ยถงึ ปานกลาง อาจแสดงวา่ -อาจเริ่มมอี าการของโรคตบั แขง็ -อาจเริม่ สภาวะตบั อกั เสบ 4.สูงกระเพ่ือมขน้ึ เลก็ นอ้ ยเปน็ คร้ังคราว อาจแสดงว่า -ตบั อ่อนอักเสบ -อาจเกิดโรคกล้ามเน้อหวั ใจขาดเลอื ด -อาจขาดสารอาหารโดยเฉพาะ -อาจกาลงั เกิดโรคตับแข็งในระยะตน้ โปรตนี -อาจเกดิ การอดุ ตนั ของท่อน้าดภี ายในตบั หรอื ภายนอกตบั -ร่างกายขาดธาตุแมกนเี ซียม -อาจเกดิ โรคมะเร็งตบั ในระยะต้น -ร่างกายขาดวติ ามนิ ซี -อาจเกดิ โรคมะเรง็ แพร่กระจายไปสู่กระดูก -อาจเปน็ โรคโลหติ จางชนิดรา้ ยแรง -อาจกาลงั เกดิ โรคไขข้ออกั เสบ -อาจเกิดลาไส้ชาดเลอื ดเฉพาะท่ี -อาจเกิดโรคกล้ามเนอื้ หวั ใจขาดเลอื ด 53

กำรตรวจปสั สำวะ ค่ำผลกำรตรวจปสั สำวะ ลกั ษณะทำงกำยภำพของนำ้ ปสั สำวะ รายการ คา่ ปกติ เม็ดเลือดขาว WBC(White Blood Cells) ตรวจไมพ่ บสงิ่ ทต่ี รวจ ลักษณะปกติ ลักษณะท่ีผิดปกติ เม็ดเลอื ดแดง RBC (Red Blood Cells ) ตรวจไม่พบ ใสซีด : - อาจเปน็ โรคไต เซลเย่ือบุทางเดินปสั สาวะ Epithelial Cells Negativeสี เหลอื งซีดหรอื เหลืองเขม้ นา้ ตาลในปัสสาวะ Glucose ตรวจไมพ่ บ - อาจเป็นโรคเบาหวาน นา้ ดี Bilirubin ตรวจไม่พบ พอสมควร เหลอื งจดั : - อาจขาดนา้ ภาวะเปน็ กรดในร่างกาย Ketones ตรวจไมพ่ บ แดง : - อาจมเี ลอื ดปน ความถว่ งจาเพาะ Specific Gravity 1.003 – 1.030ความใส ใสและไมม่ ตี ะกอน ขุน่ : - อาจมเี ม็ดเลอื ดปะปน เลอื ด Blood ตรวจไม่พบ ความเปน็ กรด - ด่าง pH 4.6 - 8.0กลน่ิ คล้ายเปลือกไม้ - อาจมเี ช้ืออสุจิปะปน - อาจมีเชือ้ โรค โปรตนี Protein ตรวจไมพ่ บ ฉนุ : - อาจกินอาหารกลิน่ แรง สารทีไ่ ด้จากนา้ ดี Urobilinogen 0.3-1.0 EU/dL - อาจมกี ารอักเสบทชี อ่ ง ภาวะติดเชือ้ แบคทีเรีย Nitrite ตรวจไมพ่ บ ทางเดินปสั สาวะ เม็ดเลอื ดขาว Leukocytes ตรวจไม่พบ - อาจมกี รดอะมิโน(โปรตนี ) สี Color สีเหลอื ง ใส ปะปน ความ 1.005 – 1.030 สงู : อาจเข้มขน้ เพราะรา่ งกายขาดนา้ ที่มา:https://www.siamhealth.net ถ่วงจาเพาะ ต่า : อาจเจือจางเพราะโรคไตสารบญั ค 54

3.3 กำรตรวจคลน่ื ไฟฟำ้ หวั ใจ (electrocardiography) คลน่ื ไฟฟา้ หัวใจ เครื่องมอื ทใี่ ช้(Elektrokardiogram : EKG หรอืElectrocardiogram : ECG) หมายถงึการทดสอบสัญญาณไฟฟา้ ของหัวใจในแต่ละจังหวะการเต้นของหัวใจ ตำแหนง่ กำรตดิสารบญั ค ท่ีมา:http://www.person.ku.ac.th V1 ชอ่ งซี่โครงที่ 4 ด้านขวาของกระดกู สนั อก ใชส้ ีแดง V2 ช่องซ่โี ครงท่ี 4 ดา้ นซา้ ยของกระดูกสนั อก ใช้สเี ขยี ว V3 กึ่งกลางระหวา่ งเส้นต่อ V2 และ V4 ใชส้ เี หลอื ง V4 ช่องซี่โครงที่ 5 ตรงแนวกง่ึ กลางของกระดกู ไหปลารา้ ใชส้ นี า้ ตาล V5 ชอ่ งซ่ีโครงที่ 5 ตรงแนวขอบหนา้ ของรกั แร้ซ้าย ใช้สีดา V6 ชอ่ งซ่ีโครงท่ี 5 ในแนวรักแรซ้ ้าย ใช้สีม่วง ที่มา:http://www.person.ku.ac.th 55

ขน้ั ตอนการปฏิบัติ 1. แพทย์สงั่ ตรวจ EKG 2. เจ้าหนา้ ทปี่ ฏิบัตงิ านหน้าหอ้ งตรวจนาผปู้ ว่ ยมายงั หอ้ งปฏิบตั ิการพยาบาล 3. พยาบาลห้องปฏบิ ัติการพยาบาล อธบิ ายผปู้ ่วยเกีย่ วกบั ขั้นตอนการเตรียมตัวก่อน และขณะตรวจEKG อธบิ ายให้ผปู้ ่วยในเรอ่ื ง - กรณผี ู้ป่วยเปน็ ผู้หญงิ ให้ปลดตะขอเส้ือชัน้ ในออก - เก็บอุปกรณโ์ ลหะ หรือโทรศพั ทม์ ือถือออกห่างจากตัวผปู้ ่วย - ระหวา่ งการตรวจอยา่ พูดหรือเคลอ่ื นไหวเพราะจะทาให้เกิดคล่นื รบกวนคล่ืนไฟฟ้าหวั ใจ - การตรวจคลน่ื ไฟฟ้าหวั ใจไมเ่ จ็บและไม่เสยี เวลา ให้ผู้ปว่ ยนอนบนเตียง พยาบาลจะนาขวั้ ไฟฟา้ มา ติดบรเิ วณแขนขา และหนา้ อก หลงั จากน้นั จะใช้ เวลาในการตรวจเพยี ง ๕ นาที 4. พยาบาลจัดทา่ นอนให้ผู้ปว่ ยนอนหงายราบ 6. ติด lead EKG เริม่ จากแขนทง้ั 2 ข้าง RA, LA ขา 2 ข้าง RF, LFตามด้วย V1-V6 ตามจุกสี 5. เตรียมอุปกรณ์เคร่อื ง EKG 7. Check ดหู นา้ จอขึ้น Auto ความเรว็ จะอยูท่ ่ี 25 mm / s 10 mm/ mv การเพิ่ม ลด ขนาด ความเร็วของกระดาษ สามารถกดตวั เลขไดเ้ ลย 8. check ดคู วามเรียบรอ้ ยของ EKG กดป่มุ Start/Stop RUN EKG รอใบ EKG ออกมา กดปิดเคร่ือง ปมุ่ Power แช่ไวน้ าน 5 วินาที 9. นา lead EKG ออกจากผปู้ ่วย เริม่ จาก V1-V6 กอ่ น เพราะจุกจะดูดผิวหนังผปู้ ว่ ยถา้ ทงิ้ ไว้นาน ผิวจะมีรอยแดง ตามด้วยแขน,ขา 10. บนั ทกึ ผลลงสมดุ ปกติ, ไมป่ กติสารบญั ค 11. นาผู้ปว่ ยพบแพทย์ 56

วนั นก้ี ็ทำใหด้ ีทสี่ ดุ วนั นเ้ี ปน็ วันทีต่ อ้ งทำให้ดที ่สี ดุ นี่เป็นเคลด็ ลับ ของกำรทำให้สบำยใจ #จดหมำยเหตพุ ทุ ธสารบญั ค 57

บทที่ 4 ทักษะปฏิบตั ิกำรพยำบำลสารบญั ค 58

อปุ กรณ์ 4.1 กำรวดั สญั ญำณชพี (Vital Signs)สารบญั ค ขนั้ ตอนการวดั 1.ล้างมือใหส้ ะอาด 2.ตรวจสอบช่ือ-สกลุ ของผปู้ ่วยและแจ้งวตั ถปุ ระสงค์ 3.จัดท่าใหแ้ ขนอยูใ่ นระดับหัวใจ 4วัดสญั ญาณชพี โดยรบกวนผปู้ ่วยใหน้ อ้ ยที่สุด 4.1 วดั อณุ หภูมิ ตรวจสอบใหป้ รอทแก้วอยใู่ นกระเปราะตา่ กวา่ ระดบั 35 ℃ เลอื กนิดปรอทให้ ถูกตอ้ งกับวธิ กี ารวดั วดั ทางปาก (ใหผ้ ู้ปว่ ยอา้ ปากกระดกล้ิน วางปรอทไว้ใตล้ ิน้ ปิดปากใหส้ นิท นาน 3-5 นาที) 4.2 วดั ทางรกั แร้ ซบั รักแร้ใหแ้ หง้ วางปรอทตรงกลางรกั แร้ใหผ้ ูป้ ่วยหุบรกั แร้ นาน 6-8 นาที 4.3วดั ทางทวารหนัก หล่อลื่อดว้ ยวาสลีนค่อยๆสอดเขา้ ทวารหนักนาน 2 นาที เด็ก < 1 ปี ลึก ½ นิ้ว เดก็ โต ลกึ 1 นิ้ว ผู้ใหญ่ ลกึ 11/2 นิ้ว 5.จับชีพจรเตม็ 1 นาที 6.นบั หายใจเต็ม 1 นาที 7.นาปรอทจากตาแหนง่ ที่วัด เชด็ ดว้ ยสาลแี ละอา่ นผล 8.วดั ความดนั โลหติ อา่ นคา่ 9.จัดทา่ ใหผ้ ู้ป่วยสุขสบาย เก็บอปุ กรณแ์ ละลา้ งมอื 10.บนั ทกึ ขอ้ มูลทกุ ครั้งตามวนั เวลาท่ีวดั จรงิ 59

ตารางการแบง่ ระดับความ รุนแรงของความดันโลหติ สูง จาแนกตามความรนุ แรงใน ผใู้ หญอ่ ายุ 18 ปขี ้นึ ไป ระดับอณุ หภูมริ า่ งกายสารบญั ค 60

.42 กำรใสส่ ำยยำงเขำ้ กระเพำะอำหำร (NG Tube) ขน้ั ตอน เดก็ 1.แนะนาตวั และบอกวัตถุประสงค์ ผใู้ หญ่ 2,ล้างมือ และเตรียมอุปกรณ์สารบญั ค 3.จดั ทา่ ศรี ษะสงู 4.เลือกจมูกขา้ งที่ปกติ 5.ใสถ่ ุงมอื สะอาด 6.วดั ตาแหน่งของสายตามลักษณะการใส่และเหมาะสมกับวยั 7. หลอ่ ล่อื นสายดว้ ย KY Jelly 8.ใส่สายเข้าจมูกพร้อมกบั ให้ผปู้ ว่ ยช่วยกลนื 9. ทดสอบสาย การทดสอบสาย 61 -ใช้ asepto syring ดดู gastric content ถ้าพบ gastric content แสดงว่า สายอยู่ในกระเพาะอาหาร ถา้ ไมพ่ บ gastric content ให้ ทดสอบวธิ ที ่ี 2 -ใช้ Stethoscope วางบรเิ วณใต้ Sternum ซ้าย ใช้ asepto syring ดันลมเข้าไป 10-20 cc (แรงและเรว็ )ถา้ ไดย้ ินเสยี ง “ฟีด” แสดงวา่ สาย อยู่ในกระเพาะอาหารแลว้ ดดู ลมทเี่ ขา้ ไปออกเทา่ เดิม (ปริมาณทด่ี ันเขา้ ไป) -จมุ่ ปลายสาย NG ในแกว้ นา้ สังเกตฟองอากาศตามจังหวะหายใจถ้าไม่มี ฟองอากาศ แสดงวา่ สายอย่ใู นกระเพาะอาหารถา้ มีฟองอากาศตามจังหวะ การหายใจแสดงสายอย่ใู นปอดใหร้ ีบดึงสายออกทนั ที

4.3 กำรใหอ้ ำหำรทำงสำยยำง (Nasogastric Tube Feeding)สูตรอาหาร การเตรียมอาหาร 1.ตรวจสอบช่ือ-สกุลของผปู้ ว่ ย1.สตู รนา้ นมผสม (milk-based formulas) นมเป็นหลกั และอาจมไี ข่ ครีม น้าตาล 2.เตรียมอุปกรณอ์ าหารแนวการรกั ษาให้น้ามนั พืช นา้ ผลไม้ เพ่อื ใหไ้ ด้พลงั งานและสารอาหาร อณุ หภูมพิ อเหมาะ และบดยาใหล้ ะเอยี ด2.สตู รอาหารปนั่ ผสม (blenderized diet: BD) อาหาร 5 หมู่ ซึง่ มผี ัก ผลไม้ พร้อมละลายนา้ การให้อาหารเน้ือสัตว์ นา้ ตาลและ ไขมนั ทาให้สกุ แลว้ ปน่ั ผสมกัน 4.จัดอปุ กรณ์ใหค้ รบ 1.ล้างมอื ให้สะอาด3.สตู รอาหารสาเรจ็ รปู (Commercial formulas) มีทั้งชนดิ ผงและของเหลว เช่น Ensure 2.เตรียมอุกรณ์ในผ้ปู ว่ ยทว่ั ไป 3.จัดทา่ นอนศรี ษะสงูสตู รสัดสว่ น CHO:PHOT:FAT = 55:30:15 4.กรณผี ู้ป่วยมีทอ่ ชว่ ยหายใจควรประเมนิ ว่ามีเสมหะหรือไม่Neo-mune ใหผ้ ้ปู ว่ ยท่ตี อ้ งการโปรตีน และพลงั งานสูง CHO:PHOT:FAT =50:25:25 หากมคี วร 5.ดดู เสมหะกอ่ นทุกครง้ั-B.D. 1:1 สารอาหาร 1 ml ให้พลังงาน 1 kcal 6พบั สาย ดงึ จกุ ที่ปดิ หวั ต่อ ใชส้ าชุบนา้ ต้มสกุ เชด็ จกุ-B.D. 1:1.5 สารอาหาร 1 ml ใหพ้ ลงั งาน 1.5 kcal อปุ กรณ์ 7.ทาการทดสอบสาย (ตามการใส่ NG)-B.D. 1:2 สารอาหาร 1 ml ให้พลงั งาน 2 kcal 8.พับสาย ปลด Asepto syringe ตอ่ กบั set ให้ตวั อยา่ ง BD (1:1.5) 30 ml หมายถงึ มพี ลงั งานท้ังหมดเท่ากับ 450 kcal อาหารท่เี ตรยี มไว้ 9.ปรับ drop ไม่ชา้ หรอื เรว็ เกินไปTrick 10.อาหารเกอื บหมดเตมิ น้า 20-50 cc และยาหลังอาหาร ท่เี ตรียมไวล้ งไปใช้ Asepto syringe ดดุ content จากกระเพาะถา้ มี 11.พบั สาย ปลด set ให้อาหาร ปิดจุกมากกวา่ 50 cc ดันกลบั ชา้ ๆ และเล่อื นออกไป 1 ใหผ้ ปู้ ว่ ยนอนท่าศีรษะสูง หรือนัง่ พกั 30-60 นาที (ในชั่วโมง หลงั จากนนั้ กลบั มาทดสอบดูใหม่ ถา้ มีไมเ่ กิน ผู้สูงอายุให้นอนทา่ ศีรษะสงู หรอื นัง่ พัก 1-2 ชวั่ โมง)สารบญั ค 50 cc ใหด้ ันกลับช้า ๆ และให้อาหารได้ 62

4.4 กำรทำแผล (Dressing) ชนิดของแผล 2.การทาแผลชนิดแห้ง (Dry dressing) อปุ กรณ์ 1.การทาแผลชนิดเปยี กเปยี ก (Wet dressing) ทาในแผลทมี ีปากแผลปดิ เชน่ แผลผา่ ตดั ทมี่ สี ารคดั หลั่ง จากแผลเลก็ น้อยหรอื ไมม่ แี ผลที่ไม่มารสญู เสยี เนอื้ เยอ่ื แผล ทาเมอ่ื มีการสูญเสียเนอ้ื เยอ่ื เพ่อื ช่วยขจัดสงิ่ แปลกปลอม หรอื สะอาด เช่น แผลถลอก แผลมีดบาด แผลเย็บ แผลท่อ เนอ้ื เยอ่ื ท่ีตายแล้ว ซงึ่ ไม่สามารถเย็บปิดแผล โอกาสติดเชือ้ ระบาย งา่ ยเม่ือแผลหายแลว้ มกั มีแผลเปน็ ขนาดใหญ่ ต้องใชก้ อ๊ สชบุ 0.9 % NSS pack เชน่ แผลไฟไหม้ แผลกดทับสารบญั ค 63

ขนั้ ตอนการทาแผล ขนั้ ตอนการเตรียม Trick 1.แจ้งวตั ถุประสงคใ์ นการทาแผล 1.ลา้ งมือ แบบ Hygienic hand washing เพื่อประเมนิ แผล non tooth forceps 2.เปิด set ทาแผล ใช้ Transfer forces หยบิ ของ 2.เตรียมชามรปู ไตสาหรบั ประเมินแผล ปิด mask sterile set เพ่ิมเตมิ และจัดเครือ่ งใช้ใน set 3.ปิดพัดลม จดั ส่งิ แวดลอ้ ม และจัดท่าผปู้ ่วย tooth forces 3.เทนา้ ยา เพิม่ เตมิ ตามลักษณะแผล 4.สวมถุงมือสะอาด และวงชามรปู ไตใกลแ้ ผล 4.ใช้ tooth forceps หยิบผา้ ปิดแผลด้านนในทิ้ง 5.เปดิ แผล และประเมินแผล จากน้ันทาแผล 6.ล้างมอื แบบ hygienic hand washing เพ่อื เตรยี ม 5.ใช้ non tooth forceps หยิบสาลีชบุ alcohol 70% 7.อปุ กรณ์ ส่งให้ tooth forceps เช็ดวนรอบขอบแผลออกนอก เป็นวง รัศมี 2-3 นวิ้ ให้ tooth forceps อยู่ล่าง การทาแผลชนดิ ตา่ ง ๆ เสมอ 6.ทาแผลตามลกั ษณะแผล แผลเปียก (Wet dressing) 7.ปดิ แผล และปิดพลาสเตอร์ 8.จัดทา่ ผปู้ ่วย ใหค้ าแนะนาการดแู ลแผลและอาหาร ขัน้ ตอนเหมือนแผลแห้งและเช็ดดา้ นในแผลดว้ ยนา้ ยาฆา่ เชือ้ ตามแผนการรกั ษา และ pack แผลด้วยผา้ กอซชบุ NSS + 9.เกบ็ อุปกรณ์ Povidine Iodineสารบญั ค แผลแหง้ (Dry dressing) ใชส้ าลชี ุบ alcohol 70% เช็ดวนรอบขอบแผลจากในไปนอกเปน็ วงกว้างจนสะอาด แผลท่อระบาย (Drain) ใชส้ าลีชบุ NSS เชด็ รอบขอบแผลจากโคนทอ่ ระบายและผิวหนงั รอบแผลจากนั้นใชส้ าลีชบุ นา้ ยาฆา่ เช้ือตามแผนการรักษา เชด็ รอบ ๆโดยวนจากท่อออกดา้ นนอกปดิ แผลโดยการตดั y-gauze วธิ กี ารตัดทอ่ ระบาย (Penrose drain) 1.ใชก้ รรไกรตัดไหมท่ยี ึดท่อระบายไวก้ ับผวิ หนงั ออกก่อน 2.ใช้ tooth forceps ดงึ ทอ่ ระบายขึ้น ยาว 2.5-5 cm 3.ใช้ tooth forceps หรือ ถงุ มอื sterile จับเขม็ กลดั ซ่อนปลายกดั ทอ่ ระบายทอี่ ยู่เหนือปากแผล 1 cm 4.ใชก้ รรไกรตัดท่อระบายเหนอื เข็มกลดั ซอ่ นปลาย 1 cm 64

1.กำรฉดี ยำเข้ำชนั้ ผวิ หนงั (intradermal 4.5 กำรฉีดยำ (Injection)injection: ID) 2 กำรฉดี ยำเข้ำชน้ั ใตผ้ วิ หนงั (subcutaneous injections: SQ)-ใช้สาหรับการทดสอบการแพ้ (skin testing) เช่น allergytests, tuberculin screening เป็นต้น -ตาแหนง่ ทฉ่ี ีด เรยี งลาดับตามการดูดซมึ ของยาจากมากไปน้อย ไดแ้ ก่ บริเวณหนา้ ท้องจากตาแหนง่-การเลือกตาแหนง่ โดยเลือกที่สีผิวออ่ น ไม่มรี อยโรค ขนปก ใตช้ ายโครง (costal margins) จนถึง iliac crests ดา้ นนอกตน้ แขน ดา้ นหนา้ ตน้ ขา สะโพกคลุมน้อย เนอื่ งจากสามารถมองเห็นการเปลยี่ นแปลงของผวิ หนัง สว่ นบน (upper ventral or dorsal gluteal areas) และหลงั ส่วนบน ตามลาดบัไดง้ า่ ย ตาแหนง่ ท่ีนยิ ม ได้แก่ แขนท่อนปลายด้านใน และหลัง -ในผูท้ ่มี นี า้ํ หนักตวั ปกติ เขม็ ท่ใี ช้มี 2 ขนาด คือ 25-27 gauge ยาว 5/8 นว้ิ ฉีดทํามมุ 45 องศา กบัส่วนบน ผวิ หนงั และขนาดยาว 3/8 น้ิว ฉีดทาํ มมุ 90 องศา กบั ผวิ หนัง โดยหงายด้านปลายตดั ของเข็มข้นึ-ขนาดเข็ม คือ 26-27 gauge ยาว 1/4-1/2 นว้ิ ความจุ 1 -ผปู้ ่วยทอ่ี ว้ นจะมีไขมันปกคลุมชน้ั ใตผ้ วิ หนงั จงึ ตอ้ งจบั ยกเนื้อเยอื่ ขน้ึ และความยาวเขม็ ต้องยาวเท่ากับครึ่งหน่งึmL การฉดี ให้หงายเขม็ ดา้ นปลายตัดข้ึน ฉีดทามุม 5-15 องศา ของความหนาของช้นั ไขมนั ใต้ผิวหนัง ฉีดทํามมุ 90 องศากับผิวหนัง ผปู้ ว่ ยท่มี นี า้ํ หนกั ตัวปกติหรือการฉีดกับผวิ หนังแล้วแทงปลายเขม็ ผา่ นทะลผุ วิ หนัง ประมาณ 1/8 นิ้ว ตอ้ งตรงึ ผิวหรือจับยกเนื้อเยือ่ ขึ้น ฉีดทํามุม 45-90 องศากบั ผิวหนงั ผ้ปู ่วยท่ีมีน้าํ หนักตัวนอ้ ยกวา่ ปกติ เนอ้ื เยือ่ ชน้ั ใต้ผวิ หนังจะนอ้ ย ตําแหน่งทเ่ี หมาะสมในการฉีดมากทสี่ ดุ คอื ที่หน้าทอ้ ง http://courseware.npru.ac.th http://courseware.npru.ac.th 65สารบญั ง

3.กำรฉดี ยำเขำ้ ชน้ั กลำ้ มเนอื้ (intramuscular injection: IM) -ขนาดเขม็ ทใ่ี ชฉ้ ีดยาเข้าชัน้ กลา้ มเนือ้ ผู้ป่วยทผี่ อมความยาวเข็มท่ใี ชอ้ ยู่ทีป่ ระมาณ 1/2-1 น้ิว ส่วนผู้ป่วยทอ่ี ว้ นอาจต้องใช้เขม็ ท่ีมคี วามยาวถงึ 3 นวิ้ การฉีดทามมุ 90 องศา กบั ผวิ หนัง5.3 การฉดี ยาเขา้ ช้นั กลา้ มเนือ้ (intramuscular injection: IM) -ขนาดเข็มทใี่ ชฉ้ ดี ยาเข้าชัน้ กลา้ มเนื้อ ผปู้ ่วยท่ผี อมความยาวเขม็ ทใี่ ช้อยทู่ ปี่ ระมาณ 1/2-1 นวิ้ ส่วนผู้ปว่ ยทอี่ ว้ นอาจตอ้ งใชเ้ ข็มท่มี คี วามยาวถงึ 3 นว้ิ การฉีดทามมุ 90 องศา กบั ผิวหนงั ตาแหน่งสาหรบั ฉดี เขา้ ชนั้ กลา้ มเนอื้ ได้แก่ Ventrogluteal การวดั ตาแหนง่ ทาโดยการวางสันมอื ขา้ งขวาลงบนสะโพกซ้าย (หากฉดี สะโพกขวาใหว้ ดั http://courseware.npru.ac.th ตาแหน่งดว้ ยมอื ซา้ ย) ทีก่ ระดูก greater trochanter ให้ปลายน้ิวหัวแม่มอื ช้ไี ปทางขาหนบี ของผูป้ ว่ ย นวิ้ ช้ี อยู่ท่ี anterosuperior iliac spine นิว้ กลางวาดไปทางดา้ นหลังตามแนว iliac crest ไปทางก้นผ้ปู ว่ ย กอ่ นฉีดยาควรให้ผู้ป่วยงอเขา่ และสะโพกเพ่อื ให้กลา้ มเน้ือคลายตัว ลดความเจบ็ ปวดขณะฉดี ยา Gluteus maximus การวดั ตาแหนง่ ทาได้ 3 วธิ ี คือ http://courseware.npru.ac.th วธิ ที ่ี 1 กาหนดขอบเขตกล้ามเนื้อสะโพกทัง้ 4 ด้าน โดยมโนภาพลากเสน้ 4 เส้น ดงั น้เี ริม่ จากขอบบนลากจากขอบกระดกู เชงิ กราน (iliac crest) ขอบลา่ งลากจากรอยทบใตก้ น้ (gluteal fold) ดา้ นขา้ งลากจากแนว ก่งึ กลางลาตวั และแนวข้างลาตวั จากน้ันแบง่ ขอบเขตเป็น 4 ส่วนเทา่ ๆ กัน ตาแหนง่ ท่ีฉดี ยาคอื สว่ นมมุ บนดา้ นนอกและอย่ตู า่ กว่า กระดกู เชงิ กราน 2-3 นว้ิ (upper outer quadrant)สารบญั ง วธิ ีที่ 2 กาหนดจดุ 2 จดุ จดุ แรกทป่ี ุ่มแหลมบนดา้ นหนา้ ของกระดูกเชงิ กราน 66 (anterior superior iliac spine) ลากตรงมาทจ่ี ุดที่ 2 คอื กระดูกก้นกบแล้วแบง่ เสน้ ตรงนี้ออกเป็น 3 ส่วน เท่า ๆ กนั ตาแหน่งฉีดยาอยูส่ ่วนบนดา้ นใกลป้ ุ่มแหลมบนด้านหน้าของกระดูกเชงิ กราน (upper one third) http://courseware.npru.ac.th

วธิ ีท่ี 3 กาหนดจดุ 2 จดุ จุดแรกทปี่ ่มุ กระดูกโคนขา (greater trochanter) ลากตรงมาทจ่ี ุดท่ี http://courseware.npru.ac.th 2 คอื ปุ่มบนดา้ นหลงั ของกระดูกเชงิ กราน (posterior superior iliac spine)ตาแหน่งฉีดยาอยู่ เหนอื เส้นตรงทีล่ ากจากจุด 2 จดุ นี้ Vastus lateralis กล้ามเนื้อ vastus lateralis นีเ้ ป็นกล้ามเน้ือต้นขาดา้ นข้าง การวัดตาแหน่งฉีด ยาสาหรบั ผใู้ หญ่ ทาโดยกาหนดเสน้ ขอบเขต 2 เส้น เสน้ บนลากผ่านต้นขาตรงขาหนีบ เสน้ ล่าง ลากผา่ นขอบหัวเข่าด้านบน ตาแหนง่ ท่ีฉดี คือ กึ่งกลางของเส้นขอบเขตทงั้ 2 เส้น หรอื ตาแหนง่ ทอี่ ยรู่ ะหวา่ งเหนอื หวั เขา่ 1 ฝ่ามอื และตา่ กว่าขาหนีบ 1 ฝา่ มือ Rectus femoris เป็นกลา้ มเนือ้ ดา้ นหน้าตรงกลางตน้ ขา วิธีวัดตาแหน่งฉีดยาเช่นเดียวกบั การวดั ตาแหนง่ กล้ามเนอื้ Vastus lateralis และฉีดทด่ี า้ นหน้าตรงกลางต้นขา มขี อ้ ควรระวงั คือ ห้ามฉีดยาเขา้ ด้านใน ตน้ ขาเพราะมีหลอดเลือดเส้นประสาทมาเลยี้ งหากฉดี ยาลงไปจะกอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายต่อผู้ปว่ ย http://minngaraya.blogspot.com Deltoid วิธีวัดตาแหนง่ ฉีดยาทาโดยกาหนดเส้นขอบเขตบนทป่ี มุ่ ไหล่ (acromion process) วางนว้ิ มือลงไป 3 น้วิ (น้วิ ชี้ นิ้วกลาง น้ิวนาง) ตาแหนง่ ทฉี่ ีดยาคือ ท่ีเส้นลากผ่านขอบนว้ิ ดา้ นล่าง หรือประมาณ 1-2 นิว้ ฟุตสารบญั ง http://courseware.npru.ac.th 67

การฉีดยาเขา้ หลอดเลอื ดดา (intravenous Administration: IV)-การผสมยาเข้าในขวดสารละลายทาง -การฉดี ยาเข้าหลอดเลือดดา -การผสมยาเขา้ ไปในสารละลายทางหลอดหลอดเลือดดา แล้วใหโ้ ดยการหยด (intravenous bolus) เป็นการฉดี ยา เลือดดาในขวดขนาด เลก็ แล้วให้โดยการเข้าทางหลอดเลอื ดดา (large- เข้าทางสายสารละลายทางหลอด หยดเขา้ ทางหลอดเลอื ดดา การใหย้ าทางvolume infusion) ขวดสารละลายมี เลอื ดดา หรอื การฉดี เข้าทอ่ ยางทีค่ า หลอดเลอื ดดาด้วยวธิ นี จ้ี ะผสมยาลงในขวดหลายขนาด เชน่ 500 mL และ ไวท้ ่อที่คาไวเ้ รียก injection plug สารละลายที่ให้ทางหลอดเลือดดาขนาดเล็ก1,000 mL สารละลายทใี่ ชผ้ สมยา เหมาะสาหรับผู้ทจ่ี ากดั ปรมิ าณสารนา้ (piggyback) ขนาดบรรจุ 25-250 mLเชน่ normal saline และ lactated เข้าสรู่ ่างกาย และเพื่อปอ้ งกันการ หรอื ผสมในชุดควบคุมการหยด (volume-Ringer’ solution เป็นต้น ส่วนยาท่ี ระคายตอ่ หลอดเลอื ดและผลข้างเคยี ง control administration sets เช่นนามาผสมในขวดสารละลายทาง ทไี่ มพ่ ึงประสงคข์ องยาจึงควรเดินยา volutrol, voluset เปน็ ต้น) มขี นาดบรรจุหลอดเลือดดา เช่น วติ ามินบีรวม ชา้ ๆ 100 mL(B complex) และโปแตสเซียมคลอไรด์ (potassium chloride) เปน็ ต้นสารบญั ง http://up.gameindy.com https://www.kopabirth.com 68

4.6 กำรใหส้ ำรนำ้ ทำงหลอดเลือดดำ (Intravenous Transfusion) ขั้นเตรียม 1.ตรวจสอบชื่อสกุลผู้ป่วย และแจง้ วัตถปุ ระสงค์ ขนั้ ปฏิบัติ 2.ลา้ งมือ Hygienic hand washing หลกั การเลือก vein ท่จี ะแทงใหส้ ารนํ้า 3.เตรยี มอุปกรณ์ 1.ให้ผู้ปว่ ยนอนหงายบนเตยี ง เอาแขนวางขนานกบั ลาตัว 1.เลือก vein ของแขนข้างท่ีผปู้ ่วยไมถ่ นัดก่อน 2.เลอื ก vein เสน้ ที่ใหญแ่ ละตรง 2.ใช้ tourniquet รดั บรเิ วณเหนือตาแหน่งทีจ่ ะแทงเขม็ 2-3 นว้ิ 3.เรมิ่ แทงเข็มท่ี vein สว่ นปลายแขนกอ่ น 4.เลย่ี งแขนขา้ งทไี่ ดร้ บั การผ่าตัด 3.ใชส้ าลีชบุ แอลกอฮอลเ์ ช็ดทาความสะอาดบรเิ วณตาแหนง่ ทีจ่ ะแทง เขม็ วนออกนอกเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลาง 2-3 น้วิ หรอื เช็ดจากบนลง ลา่ งไม่ยอ้ นไปมา 3.ปล่อยให้สารนา้ ทอ่ี ยู่ในขวดไหลไล่อากาศให้เต็มสาย เทคนคิ การแทงเสน้ 5.เล่ียงแทงเขม็ บรเิ วณข้อพบั อุปกรณ์ 4.ดึงปลอกของเข็มท่ีสวมอยูท่ ่ีปลายเข็มออก 5.ตึงผิวท่บี ริเวณเสน้ เลือดของผู้ปว่ ยใหต้ ึง 1.ตรึง ผิวหนังใหต้ งึ ก่อนแทงเขม็ 6.ค่อยๆ แทงลงไปบริเวณทตี่ อ้ งการ 2.จบั เข็มเหงายปลายตดั ขนึ้ ทามมุ 10-30 องศา 7.ปล่อย tourniquet แล้วปลอ่ ยใหน้ า้ เกลือไหล 3.แทงด้วยความเร็วและแรงท่ีมั่นคง (quick, firm action) 8. ใชพ้ ลาสเตอรท์ เ่ี ตรยี มไว้ปดิ บรเิ วณเข็มที่แทง 4.เบยี่ งเบนความสนใจของผู้ปว่ ย 9.จดั ท่าผปู้ ่วยให้อยใู่ นทา่ สขุ สบายสารบญั ง 69

ประเภทสารน้า ชนิดของสำรนำ้ ทใ่ี หท้ ำงหลอดลเลอื ดดำ Isotonic ขอ้ ควรระวงั -5% Dextrose Water -0.9% โซเดยี มคลอไรด์ -สารนา้ ชนิดน้ีจะเพ่มิ ปรมิ าตรของของเหลวในหลอดเลือด -สารละลาย lactated Ringer’s -ไมค่ วรใหส้ ารละลาย lactated Ringer’s แกผ่ ูป้ ว่ ยโรคตับ เพราะตับจะทาหน้าท่เี ปลีย่ น lactated เปน็ bicarbonate -หลกี เลย่ี งการให้สารละลาย 5% D/W เปน็ เวลานานแกผ่ ปู้ ว่ ยทีม่ คี วามดนั สงู ในสมอง Hypotonic -สารนา้ ชนดิ hypotonic จะทาใหน้ ้าจากระบบไหลเวยี นเลอื ดเข้าไปใยเซลล์ โดยเฉพาะเซลลส์ มอง -0.45% NSS -ไมค่ วรให้ผู้ป่วยเส้นเลอื ดในสมองแตก ผปู้ ่วยอบุ ตั เิ หตุทางสมอง และผปู้ ว่ ยไฟไหม้น้ารอ้ นลวก ผู้ปว่ ยทมี่ รี ะดบั โปรตีนใน -2.5 Dextrose in water เลอื ดต่า Hypertonic -สารน้าชนิด Hypertonic จะมีผลต่อการเพิ่มปริมาตรอยา่ งมากของของเหลวในหลอดเลอื ด ต้องระมดั ระวงั การทีผ่ ้ปู ่วยจะ -5% D in 0.9%NSS ไดร้ ับน้ามากเกินไป -10% D in water -ซึง่ สารละลาย Hypertonic จะดึงนา้ นา้ ในเซลล์ออกมาอย่ใู นระดับกระแสเลือด ทาให้เซลลข์ าดน้า -20% D in water -ไม่ควรให้ในผู้ปว่ ยโรคหัวใจ และไตเส่ือหนา้ ท่ี เพราะจะไม่สามารถควบคมุ การขบั น้าเกินออกจากร่างกายได้ -hyperalimentation solutions -5% dextrose in lactated ringer’sสารบญั ง 70

การพยาบาลภายหลังการเกิด Phlebitisชนิดของกำรใหส้ ำรนำ้ ทำงหลอดเลอื ดดำ ระดับการเกิด Phlebitis อาการและการแสดง การพยาบาล การใหย้ าสามารถให้ได้ 2 รปู แบบ คือ ระดบั 0 (No sing of Phlebitis) ไม่มีอาการ สงั เกตบรเิ วณตาแหนง่ ที่แทง catheter1. แบบต่อเน่อื ง (Continuous) เป็นการใหย้ าอย่างตอ่ เนอื่ ง ระดับ 1 (Possibly first sing of แดงบริเวณที่แทง ไมม่ ีอาการ สังเกตบริเวณตาแหน่งทแ่ี ทง โดยผสมยาลงในขวดสารละลาย Phlebitis) ปวด catheter2. แบบเปน็ ระยะ (Intermittent) เป็นวิธกี ารใหย้ าตาม กาหนดเวลา ซ่ึงสามารถให้ได้หลายวิธี ดงั น้ี ระดบั 2 (Early stage of Phlebitis) ปวด บวม แดง บริเวณท่ี -เปลย่ี นตาแหน่งที่แทง IV แทง -ประคบนา้ อุน่ 20 นาที 1. ฉดี เขา้ หลอดเลือดดาโดยตรง (I.V. push) 2. ฉดี ผา่ นสายใหส้ ารละลายทางหลอดเลือดดา ระดบั 3 (Medium stage of -ปวด บวม แดง บรเิ วณ ที่ -เปลี่ยนตาแหนง่ ที่แทง IV Phlebitis) แทง -ประคบน้าอุ่น 20 นาที 3. การใหย้ าโดยผ่านทางกระเปราะยา (Medication -เส้นแขง็ น้อยกวา่ 1ฟุต -รายงานแพทย์พิจารณาการ chamber) รกั ษา 4. การให้ยาโดยการตอ่ ชุดใหย้ าเข้ากับชุดให้ -ปวด บวม แดง บริเวณ ที่ -เปลยี่ นตาแหนง่ ท่ีแทง IV แทง -ประคบน้าอุ่น 20 นาที สารละลายเดิม ระดับ 4 (Advanced stage -เส้นแข็งมากกวา่ 1ฟุต -รายงานแพทยพ์ ิจารณาการ Phlebitis ) 5. การฉีดยาโดยผ่าน Heparin lock หรอื NSSสารบญั ง lock -อาจพบหนองไหลออกมา รักษา 71

การค้านวณสารน้า ปริมาตรสารนา้ ใน ������ ชม.������ ������������������ ������������ ปริมาตรสารนา้ ������������������������ ������ เวลา ������������ นาที เวลา ������������ นาที ������������������ ������������สารบญั ง ������������ ������ ������������ ������������ ������������ ������ ������������ ������������ ������������ ������ ปริมาตรสารนา้ ทงั ้ หมด ปริมาตรสารนาท่ีแพทย์สงั่ (������������/������������) ������������ ������ ������,������������������ ������������ 72

การใหเ้ ลอื ด การประเมินก่อนการให้เลอื ด 1.ตรวจสอบคาสงั่ การรกั ษาวา่ ผูป้ ว่ ยต้องไดร้ บั เลอื ด ชนิดของเลือดและส่วนประกอบต่าง ๆ ชนดิ ใดเพือ่ วางแผนระยะเวลาทใี่ ช้ในการให้เลอื ด 2.ประเมินประวัติการได้รบั เลอื ดครั้งก่อนรวมท้งั 1. เลือดครบ (whole blood) คือส่วนทนี่ ามาจากผู้ให้โดยมีส่วนประกอบตา่ งๆ ของเมด็ เลอื ด ประวัตกิ ารแพห้ รอื ปฏกิ ริ ิยาท่ีเกิดข้นึ จากการรบั เลอื ด และส่วนประกอบของน้าเลอื ดส่วนอน่ื ๆ อยูค่ รบ และสารตา้ นการแขง็ ตัวของเลอื ด (anticoagulant) ครง้ั ก่อน เก็บไวใ้ นต้เู ย็น อุณหภมู ิ 4 องศาเซลเซยี ส ไม่เกิน 21 วนั 3.ประเมนิ สญั ญาชีพก่อนทจ่ี ะเรม่ิ ให้เลือดเพื่อ เปรยี บเทียบกับการเปลย่ี นแปลงท่เี กิดขึ้นขณะใหเ้ ลอื ด 2. Fresh whole blood คอื เลอื ดครบทม่ี ีอายุไม่เกิน 24 ช่วั โมงนบั จากเวลาที่นาเลอื ดออก 4.เลอื กตาแหน่งของหลอดเลอื ดดาที่จะแทงเข็ม จากผ้บู รจิ าคเลอื ด ซ่ึงจะมีส่วนประกอบต่างๆของเลอื ดอยคู่ รบ โดยเฉพาะปัจจยั การแข็งตวั ของเลอื ด พิจารณาเชน่ เดียวกับการใหส้ ารน้าทางหลอดเลือดดา ได้แก่ platelet และ Factor 8 แตใ่ หเ้ หมาะกบั ขนาดของเขม็ ท่ีใช้แทง 3.Packed red blood cells (RBCs) เฉพาะสว่ นของเม็ดเลอื ดแดง โดยจะแยกเอาพลาสมา 73 ออกไปประมาณ รอ้ ยละ 80 ซึ่ง มกั จะให้เพื่อเพ่ิมตัวนาออกซิเจนในรายผู้ปว่ ยทีม่ ภี าวะโลหิตจางเรื้อรัง และจาเป็นตอ้ งทาผ่าตดั หรอื ผปู้ ่วยทจ่ี าเป็นตอ้ งรกั ษาดว้ ยเคมีบาบัด 4. White blood cells (leukocytes) เมด็ เลอื ดขาว หรอื Buffy Coat สาหรบั ผู้ปว่ ยทีม่ ภี าวะ เมด็ เลือดขาวตา่ 5. Platelets เป็นสว่ นประกอบของเลือดเฉพาะส่วนของ platelet concentrate ซึ่งจะให้ใน ผู้ปว่ ยทมี่ รี ะดบั ของplatelet ต่า ทาใหม้ ีการออกของเลอื ดง่าย 6. Fresh Frozen Plasma (FFP) เป็นส่วนประกอบของเลือดทม่ี เี ฉพาะสว่ นของสว่ นของ พลาสมาป่นั แยกมาจาก Fresh whole blood ซ่งึ จะมีปจั จยั การแขง็ ตวั ของเลอื ดอยู่สารบญั ง

สารบญั ง 1.เตรยี มเลือดทจี่ ะให้ ตรวจสอบช่ือผู้ป่วย เลขทที่ ่รี ับไว้ในโรงพยาบาล (HN) ชนดิ ของเลือดตามแผนการรกั ษา กรุ๊ปเลือด Rh ใหต้ รงกนั ทงั้ ใน ใบแลบ็ ถงุ เลอื ด และประวตั ิผู้ปว่ ย หมายเลขข้างถุง ชนดิ และจานวนเลอื ดท่ีให้ ชอื่ ผู้ให้ลงในแผน่ บนั ทกึ การให้เลอื ด 2.เตรยี มอปุ กรณท์ ี่ใชใ้ นการใหเ้ ลอื ด 3.เตรียม syringe 20 ml. ดูด 0.9 % normal saline ตอ่ กับ Extension tube และเขม็ ที่จะแทงให้เลือด 4.เตรียมผูป้ ่วยโดยอธบิ ายใหท้ ราบถึงวตั ถุประสงคใ์ นการให้เลอื ด 5.ประเมนิ สญั ญาณชพี ทอ่ี าจเปลย่ี นแปลงระหวา่ งการใหเ้ ลือด 6.สวมถงุ มือสะอาด 7.รดั tourniquet เหนือตาแหนง่ ทตี่ อ้ งการแทงเข็ม 8.เตรยี มผิวหนเตรียมผิวหนังด้วยสาลชี ุบแอลกอฮอล์ 70% เชด็ ท่ตี าแหนง่ ทต่ี ้องการแทงเข็ม เป็นวงกว้างเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2 น้ิวท้ิงไว้ นาน ½-1 นาที เพ่ือให้แอลกอฮอล์ฆา่ เชอ้ื ท่ผี ิวหนัง 9.แทงเขม็ เขา้ ไปในหลอดเลือดตามวิธปี ฏบิ ตั กิ ารแทงเข็มใหส้ ารน้า 10.ยดึ ติดหัวเขม็ ทีแ่ ทง 11.ตรวจสอบวา่ ปลายเขม็ ท่แี ทงอยู่ในหลอดเลือดดา โดยการฉีด สารละลาย 0.9% normal saline เขา้ ไปในหลอดเลือดประมาณ 2-5 มล. ถ้า ไม่มอี าการบวมทป่ี ลายสาย หรอื เมอ่ื ดงึ ลูกสบู ถอยหลังจะมเี ลอื ดย้อนเขา้ มาในสาย 12.ตอ่ สายให้เลือดท่ีเตรียมไวเ้ ขา้ กับเขม็ ท่แี ทง 13.เปดิ clamp ให้เลอื ดหยดเข้าไปชา้ ๆ โดยปรบั อตั ราหยดเท่ากบั 20 หยด/นาทีในระยะ 15 นาที แรก ถา้ ไม่มอี าการผดิ ปกติให้ปรบั อัตรา หยดตามที่คานวณการให้เลือด แตล่ ะยูนิตไม่ควรเกิน 4 ช่ัวโมงเพ่ือลดอตั ราเส่ยี งต่อการติดเชื้อจากการแขวนถุงเลือดไวน้ านเกนิ ไป 14.ตรวจสอบสญั ญาณชพี ทกุ 15 นาที ในระยะเรมิ่ ตน้ และสังเกตอาการเปลีย่ นแปลงทีอ่ าจเกดิ ขนึ้ 15.ภายหลงั การใหเ้ ลอื ด ตรวจสอบสัญญาณชีพ ลงบันทกึ ทางการพยาบาล 74

ภาวะแทรกซ้อนจากการใหเ้ ลือด (Blood transfustion reaction) ข้อควรระวัง 1. มีไขข้ นึ้ เพราะสารนา้ ทที่ าใหเ้ กิดไข้(Pyrogen) 2. เกดิ ลมพษิ เพราะผ้รู บั แพส้ ารอยา่ งใดอย่างหนงึ่ ในเลอื ดทใ่ี ห้ 1.เลือดทส่ี ง่ มาจากคลังเลอื ดถ้ายงั ไมใ่ ช้ให้เกบ็ ในตเู้ ยน็ อุณหภมู ิ 4 3. Hemolytic tranfusion reaction องศาเซลเซยี ส ห้ามแช่ในช่องแช่แข็ง และหา้ มอนุ่ เลอื ด เพราะจะทา 4. นาโรคเขา้ ไปในผู้ปว่ ย เช่น มาลาเรยี ซิฟิลิส ตบั อักเสบ หรือแบคทีเรยี ทีท่ า ให้เม็ดเลือดแตกได้ ใหเ้ กิด sepsis ซงึ่ มีอาการรุนแรงมาก 2.ห้ามฉีดยาเข้าทางสายใหเ้ ลือด 5. Pulmonary edema เกิดจากปรมิ าตรไหลเวียนทาให้หัวใจตอ้ งทางานหนักข้ึน 3.หา้ มให้สารน้าทางเดยี วกับที่ใหเ้ ลอื ด เพราะอาจมีปฏกิ ริ ิยาตอ่ กนั และเกดิ หวั ใจวาย 6. Hypertransfusion syndrome ผปู้ ว่ ยทีใ่ ห้เลอื ดติดๆกัน หลายขวดจะมอี าการ อปุ กรณ์ท่ีใชใ้ นการห้ามเลือด เลอื ดออกง่าย 7. โปแตสเซียมในเลือดสูง ถา้ ยง่ิ เปน็ เลือดแดงมโี ปแตสเซียมสงู 1.เลอื ด หรอื ส่วนประกอบของเลือดตามแผนการรกั ษา 8. Emboli reaction เกดิ จากฟองอากาศหรอื จากการใชข้ วดทมี่ คี วามดนั สงู ดันเข้า 2.ชดุ ใหเ้ ลอื ด (Blood Administration Set) มสี ่วนประกอบ ไป ไปติดที่ปอดทาให้เจบ็ หน้าอก เปน็ ลม ช็อคและตายได้ เช่นเดียวกับชุดให้สารนา้ แตท่ ี่กระเปาะ (drip chamber) ต้องมีที่ 9. Isoimmunization กรอง (filter) 10. ภาวะเหลก็ เกนิ (Hemosiderosis) 3.เขม็ สาหรบั แทง ขนาด 18-20 Gauze 4.IV solution : 0.9% NSSสารบญั ง 5.อปุ กรณอ์ ยา่ งอืน่ เช่นเดยี วกบั การใหส้ ารนา้ ทางหลอดเลอื ดดา 75

4.7กำรสวนปัสสำวะ (Urinary Catheterization) การท้าความสะอาดอวยั วะเพศอุปกรณ์ การเลือกใชส้ าย ผ้หู ญิง เดก็ 8-10 Fr. สาลีก้อนท่ี 1 เชด็ mons pubis หญิง 12-14 Fr. ชาย 14-16 Fr. สาลกี อ้ นท่ี 2 เช็ด labia majora ดา้ นไกลตวั ถึงขาหนีบ *ผูป้ ว่ ยทม่ี ปี ัสสาวะขุน่ ,มีตะกอน,มหี นอง,มีเลือดออก ให้ใช้ 18-20 Fr. สาลกี ้อนที่ 3 เช็ด labia majora ดา้ นใกลต้ ัวถึงขาหนบี ** ผู้ปว่ ยทีผ่ ่าตดั ตอ่ มลูกหมาก ใช้ 20-24 Fr. แบบ 3 หาง สาลีกอ้ นที่ 4 เชด็ labia minora ด้านไกลตัว สาลีก้อนที่ 5 เชด็ labia minora ดา้ นใกลต้ ัว การจดั ท่า สาลกี อ้ นท่ี 6 เช็ดตรงกลางจากบนลงล่างถึง Anus -ผชู้ าย Dorsal position ผูช้ าย -ผหู้ ญงิ Dorsal recumbent position สาลีกอ้ นที่ 1 เชด็ mons pubisสารบญั ง สาลีกอ้ นที่ 2 เชด็ testis ดา้ นไกลตวั ถึงขาหนบี สาลกี อ้ นท่ี 3 เช็ด testis ดา้ นใกล้ตัวถึงขาหนีบ สาลกี อ้ นท่ี 4 และ 5 เชด็ รอบโคน penis ถึง testis โดยเชด็ วนจากบนลงลา่ ง (*หา้ มเชด็ ยอ้ นกลับ) สาลีก้อนท่ี 6 เชด็ ใช้มือขา้ งท่ีไมถ่ นดั จับ penis รน่ หนงั หุ้มปลายออกใช้มืออีกขา้ งจับ สาลเี ช็ดรอบ ๆ Urethra วนรอบไปทางเดยี วกนั 76

ขั้นปฏิบัติ ขน้ั ตอนการสวนปัสสาวะ 1.จัดสงิ่ แวดล้อม ปิดม่าน ปิดตา จดั ทา่ ผ้ปู ่วย ผู้ชาย Dorsal position 2.เปดิ set สวนปสั สาวะ ใส่ถุงมอื sterile คแู่ รกสารบญั ง 3.ทดสอบสายด้วยการ blow balloon แล้วสังเกตว่ามนี า้ ไหลหรอื ซมึ ออกท่ี Hygienic hand washing balloon หรอื ไม่ แลว้ ตอ่ กบั Urine bag 4.ใส่ savlon 1:100 ในชามเลก็ ทมี่ ีสาลี 6 กอ้ น แล้วแยกสาลไี ว้ 1 ก้อน ผหู้ ญิง Dorsal recumbent position 5.ทาความสะอาดอวัยวะเพศตามขั้นตอน 6.เปลยี่ นใสใ่ สถ่ ุงมือ sterile คู่ทสี่ อง 7.หลอ่ ลื่นสายดว้ ย k-y jelly ในผู้ป่วยหญงิ 5-6 นิว้ ในประมาณ 2 น้วิ ผู้ป่วยชาย 8.ปผู ้าส่ีเหลยี่ มเจาะกลาง และนาชุดสายสวนหญิง วางไว้บนผ้าปราศจากเชือ้ 9.ใชส้ าลที แ่ี ยกไวเ้ ชด็ บริเวณ Urethra orifice แหวก labia ห้ามปลอ่ ยมอื (โดยใชม้ อื ขา้ งที่ไม่ถนัด) 10.สอดสาย foley’s catheter ชาย 6-8 นว้ิ หญิง 2-3 นว้ิ จนมีปัสสาวะไหลออกมา 11.ใช้ syinge 10 cc. ดูด sterile water 10 cc. blow balloon 12.ทดสอบโดยการคอ่ ยๆดึง สาย foley’s catheter 13.นาผา้ สี่เหลย่ี มเจาะกลางออก ถอดถุงมอื sterile แล้วตรึงสายดว้ ย พลาสเตอร์ 14.แขวน Urine bag ไว้ข้างเตยี งให้อยู่ต่ากวา่ ระดับกระเพาะปสั สาวะของ ผปู้ ่วย 15.จดั ทา่ ผ้ปู ่วยและอธิบายวธิ ีการปฏบิ ัติตัวขณะใส่สายสวนปปัสสาวะ 16.เก็บอปุ กรณ์ 77

การตดิ พลาสเตอร์ หญงิ ชาย ตรงึ สาย foley’catheter กบั หน้าขา ตรึงสาย foley’catheter กับ หน้าทอ้ งนอ้ ยหรือโคนขา ทัง้ น้ี การดแู ลสาย ขึ้นอยกู่ ับ anatomy ของ penis Foley’s catheter ผปู้ ่วย 1.ดูแลไมใ่ ห้สายพบั งอสารบญั ง 2.ดแู ลไม่ให้สายอดุ ตนั จากล่มิ เลือด สารคดั หล่ัง โดยการ milking สายทุก 2 ชว่ั โมง 3.แนะนาใหผ้ ูป้ ว่ ยดูแลความสะอาดอวัยวะเพศด้วยสบูห่ รือนา้ สะอาด อย่างน้อย 2 ครั้ง/วนั 4.แนะนาให้ผูป้ ว่ ยดืม่ น้าวนั ละ 1,500 – 3,000 cc ในผปู้ ่วยที่ไมม่ ี ขอ้ จากัด ยกเว้น ผ้ปู ่วยโรคไตและโรคหัวใจ 78

4.8 กำรใหอ้ อกซเิ จน(Oxygen Therapy) ขวดทาความชืน้ Flow meter ขน้ั ตอนการให้ออกซิเจนแบบต่าง ๆ (humidifier) ข้อตอ่ หางปลา 1.ตรวจสอบชอื่ -สกลุ แจง้ วตั ถุประสงค์ นา้ กลน่ั (Sterile water) (Bassfitting) 2.เตรยี มอุปกรณ์: ต่อ flow mete เข้ากับถงั หรือผนงั ใส่นา้ กลั่น 2/3 ขวด ในขวดทาความชน้ื สายยางหรือสายพลาสตกิ 3.ให้จดั ทา่ fowler’s position และทาความสะอาดรูจมูกของผูป้ ว่ ย Nasal cannular , mask with reservoir bag , 4.ใหอ้ อกซิเจนแบบต่าง ๆ T-piece 5.จดั ท่าผู้ปว่ ยให้สุขสบายและแนะนาให้ผู้ป่วยหายใจทางจมกู 6.สงั เกตและประเมนิ อาการของผูป้ ว่ ยหลงั ให้ออกซเิ จน โดยสังเกต อาการของภาวะพรอ่ งออกซเิ จน (Hypoxia) คือ กระสับกระส่าย ระดบั ความร้สู กึ ตัว อาการออ่ นเพลยี คล่นื ไส้ หายใจหอบลกึ มอื เทา้ เขยี ว สับสัน กลา้ มเนอื้ ทางานไม่ประสานกันหรอื อาจหมดสติใน ทสี่ ดุ ใหช้ ว่ ยเหลือทนั ที 7.บนั ทกึ การพยาบาลสารบญั ง 79

Mask with bag Simple mask 1. ต่อ Mask face เข้ากับสายต่อ O2 จากขวด Bag โปง่ อย่เู สมอ ทาความช้นื 1. ต่อ mask face เข้ากับสายต่อ O2 จาก https://www.google.co.th/search ขวดทาความชน้ื 2. เปิด Flow meter ให้อยู่ในระดับ10 – 2. เปิด Flow meter ให้อยู่ในระดบั 6-8 15LPM ก่อน เพ่ือเติม O2 ในถุงให้เต็มและ LPM จะได้ O2 เขม้ ขน้ 40-100% เปน็ การทดสอบถงุ วา่ ไม่รั่ว 3. ครอบ Mask face คลมุ ปากและจมกู แลว้ 3. ลดระดับ Flow meter ให้อยู่ในระดับ 6-10 รัดสายให้แนบพอดี อย่าให้สายบิดงอ LPM จะได้ O2 เขม้ ข้น 60-8-% 4. ครอบ Flow meter คลุมปากและจมูก ให้ แนบสนิทอยา่ ใหร้ ัว่ และบิดงอ Reservoir ดวู ่า https://www.google.co.th/search?q=Simple+mask ความเข้มขน้ O2 FGF(L/min) Predieted FiO2 Simple Mask 6 0.4 7 0.5 Partial Rebreathing Mask 8 0.6 C bag 6 0.6 7 0.7สารบญั ง 8 0.8 80 9 10 น้อยกวา่ 0.8 นอ้ ยกว่า 0.9

Nasal cannula Oxygen-PIECE - ต่อ canula เข้ากบั สายยางท่ตี ่อมาจากขวดทาความช้นื - ตอ่ สาย T-Piece เข้ากับขวดทาความชืน้ กดปุ่มปรบั แล้วเปิด Flow meter พรอ้ มทัง้ ทดสอบว่ามี O2 ออกมา เคร่อื งทาละอองฝอย ทางรเู ปดิ ท้งั สองดหี รอื ไม่ - กอ่ นให้ O2 ต้องดูดเสมหะในท่อหลอดลมก่อน ตาม - ใส่เข้าทางจมกู สาย Nasal cannula ใหป้ ลายโค้งชไ้ี ป หลกั Sterile Technique สว่ นหลังของจมูก - เปิด Flow meter ให้ O2 ออกตามแผนการรักษา - เปิด Nasal cannula ให้ได้ O2 ตามแผนการรกั ษา - ต่อ T-Piece เข้ากับทอ่ หลอดลมของผู้ปว่ ยใหแ้ นน่ สว่ นใหญ่มักจะให้ 4-6 LPM *ยกเว้นผปู้ ว่ ย COPD จะได้ ไม่ให้ O2 รวั่ ออกได้ 2-3 LPM - รดั สาย cannula คลอ้ งไว้หแู ลว้ มารดั ไว้ใต้คาง https://www.slideshare.net/LonlOoN/o2-therapy-presentationสารบญั ง 81

4.9 กำรดดู เสมหะ (Suction) ขั้นเตรียม อุปกรณ์ 1.ตรวจสอบช่ือสกุลผู้ป่วย และแจ้งวตั ถปุ ระสงค์ 2.ลา้ งมือ Hygienic hand washing ข้อบ่งใช้ 3.เตรียมอปุ กรณ์ 1.เพอ่ื กาจัดเสมหะในหลอดลมผปู้ ว่ ยทใ่ี ส่ทอ่ หรอื ได้รับการเจาะ หลอดลม ข้ันปฏิบัติ 2.เพื่อนาเอาเสมหะไปใช้ในการตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั ิการ 1.ผู้ปว่ ยใช้เครื่องช่วยหายใจ ใหใ้ ชค้ วามเข้มข้นของ O2 เปน็ 100% หรอื ปลดเครือ่ งแลว้ บบี Ambu ข้อควรระวัง bag ท่เี ปิด O2 เตม็ ท่ี ประมาน 2-3 นาที 1.ผู้ป่วยท่ีมีภาวะพรอ่ งออกซเิ จน (hypoxemia) อย่างรุนแรง 2.สวมถงุ มอื ปลอดเชอ้ื หยบิ สายดดู เสมหะ 2.ผปู้ ว่ ยทมี่ ีอาหารอยู่เต็มกระเพาะอาหาร จะทาให้เกดิ การสาลกั 3.นาสายเครอ่ื งดูดเสมหะตอ่ เขา้ กับตัวควบคมุ สญุ ญากาศ และใช้นว้ิ หวั แม่มอื ปิดรทู ตี่ วั ควบคุมเมอ่ื ได้ ตอ้ งการดดู 3.ภาวะเลอื ดออกผดิ ปกติ 4.เปดิ เครือ่ งดดู ทดลองควบคมุ แรงดูให้ไดร้ ะหว่าง 80-120 mmHg 5.ปลดขอ้ ต่อท่อหลอดลมจากสายเครื่องช่วยหายใจ ใส่สายดดู เสหะทท่ี อ่ หลอดลม (Tracheostomyสารบญั ง tube) อย่างรวดเรว็ 6.ใส่สายดูดเสมหะเข้าไปในหลอดลมลึกลงไปจนใส่เขา้ ไปไมไ่ ด้อกี แลว้ ใช้นว้ิ หวั แม่มือปิดรูทตี่ วั ควบคมุ เพือ่ ดดู เสมหะและปลอ่ ยเป็นระยะ โดยดูด 2-3 วินาที แลว้ หยดุ ดึงสายขน้ึ เล็กน้อยแล้วทาซ้า ระหวา่ ง ดดู เสมหะให้หมนุ สายใชเ้ วลาประมาณ 15 วนิ าที 7.ผปู้ ่วยมเี สมหะมาก ใหท้ าการดูดซ้าอกี 2-3 ครัง้ ถ้ายังไม่หมดให้ตอ่ O2 กลบั เขา้ ไป หรือ บบี Ambu bag ใหม่ แล้วจงึ ทาการดดู เสมหะซา้ 8.Mout care ให้ผูป้ ่วย เปล่ียนสายดดู เสมหะ แล้วดดู เสมหะทางปาก 9.เมอ่ื ดูดเสมะหมดแลว้ ใหด้ ูดน้าเปล่าผ่านสายดดู เล็กนอ้ ยก่อนปลดสายทิ้ง 82

4.10กำรเชด็ ตวั ลดไข้ (Tepid sponge) วธิ ปี ฏบิ ตั ิ อุปกรณ์ 1.เตรยี มน้าสะอาดใสก่ ะละมงั อาจเปน็ น้าอุ่นหากรู้สกึ หนาว 1. กะละมงั ใส่นํา้ 1 อัน 2.ชบุ นา้ ให้พอชมุ่ ๆแตไ่ มเ่ ปียกมาก 2. ผา้ ขนหนขู นาดเลก็ 3-4 ผืน 3.เริ่มเช็ดบรเิ วณใบหน้า ถงึ ลาคอ 4.วางผา้ อีกผืนบรเิ วณหนา้ ผาก (บรเิ วณนมี้ ีหลอดเลือดมาเลย้ี งมากจะช่วยคลายความร้อนไดด้ ี)สารบญั ง วางไว้ 3-5 นาที (หมั่นเปลย่ี นผา้ ชบุ น้ามาวาง) 5.ให้วางผา้ อีกผืนหนึ่งบริเวณลาคอ บริเวณรกั แร้ ใชห้ ลักการเดยี วกนั กับบรเิ วณหน้าผาก เชด็ ลง มาถงึ ตัว 6.แขนท้งั สองขา้ ง เขด็ จากบริเวณปลายมอื ขอ้ มือมาถึงแขนเชดิ แบบ “เปิดรขู มุ ขน” ช่วยระบบ ความรอ้ นมากับผา้ 7. บริเวณขาหนีบท้งั สองและข้อพบั ใต้ขอ้ เข่า ผ้าชุบนา้ มาวางเป็นระยะทกุ 3-5 นาที เช็ดสว่ นขา ให้เชด็ จากปลายเท้าข้นึ มาถงึ ขอ้ เข่า เชด็ ย้อนรูขุมขน memo 1.ระยะเวลาที่ใชใ้ นการเชด็ ตัวลดไข้รวมท้งั หมดประมาณ 15-20 นาที 2.ขณะท่เี ช็ดตัวในแตล่ ะสว่ นของรา่ งกาย ควรใช้ผ้าแหง้ ซับ ในแต่ละสว่ น เพอื่ ให้ร้สู กึ สบาย ใช้ผ้าบางคลมุ ไม่ควร สมั ผัสกับอาการข้างนอกเพราะอาจทาให้ร่างกายปรบั อุณหภูมสิ งู ขึ้น 83

4.11 กำรจดั ท่ำ (Position) 1.การจดั ท่านอนหงาย (Dorsal or Supine position) 2.การจัดท่ากึ่งน่งั ศีรษะสูง (Fowler’s position or semi sitting position) ขั้นตอนการปฏบิ ัติ เพ่ือบรรเทาอาการแน่นท้องหายใจไม่สะดวก ลดอาการเหน่ือยหอบ ระบายเลือด หนอง ลดการอักเสบ บรรเทา อาการเจ็บตึงแผลผ่าตัดหนา้ ท้อง และช่วยให้มกี ารเคล่ือนไหวของลาํ ไสไ้ ดต้ ามปกตทิ ั้งหมด 3 ทา่ 1.ให้ผู้ป่วยนอนหนุนหมอนให้ความกว้างของหมอนรองรับส่วน 1. high-fowler’s จัดหัวเตยี งสงู > 80 องศา ศีรษะและไหลแ่ ละสงู พอเหมาะ 2. fowler’s จดั หัวเตยี งสูง 45-60 องศา 2.หมุนผ้าหรอื หมอนใต้แขนทงั้ สองข้าง 3. semi-fowler’s จดั หัวเตยี งสงู 30 องศา 3.วางหมอนทราย หรือผา้ หม่ ทมี่ ว้ นกลมขนานกับต้นขา ท้ังสอง ข้างของผูป้ ว่ ย จดั ใหอ้ ยู่ในทา่ ปกตไิ มแ่ บะออกด้านนอก ขั้นตอนการปฏิบตั ิ **เพ่ือความสุขสบายของผู้ป่วย และตรวจอวัยวะด้านหน้าของ ร่างกาย เช่น ศรี ษะ หนา้ แขน ขา หน้าอก ท้อง ใหผ้ ปู้ ่วยนอนหงายหนนุ หมอนท่ศี ีรษะและไหล่ ปรบั หัวเตียงตามระดับท่า ให้สะโพกอยู่ตรงรอยพับเตียงพอดีปรับเตียง ตรงระดบั หัวเขา่ สูงประมาณ 10ถึง 20 องศา หนุนหมอนและไหลท่ ้งั สองขา้ งสารบญั ง 84

4.11 กำรจดั ทำ่ (Position) ตอ่ 3.การจดั ท่านอนตะแคง (lateral orslide-lying position) 4. การจดั ท่านอนตะแคงกึ่งคว่า (semi-prone 5.การจัดท่านอนคว่า (prone position) position) ขัน้ ตอนการปฏิบตั ิ ข้ันตอนการปฏบิ ตั ิ ขั้นตอนการปฏบิ ัติ 1.ใหผ้ ูป้ ่วยนอนควํา่ แนวละตัวตรง ศีรษะหนุน 1. ใหผ้ ปู้ ว่ ยนอนตะแคงขา้ งใดขา้ งหน่งึ ศรี ษะหนุนหมอน 1. ให้ผู้ปว่ ยนอนตะแคงเกอื บควํ่าไปทางซ้ายหรอื ขวากไ็ ด้ หมอนเต้ยี หรือไมห่ นนุ หมอน 2. แขนท้งั สองอยูห่ นา้ ลาตัวและอยใู่ นทา่ งอเล็กน้อย ให้แขนขา้ งทอ่ี ย่ชู ดิ ที่นอนวางอยดู่ ้านหลงั ศรี ษะหนุน 2.วางแขนไปทางศีรษะในทา่ งอข้อไหลแ่ ละใชห้ มอน 3.สอดหมอนหนุนทไ่ี หลแ่ ละแขนด้านบนของผู้ป่วยให้อยู่ระดับ หมอน หรอื ผ้าหนนุ ปลายขาใหส้ ูงข้ึน เดยี วกันกบั ไหล่ 2. สอดหมอนหนุนที่แขนข้างบนของผปู้ ่วยใหอ้ ยูร่ ะดับ **เพ่ือให้ผปู้ ่วยสุขสบาย ช่วยให้เสมหะ นา้ํ มูก 4.สอดหมอนหนุนขาที่อยู่ด้านบนของผู้ป่วยให้อยู่ระดับ เดียวกบั ขอ้ ไหล่ นํ้าลาย ไหลออกไดส้ ะดวก หายใจสะดวกและ เดยี วกบั ข้อสะโพก 3. สอดหมอนหนนุ ขาดา้ นบนของผู้ป่วยใหอ้ ยใู่ นระดับ ตรวจร่างกายได้หลงั **เพื่อความสขุ สบาย ลดแผลกดทับในผู้ป่วยเคล่ือนไหวไม่ได้ เดยี วกบั ขอ้ สะโพก และตรวจรา่ งกายดา้ นขา้ ง **เพ่ือใหท้ างเดนิ หายใจเปดิ โลง่ ปอ้ งกันหนา้ อกกดทับที่ นอนเหมาะสาํ หรบั ผู้ป่วยที่ไมร่ ู้สกึ ตัวสารบญั ง 85

4.11 กำรจดั ทำ่ (Position) ตอ่6.การจัดท่านอนหงายชนั เขา่ (dorsal recumbent 7.ท่านอนคว่าคุกเข่า (Knee-chest position) 8. การจัดทา่ นอนหงายพาดขาบนขาหยัง่ lithotomyposition) position ข้ันตอนการปฏบิ ตั ิ ข้ันตอนการปฏบิ ตั ิ ขั้นตอนการปฏบิ ตั ิ 1.จดั ท่าให้ผู้ป่วยนอนหงายชนั เข่าบนเตยี ง 1.ใหผ้ ปู้ ่วยนอนควาํ่ ยกกน้ ข้ึนหันหน้าไปขา้ งใดข้างหนึง่ 1.ใหผ้ ปู้ ว่ ยนอนหงายบนเตียงทมี่ ีขาหยงั่ พาดเท้า 2.คลุมผา้ และให้ผปู้ ่วยเลอ่ื นผา้ นงุ่ ขึ้นหรอื ถอดออก ให้ตน้ ขาตั้งฉากกบั ท่นี อนวางแขนข้างลําตัวในท่างอศอก 2.คลุมผ้าและให้ผปู้ ่วยเลอ่ื นผา้ นุ่งขึน้ หรอื ถอดออก 3.ปิดตาใหผ้ ู้ป่วย หนุนหมอนใตศ้ รี ษะ อกและท้องห่มผ้า 3.ปดิ ตาให้ผปู้ ว่ ย 4.คลุมผา้ บรเิ วณต้นขาและเท้า เปิดเฉพาะบรเิ วณขาหนบี 2.ใหผ้ ูป้ ว่ ยถอดกางเกงหรอื เลือ่ นผ้านงุ่ ข้นึ คลุมผ้าใหป้ ดิ ขา 4.ใหผ้ ูป้ ่วยพาดเท้าทง้ั สองขา้ งบนขาหยัง่ stirrup และอวัยวะสืบพันธภ์ ายนอก ทัง้ สองข้าง เปดิ เฉพาะบรเิ วณทวารหนัก 5.คลุมผา้ บรเิ วณต้นขาและเทา้ เปดิ เฉพาะบรเิ วณขาหนบี และ **เปน็ ทา่ เตรียมตรวจหรือทําการพยาบาลโดยเฉพาะ เชน่ **เพ่อื ท่าเตรยี มตรวจหรือผา่ ตัดทวารหนัก และลําไสส้ ่วน อวัยวะสืบพันธ์ภายนอก ตรวจช่องคลอด ทวารหนัก สวนปัสสาวะ flushing ปลายแตผ่ ปู้ ่วยท่ีเปน็ ข้ออักเสบ หรอื มคี วามพกิ ารเกย่ี วกบั ขอ้ **จดุ ประสงค์คล้าย dorsal recumbent position แตกต่างที่ และ คลอดบตุ ร จะจัดท่าไมไ่ ด้ ทา่ คือตอ้ งนอนหงายพาดขาบนขาหยั่ง เชน่ คลอดบตุ ร ตรวจ ชอ่ งคลอดสารบญั ง 86

4.12 กำรทำเตยี ง (bed) เตียงวา่ ง (closed bed or anesthetic bed) เปน็ เตียงที่ไม่มผี ้ปู ่วยครองเตยี งเป็น การทาเตยี งภายหลงั จากการทีผ่ ปู้ ว่ ยกลับบ้าน ย้าย หรอื ถึงแกก่ รรม และเป็นการเตรยี ม เตียงเพือ่ รบั ผู้ป่วยรายใหม่ อาจคลมุ ดว้ ยผา้ คลุมเตยี ง เพอื่ รกั ษาทนี่ อนและหมอนใหส้ ะอาด เตยี งทีย่ ังมผี ้ปู ว่ ยครองเตียงอยู่ แตผ่ ูป้ ว่ ยไมไ่ ด้นอนอยทู่ ่เี ตียง (open bed) เชน่ นงั่ ขา้ งๆเตยี ง ไปห้องนาํ้ ซงึ่ เมอ่ื ทําเตียงเสรจ็ จะไม่ต้องคลุมผ้า เพื่อให้ผู้ปว่ ยเขา้ นอนได้อยา่ งสะดวกสบาย เตยี งท่ีมผี ้ปู ่วยอยู่บนเตียง (occupied bed) เป็นเตียงที่มีผ้ปู ่วยนอนอย่บู นเตียงและไม่ สามารถลกุ ออกจากเตียงได้ในขณะที่ทาเตียง เตียงสาหรับรอรับผปู้ ว่ ยทดี่ มยาสลบ (ether bed) เป็นการทาเตียงเพื่อรอรบั ผู้ปว่ ย ที่ ได้รับยาสลบจากการทท่ี าผ่าตัด การได้รับการตรวจวินจิ ฉัยอน่ื ๆ ตอ้ งเตรยี มส่งิ ของเครือ่ งใช้ เช่น ผา้ เช็ดตัว ผา้ ยาง ผ้าขวางเตยี ง ชามรูปไต ไมก้ ดล้นิ เทอร์โมมิเตอร์ เครอื่ งมอื วัด ความดนั โลหติ หฟู งั เสาแขวนขวดสารละลายที่ให้ทางหลอดเลือดดา เป็นตน้สารบญั ง 87

4.13 หลักกำรวำงแผนจำหนำ่ ยผปู้ ว่ ย D-METHODสารบญั ง D Diagnosis ให้ความรู้เรื่องโรคทีผ่ ูป้ ่วยเปน็ อยู่ถงึ สาเหตุ อาการ การปฏบิ ตั ติ วั ท่ีถกู ตอ้ ง M Medicine แนะนาการใช้ยาท่ผี ู้ป่วยไดร้ ับอยา่ งละเอียด สรรพคณุ ของยา ขนาด วธิ ใี ช้ ขอ้ ควรระวังในการใชย้ า ตลอดจนการสงั เกตภาวะแทรกซอ้ น รวมท้งั ขอ้ หา้ มการใช้ยาด้วย E Environment การจดั การสิง่ แวดลอ้ มทีบ่ ้านใหเ้ หมาะสมกบั ภาวะสขุ ภาพของผ้ปู ว่ ย การให้ข้อมลู เก่ียวกับการจัดการปัญหาดา้ นเศรษฐกิจ บางรายอาจจะต้องฝึกฝน อาชีพใหม่ T Treatment ทักษะทเ่ี ปน็ ตามแผนการรกั ษา เชน่ การทาแผล รวมถึงการเฝ้าสงั เกตอาการของผู้ป่วยและแจง้ ให้พยาบาลทราบ H Health การสง่ เสรมิ ฟื้นฟูสภาพ ทางด้านร่างกายและจิตใจของผู้ป่วย ตลอดจนการปอ้ งกันภาวะแทรกซอ้ นต่าง ๆ O Out patient การมาตรวจตามนดั การตดิ ตอ่ ขอความช่วยเหลอื จากสถานพยาบาลใกลบ้ ้าน ในกรณเี กิดภาวะฉกุ เฉิน ตลอดจนการส่งตอ่ ผู้ปว่ ยให้ได้รับการดแู ล ตอ่ เน่ือง D Diet การเลอื กรบั รบั ประทานอาหารเหมาะสมกับโรค หลกี เลี่ยงหรืองดอาหารที่เปน็ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพของผปู้ ว่ ย 88

ความรบั ผดิ ชอบ ในครอบครัวเรา (ความรบั ผิดชอบ) เปน็ ของท่ไี ม่ต้องคดิ เป็นธรรมชาตสิ ง่ิ ทสี่ อนอนั แรก คอื เราจะทาอะไรใหเ้ มอื งไทย ถา้ ไม่มคี วามรบั ผดิ ชอบจะไป ช่วยเมืองไทยไดอ้ ยา่ งไร ทุกอยา่ งออกมา จากน้นั ถ้าจะ เอาหลกั การต้องเปน็ คนดี น่คี อื หลักการ เพื่อจะช่วยอะไร ได้ สิง่ เหล่าน้ี ฉันเป็นคนพูดออกมา #พระราชดารัสสมเดจ็ พระราชชนนศี รสี งั วาลย์สารบญั ง 89

บทที่ 90 5 ยำสารบญั จ

5.1 คำย่อท่ีพบบอ่ ย (Abbreviation) 1.หลักการใหย้ า 6R คาย่อในยา ก่อนอาหาร 1 tsp = 1 ช้อนชา = 5 m a.c. หลังอาหาร 1 tbsp = 1 ชอ้ นโตะ๊ = 15 ml Right patient = ให้ผปู้ ่วยถกู คน p.c. ก่อนนอน 1 oz = 1 ออนซ์ = 30 ml Right drug = ใหย้ าถกู ชนิด h.s. วนั ละครงั้ 1 grain = 60 mg Right dose = ให้ขนาดถกู ต้อง o.d. วนั ละ 2 คร้ัง Right route = ใหถ้ ูกทาง b.i.d. วนั ละ 3 ครัง้ 91 Right time = ให้ถูกเวลา t.i.d. วันเวน้ วนั Right record = บนั ทกึ ถกู ตอ้ ง e.o.d. วันละ 4 ครัง้ 2.หลกั การใหย้ า 7R q.i.d. ให้ทนั ที 6R + Right to refuse = สิทธิที่จะไดร้ บั ขอ้ มลู เก่ียวกับ stat ใชย้ าเม่ือต้องการ ยา และสทิ ธิในปฏิเสธยา s.o.s. ใช้ยาเมอ่ื จาเป็น 3.หลักการใหย้ า 10R p.r.n. ทุก ๆ 7R+ Right history and assessment = ตรวจสอบ q ประวัติการแพย้ าและทาการประเมนิ ถูกต้องสารบญั ง + Right to education and information = การให้ ความรแู้ ละข้อมูลถูกตอ้ ง + Right drug-drug interaction and evaluation = การตรวจสอบปฏิกิริยาระหวา่ งกันของยา และการประเมิน ถกู ตอ้ ง

5.2 ยำทใ่ี ชบ้ อ่ ยบนหอผปู้ ว่ ย (Medicine) Cafazolin ชอื่ การค้า cefalin / cafazolin sandoz การพยาบาล กลุม่ ยา caphalospolins (1st genertion) สรรพคณุ และกลไกการออกฤทธ์ิ 1. ให้รบั ประทานยาพรอ้ มอาหารหรือนม ป้องกนั การระคายเคือง รกั ษาอาการติดเชื้อทางเดนิ หายใจ ทางเดนิ อาหาร ผวิ หนงั ท่อทางเดินน้าดี ใช้ กระเพาะอาหาร ป้องกันการตดิ เช้ือหลังผา่ ตดั ออกฤทธ์ิตา้ นแบคทีเรยี แกรมบวกและแกรมลบ S.aureus , E.coli , P.mirabilis , H.influenzae 2. ไมใ่ หร้ บั ประทานยารว่ มกับการด่มื สุรา ผลข้างเคียง แพย้ าแบบ anaphylaxis ถ้าไดร้ บั ยานานจะมพี ิษตอ่ ไตและระบบ 3. การฉดี ยาเข้าเสน้ เลอื ดใหญ่แตล่ ะครง้ั ใหผ้ สม 1 กรัม ในน้ากลนั่ ประสาท 10 มลิ ลิลติ ร IV push ให้นานมากกว่า 30-40 นาที ให้ได้ 2-3 ชอ่ื ยา วิธีการใหย้ า ตัวทาละลาย การผสม อัตราการให้ ครงั้ ตอ่ วัน ระวงั ยารว่ั ออกนอกเสน้ เลือด ยา 4. ไมใ่ หร้ ่วมกับยาปฏิชีวนะอื่นในกระบอกฉดี ยาหรือขวดผสมยาเดยี วกัน Cefazolin inj IM 0.5% xylocaine, 5. สงั เกตอาการไข้ ควรลดลงและปริมาณปัสสาวะท่ีออกควรมจี านวน (1g/vial) SW 1 g ผสม 3 ปกติ IV bolus SW, NSS, ml 6. สังเกตภาวะตดิ เช้ือแทรกซอ้ น ได้แก่ เชอ้ื ราในปาก และอวยั วะ หรือ IV 5DW 1 g ผสม 7.5 3-5 min สบื พันธุ์ push ml Intermittent NSS, 5DW IV ผสม 50-100 15-30 minสารบญั ง ml 92


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook