Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มนต์เพื่อความก้าวหน้า

มนต์เพื่อความก้าวหน้า

Published by Xiao Li Liu, 2016-05-18 05:01:54

Description: รื่นเริงเบิกบานใจ จิตเป็นสมาธิได้ด้วยการสวดพระพุทธมนต์
ว.วชิรเมธี

Keywords: Dhamma

Search

Read the Text Version

๑ ในโครงการ “หนังสือธรรมะแจกฟรี ซีดีธรรมะให้เปล่า”01_1-20.indd 1 จัดพิมพ์โดย C35 M100 Y90 K30 12/8/11 5:33:56 PM

เพื่อค๙วามมนก้ตาว์ หน้า พิมพ์คร้ังท่ี ๑ ธนั วาคม ๒๕๕๓ จำนวนพมิ พ์ ๑๐,๐๐๐ เล่ม พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๒ มกราคม ๒๕๕๔ จำนวนพิมพ์ ๑๐,๐๐๐ เล่ม พมิ พค์ รัง้ ท่ี ๓ ธันวาคม ๒๕๕๔ จำนวนพิมพ์ ๒๐,๐๐๐ เลม่ จดั พมิ พ์โดย C35 M100 Y90 K30 สถาบันวิมุตตยาลัย เลขท่ี ๗/๙-๑๘ ซอยอรุณอมรนิ ทร์ ๓๗ ถนนอรณุ อมรินทร์ เขตบางกอกนอ้ ย กรุงเทพมหานคร ๑๐๗๐๐ โทรศพั ท์ ๐-๒๔๒๒-๙๑๒๓ โทรสาร ๐-๒๔๒๒-๙๑๒๘ Email: [email protected] www.dhammatoday.com01_1-20.indd 2 12/9/11 1:22:19 PM

คำอนุโมทนา ทุกวันนี้ คนไทยที่เป็นชาวพุทธนิยม สวดมนต์กันมากขึ้นกว่าแต่ก่อน บางคน บางกลุ่มก็ตั้งกันเป็นชมรมเพื่อทำกิจกรรม การสวดมนต์ร่วมกันโดยเฉพาะ บางกลุ่ม บางคณะ ก็นิยมจัดพิมพ์หนังสือสวดมนต์ แจกกันเป็นรายเดือน รายปี หรือบางที ก็พัฒนาจนเป็นกลุ่มจัดตั้งที่ชัดเจน จนกลาย เป็นลัทธิพิธีที่มีเอกลักษณ์เป็นของกลุ่มอย่าง ชดั เจน01_1-20.indd 3 12/8/11 9:18:00 AM

การสวดมนตน์ น้ั มองอยา่ งผวิ เผนิ ยอ่ ม เปน็ กศุ ลกจิ กรรม แตห่ ากพจิ ารณาอยา่ งลกึ ซง้ึ จะพบวา่ ถา้ หากกศุ ลกจิ กรรมนด้ี ำเนนิ ไปอยา่ ง ขาดปัญญา ก็อาจกลายเป็นความงมงายได้ เช่นเดียวกัน ดังจะขอตั้งเป็นข้อสังเกตว่า การสวดมนตข์ องคนไทยไมน่ อ้ ยนยิ มสวดเพอ่ื “บวงสรวง บนบานศาลกล่าว วิงวอน ร้องขอ ซึ่งค่อนไปทางเทวนิยม และมีแนวโน้มไปทาง เพิ่มความขลังขมังเวทย์ซึ่งเอียงไปข้างไสย ศาสตร์” กันเพิ่มขึ้น หรือหนังสือสวดมนต์ที่ มียอดพิมพ์แจกกันมากๆ นั้น บางทีก็หนัก ไปทางเปน็ บาลผี บี อกทไ่ี มใ่ ชพ่ ทุ ธมนตโ์ ดยตรง เสยี ดว้ ยซำ้ ดว้ ยตระหนกั ดวี า่ การสวดมนตน์ น้ั เปน็ กุศลกิจกรรมและควรคงวัตถุประสงค์เช่นนี้ ไว้ให้ตลอด ดังนั้น ผู้เรียบเรียงจึงปรารถนา01_1-20.indd 4 12/8/11 9:18:04 AM

จะให้เราชาวพุทธ ได้เรียนรู้การสวดมนต์บท ที่มีความหมาย มีความสำคัญ และก่อให้เกิด สติปัญญาแก่ผู้สวดจริงๆ ให้สมกับเวลาที่ได้ ใช้ไปเพอ่ื การน้ี โดยเจตนารมณด์ งั กลา่ ว เมอ่ื ผเู้ รยี บเรยี ง พำนักจำพรรษาอยู่ ณ วิมุตตยารามอังกฤษ ประเทศสหราชอาณาจกั ร เปน็ เวลาสามเดอื นโดย ความอุปถัมภ์และถวายความอนุเคราะห์ด้วย ไมตรีจิตอนั ดยี ่งิ ของ “คุณลุคแมน คณุ ชุมศรี และลูกชายที่น่ารักคือคุณศิวกร อาร์โนลด์” จึงได้ใช้เวลาช่วงปลีกวิเวกเข้าพรรษาน้ีเอง ปรับปรุงและเรียบเรียงหนังสือสวดมนต์ ฉบับนี้ขึ้นมาเพื่อจัดพิมพ์อีกครั้งหน่ึง (เคย จัดพิมพ์มาแล้วสองครั้ง แต่นับเป็นฉบับท่ียัง ไม่สมบูรณ์) จนกระท่ังสำเรจ็ เปน็ รูปเล่มอยา่ ง ทเี่ หน็ 01_1-20.indd 5 12/8/11 9:18:09 AM

ในส่วนของการจัดพิมพ์คราวน้ีน้ัน นอกจากครอบครัวของคุณลุคแมนซ่ึงเป็น เจ้าภาพหลักแล้ว สถาบันวิมุตตยาลัย ยัง ได้รับความอุปถัมภ์ในการจัดพิมพ์หนังสือ สวดมนต์ฉบับสมบูรณ์คราวน้ีจาก ปตท. ซ่ึงเห็นคุณค่าของงานเผยแผ่พุทธศาสนา โดยผ่านการสวดมนต์และการพิมพ์หนังสือ ธรรมะออกแจกจ่ายแก่ประชาชนในวงกว้าง และหอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ ฟิตเนสทางวิญญาณสำหรับคนกรุงเทพฯ อกี ด้วย ในนามของผู้เรียบเรียง อาตมภาพ จึงขออนุโมทนากุศลเจตนาของ ปตท. และ ภาคีเครือข่ายกัลยาณมิตรทุกฝ่ายไว้ ณ ที่นี้ ขอใหท้ ุกท่าน ทกุ คน ทกุ ฝา่ ย ผูร้ ว่ มเป็นธรรม ภาคีในการเผยแผ่ธรรมและกุศลกิจกรรม01_1-20.indd 6 12/8/11 9:18:13 AM

อันเก่ียวด้วยการสร้างวัฒนธรรมแห่งการ สวดมนต์ให้เป็นวัฒนธรรมสำหรับชาวพุทธ ในครั้งนี้ จงประสบแต่ความสุขความเจริญ โดยทั่วหน้ากนั ทกุ ท่านทุกคนเทอญ ว.วชิรเมธี วิมตุ ตยารามองั กฤษ ประเทศสหราชอาณาจักร ๑๐ สงิ หาคม ๒๕๕๔01_1-20.indd 7 12/8/11 9:18:17 AM

สารบัญ คำอนุโมทนา ๓ ความเป็นมาของการสวดมนต ์ ๑๐ ประโยชนข์ องการสวดมนต ์ ๑๔ สวดมนตอ์ ย่างไรและสวดเมอ่ื ไหร ่ ๑๕ ทำไมตอ้ งเปน็ ๙ มนต ์ ๑๘ ๑. บทสวดทั่วไป ๒๒ นมัสการพระรัตนตรัย ๒๔ ปุพพภาคนมการ ๒๕ ไตรสรณคมน์ ๒๗ ๒. บทสรรเสรญิ คณุ พระรัตนตรยั ๓๕ ๓. มงคลสูตร ๔๑ ๔. กาลามสตู ร 01_1-20.indd 8 12/8/11 9:18:21 AM

๕. ภทั เทกรัตตสตู ร ๔๕ ๖. โอวาทปาตโิ มกขคาถา ๔๘ ๗. ปัพพโตปมคาถา ๕๑ ๘. เมตตปริตร ๕๔ ๙. แผเ่ มตตา ๖๐ สมาธิ : ศลิ ปะการคืนสู่ ๖๓ ความสดชนื่ รน่ื เย็นของชวี ติ ทมี่ าของบทสวดมนต ์ ๖๗ มหาวชิ ชาลัยพทุ ธเศรษฐศาสตร ์ ๖๙ รว่ มเบกิ บานกบั การรบั ใชเ้ พอ่ื นมนษุ ย ์ ๘๑ สถานธี รรมะของทา่ นว.วชิรเมธ ี ๘๖01_1-20.indd 9 12/8/11 5:33:13 PM

ความเป็นมาของ การสวดมนต์ คำว่า “มนต์” กร่อนมาจากคำเต็มว่า “พุทธมนต์” ซึ่งหมายถึงพระธรรมคำสั่งสอน ของพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า การสวด มนต์ จงึ หมายถงึ การสวดพระธรรมคำสง่ั สอน ของพระสมั มาสัมพุทธเจ้านนั่ เอง ความเป็นมาของการสวดมนต์นั้น เริ่มต้นมาจากความพยายามในการจดจำคำ สง่ั สอนของพระพทุ ธองคข์ องบรรดาพระอรยิ - สาวกในครั้งพุทธกาล กล่าวคือ ทุกครั้งที่ พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมนั้น พระสาวก แต่ละรูปแต่ละองค์จะช่วยกันจดจำพระธรรม คำสอนนั้นแล้วถ่ายทอดสู่ศิษยานุศิษย์ของ01_1-20.indd 10 12/8/11 9:18:30 AM

ตนโดยระบบจากครูสู่ศิษย์ กล่าวคือ ครูฟัง มาจากพระพุทธเจ้า นำมาเล่าให้ศิษย์ฟัง ศิษย์จำคำบอกเล่าของครู แล้วนำไปสวด สาธยายจนจดจำไดค้ ล่องปาก ขึน้ ใจ รักษาไว้ แล้วจึงถ่ายทอดต่อให้คนอื่นๆ ในสำนัก ในเวลาต่อมาเราเรียกกระบวนการทรงจำ พระธรรมคำสั่งสอนแบบนี้ว่าเป็นระบบ “มุขปาฐะ” คือ ระบบจากปากส่ปู าก ครั้นเวลาต่อมาจึงค่อยๆ มีการพัฒนา เป็นการแบ่งความรับผิดชอบกันทรงจำอย่าง ชัดเจน เช่น พระสารีบุตรเป็นผู้นำด้านการ ทรงจำพระอภธิ รรม พระอานนทด์ า้ นพระสตู ร พระอุบาลีด้านพระวินัย และในที่สุดก็นำมา สู่การจัดระบบเป็น “พระไตรปิฎก” ในคราว ทำปฐมสังคายนา แลว้ สบื ทอด สง่ ต่อ (ท่เี รยี ก ว่าระบบ “อาจริยปรัมปรา” หรอื “อาจรยิ กุล”) กนั มาตามลำดับ01_1-20.indd 11 12/8/11 9:18:34 AM

เมื่อพระพุทธศาสนาเผยแผ่ไปยัง ประเทศใด วฒั นธรรมการทรงจำ สบื ทอด สวด สาธยายคำสอนที่อยู่ในรูป (การบันทึกไว้ใน) พระไตรปิฎกนก้ี ต็ ามตดิ ไปดว้ ย จนกลายเป็น สิ่งที่ทำกันอย่างเป็นปกติวิสัยในกิจวัตรของ พระภิกษสุ ามเณร เมื่อมีการสวดพระธรรมคำสอนกัน อยา่ งเปน็ กจิ วตั รทช่ี ดั เจน เชน่ แบง่ เปน็ ชว่ งเชา้ ช่วงเย็น เราจึงเรียกกจิ กรรมนี้วา่ “การทำวัตร สวดมนต์” สวดมนต์ตอนเช้าก็เรียกว่า “การทำวัตรเชา้ ” สวดมนตต์ อนเย็นกเ็ รียกว่า “การทำวัตรเย็น” ทุกวันนี้ การสวดมนต์ก็ดี การทำวตั รเชา้ การทำวตั รเยน็ กด็ ี ไดก้ ลายเปน็ กิจวัตรที่ปฏิบัติกันอยู่ในหมู่ชาวพุทธไทยจน เป็นเอกลกั ษณไ์ ปแล้ว01_1-20.indd 12 12/8/11 9:18:38 AM

จากที่กล่าวมา จงึ เปน็ อนั สรุปไดว้ า่ การ สวดมนต์กค็ อื การทรงจำสบื ตอ่ ถา่ ยทอดเรยี นรู้ พระธรรมคำสั่งสอนของพระอรหันตสัมมา- สมั พุทธเจา้ นน่ั เอง การสวดมนต์ที่กล่าวกันว่า มบี ญุ มาก มอี านิสงส์มาก กเ็ พราะวา่ ส่งิ ทีส่ วด ล้วนเป็นหลักธรรมสำคัญของพระอรหันต- สัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งสิ้น ยิ่งถ้าผู้สวดมีความรู้ มีความเข้าใจในสิ่งที่สวดด้วย การสวดมนต์ ก็อาจอำนวยผลสูงสุดเป็นการบรรลุภาวะ พระนพิ พานกย็ งั ไดอ้ กี ดว้ ย ดว้ ยเหตนุ ้ี จงึ กลา่ ว อีกอย่างหนึ่งว่า การสวดมนต์นั้นถ้าสวดเป็น กเ็ ห็นธรรม01_1-20.indd 13 12/8/11 9:18:42 AM

ประโยชน์ ของการสวดมนต์ การสวดมนต์มีประโยชน์นับอเนก ประการ ในคัมภีร์พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๐ บนั ทกึ ไวด้ งั ตอ่ ไปน้ี ๑. เข้าใจพระธรรมคำสอนอย่างแจ่ม กระจา่ ง ๒. รน่ื เรงิ เบกิ บานใจ ๓. อมิ่ เอิบใจ ๔. กายสงบระงับ ๕. มีความสขุ ๖. จิตเป็นสมาธิ ๗. เปน็ เหตแุ หง่ ความหลดุ พน้ จากกเิ ลส01_1-20.indd 14 12/8/11 9:18:46 AM

สวดมนต์อย่างไร และสวดเมื่อไหร่ การสวดมนต์นัน้ มสี องแบบ ๑. สวดมนต์เฉพาะบทบาลี ๒. สวดมนตบ์ ทบาลีและมีคำแปล การสวดมนตท์ ง้ั สองแบบน้ี มคี วามแตก ต่างกันตรงที่หากสวดมนต์ในวันธรรมดา นิยมสวดเฉพาะบทภาษาบาลี แต่หากเป็น วันธัมมัสสวนะหรือวันพระ นิยมสวดโดยมี คำแปลกำกบั ด้วย ข้อดขี องการสวดมนตแ์ ปล ก็คือ ทำให้เข้าใจเนื้อหาของบทสวดซึ่งก่อให้ เกิดทั้งบุญ (อิ่มใจ/สุขใจ) ทั้งปัญญา (ความ เข้าใจเน้ือหาสาระนำมาปรับใชใ้ นชีวติ ได้จริง)01_1-20.indd 15 12/8/11 9:18:50 AM

และในการสวดนั้น จะสวดในใจ หรือ สวดแบบเปลง่ เสียงกไ็ ด้ทงั้ ส้ิน รวมท้งั จะสวด แบบมีคำแปลเป็นภาษาไทย หรือแบบที่มีคำ แปลเปน็ ทำนองสรภญั ญะกไ็ ดอ้ กี เชน่ กนั ทง้ั น้ี ให้พจิ ารณาตามกาลเทศะเป็นสำคัญ ชว่ งเวลาของการสวดมนตก์ ม็ สี องแบบ เหมอื นกัน ๑. สวดตอนเช้า – ตอนเย็น (เรียกว่า ทำวัตรเช้า - ทำวตั รเย็น) ๒. สวดตามเวลาที่สะดวกหรือยาม ที่ต้องการความสงบ ความเป็นสิริมงคล ความมน่ั ใจ ใครที่มีเวลามากพอจะตั้งเป็นกติกา ขึ้นมาสำหรับตนเองด้วยการสวดมนต์ตอน เชา้ ตรู่ หรอื ตอนเยน็ หรอื เวลากอ่ นนอนกท็ ำได้ แต่สำหรับผู้ที่ไม่มีเวลาจะสวดตามสะดวก ที่ไหน เมื่อไหร่ ไม่ว่าจะที่วัด ที่บ้าน ที่ทำงาน01_1-20.indd 16 12/8/11 9:18:55 AM

บนรถส่วนตัว บนรถประจำทาง ยามนั่งรอ เพื่อทำกิจกรรมใดๆ หรือแม้กระทั่งยาม เดินทางไกลที่ต้องขึ้นรถ ลงเรือ หรือยามไป นอนพักค้างอ้างแรมในต่างถิ่นต่างที่และ/ หรือในยามที่จิตใจว้าวุ่น สับสน ประหวั่น พรั่นพรึง ต้องการขวัญกำลังใจ ก็สามารถ สวดมนตไ์ ด้ทง้ั สน้ิ ดังนัน้ กลา่ วอกี นัยหนึ่งวา่ พระพุทธมนต์น้นั สวดไดท้ กุ ทีท่ ุกเวลา01_1-20.indd 17 12/8/11 9:18:59 AM

ทำไมต้องเป็น “๙ มนต์ เพื่อความก้าวหน้า” พระพทุ ธมนตท์ บ่ี รุ พาจารยป์ ระมวลมา ไว้เป็นบทสำหรับสวดนั้นมีอยู่มากมายหลาย สิบบท แต่ในหนังสือเลม่ นี้คดั เลือกมาใหส้ วด เพยี ง ๙ บทสำคญั โดยใชเ้ กณฑใ์ นการคดั เลอื ก คอื ๑. ตอ้ งการจดั ทำสำหรบั ผทู้ ม่ี เี วลานอ้ ย ๒. คัดเลือกบทที่มีสาระสำคัญสำหรับ นำมาประพฤตปิ ฏบิ ตั ไิ ดใ้ นชวี ติ จรงิ ไมเ่ นน้ บท ทเ่ี กย่ี วกบั การวงิ วอนขอตอ่ สง่ิ ศกั ดส์ิ ทิ ธอ์ิ ยา่ งท่ี นิยมสวดกนั ทั่วไป เพราะผู้เรียบเรียงตอ้ งการ ใหเ้ นอ้ื หาของทกุ บทสวดสอดคลอ้ งกบั คำสอน ที่แท้จริงของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และใช้01_1-20.indd 18 12/8/11 9:19:03 AM

ดับทกุ ขไ์ ดใ้ นยามมที กุ ข์ กอ่ ใหเ้ กดิ ปญั ญายาม ต้องการปัญญา แก้ปัญหาได้ในยามวิกฤต เปน็ ตน้ บทสวดมนตท์ ง้ั ๙ บทนน้ั มีดงั น้ี ๑. บทนมัสการพระรัตนตรัย/ปุพพ- ภาคนมการ/ไตรสรณคมน์ (เพื่อแสดง ความเคารพตอ่ พระรตั นตรัย) ๒. บทสรรเสริญคุณพระรัตนตรัย (เพ่อื ความซาบซึ้งในคุณของพระไตรรตั น์) ๓. บทมงคลสูตร (เพื่อความเป็น สริ มิ งคลแห่งชวี ิต) ๔. บทกาลามสูตร (เพื่อฝึกตนให้เป็น คนมีปญั ญา) ๕. บทภัทเทกรัตตสูตร (เพื่อฝึกการ เจริญสติในชวี ติ ประจำวนั ) ๖. บทโอวาทปาติโมกข์ (เพื่อเรียนรู้ หัวใจของพระพทุ ธศาสนา)01_1-20.indd 19 12/8/11 9:19:07 AM

๗. บทปพั พโตปมคาถา (เพอ่ื ความเปน็ ผไู้ มป่ ระมาท) ๘. บทเมตตปริตร (เพื่อความเป็นผู้มี เสนห่ านา่ รกั ) ๙. บทแผ่เมตตา (เพื่อฝึกใจให้เปี่ยม ดว้ ยเมตตาจิต)01_1-20.indd 20 12/8/11 9:19:09 AM

๙ มนต์ เพื่อความก้าวหน้า ว.วชิรเมธี02_21-68.indd 21 12/8/11 12:30:24 PM

๑ บทสวดทั่วไป (นมัสการพระรัตนตรัย) อะระหงั สมั มาสัมพทุ โธ ภะคะวา, พระผมู้ พี ระภาคเจา้ , เปน็ พระอรหนั ต,์ ดับเพลิงกิเลสเพลิงทกุ ขส์ นิ้ เชงิ , ตรัสรู้ชอบไดโ้ ดยพระองค์เอง; พทุ ธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทม.ิ ขา้ พเจ้าอภิวาทพระผูม้ พี ระภาคเจ้า, ผู้รู้ ผูต้ ่ืน ผเู้ บกิ บาน. (กราบ) สว� ากขาโต ภะคะวะตา ธมั โม, พระธรรม เปน็ ธรรมทีพ่ ระผมู้ ีพระภาคเจ้า, ตรัสไว้ดีแล้ว; 22 ๙ มนต์ เพอ่ื ความก้าวหนา้02_21-68.indd 22 12/8/11 12:30:31 PM

ธัมมงั นะมัสสาม.ิ ขา้ พเจ้านมัสการพระธรรม. (กราบ) สุปะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, พระสงฆส์ าวกของพระผมู้ พี ระภาคเจา้ , ปฏิบัตดิ แี ลว้ ; สงั ฆงั นะมามิ. ขา้ พเจา้ นอบน้อมพระสงฆ.์ (กราบ) ๛ 23 ว.วชิรเมธี02_21-68.indd 23 12/8/11 12:30:36 PM

(ปุพพภาคนมการ) (หนั ทะ มะยัง พทุ ธสั สะ ภะคะวะโต ปพุ พะภาคะนะมะการงั กะโรมะ เส.) นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต, ขอนอบนอ้ มแด่พระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองค์น้ัน; อะระหะโต, ซ่งึ เป็นผู้ไกลจากกเิ ลส; สมั มาสัมพุทธัสสะ. ตรสั รู้ชอบได้โดยพระองคเ์ อง. (๓ ครง้ั ) ๛ 24 ๙ มนต์ เพอ่ื ความก้าวหนา้02_21-68.indd 24 12/8/11 12:30:41 PM

(ไตรสรณคมน์) (หันทะ มะยงั ตสิ ะระณะคะมะนะปาฐัง ภะณามะ เส.) พทุ ธงั สะระณงั คัจฉาม,ิ ข้าพเจา้ ถือเอาพระพุทธเจ้า เปน็ สรณะ; ธมั มัง สะระณัง คจั ฉามิ, ข้าพเจา้ ถือเอาพระธรรม เป็นสรณะ; สังฆงั สะระณงั คัจฉาม,ิ ขา้ พเจ้าถอื เอาพระสงฆ์ เปน็ สรณะ; ทตุ ยิ มั ปิ พุทธงั สะระณงั คัจฉามิ, แมค้ รง้ั ทส่ี อง ขา้ พเจา้ ถอื เอาพระพทุ ธเจา้ เป็นสรณะ; 25 ว.วชิรเมธี02_21-68.indd 25 12/8/11 12:30:46 PM

ทตุ ิยัมปิ ธัมมงั สะระณงั คจั ฉาม,ิ แม้ครง้ั ทส่ี อง ข้าพเจา้ ถอื เอาพระธรรม เปน็ สรณะ; ทุตยิ ัมปิ สงั ฆัง สะระณงั คัจฉามิ, แมค้ รั้งทีส่ อง ขา้ พเจา้ ถือเอาพระสงฆ์ เป็นสรณะ. ตะติยัมปิ พทุ ธงั สะระณงั คจั ฉาม,ิ แมค้ รง้ั ทส่ี าม ขา้ พเจา้ ถอื เอาพระพทุ ธเจา้ เป็นสรณะ; ตะติยัมปิ ธมั มงั สะระณงั คจั ฉาม,ิ แมค้ รั้งที่สาม ข้าพเจา้ ถอื เอาพระธรรม เปน็ สรณะ; ตะตยิ ัมปิ สงั ฆัง สะระณงั คัจฉามิ, แมค้ รง้ั ที่สาม ข้าพเจา้ ถือเอาพระสงฆ์ เปน็ สรณะ. ๛ 26 ๙ มนต์ เพ่ือความกา้ วหนา้02_21-68.indd 26 12/8/11 12:30:50 PM

๒ บทสรรเสริญ คุณพระรัตนตรัย (บทสรรเสริญพระพุทธคุณ) (หันทะ มะยงั พทุ ธาภิถุติง กะโรมะ เส) (นำ) อติ ิปิ โส ภะคะวา (รับพรอ้ มกนั ) อะระหัง สมั มาสมั พุทโธ วชิ ชาจะระณะสมั ปนั โน สคุ ะโต โลกะวทิ ู อะนตุ ตะโร ปรุ ิสะทมั มะสาระถิ สัตถา เทวะมะนสุ สานัง พทุ โธ ภะคะวาติ 27 ว.วชิรเมธี02_21-68.indd 27 12/8/11 12:30:55 PM

(นำ) องคใ์ ดพระสมั พุทธ(รับพรอ้ มกัน) สุวิสทุ ธสนั ดาน ตดั มูลเกลศมาร บ มิหมน่ มิหมองมัว หนึ่งในพระทัยทา่ น ก็เบิกบานคอื ดอกบัว ราคี บ พันพวั สวุ คนธกำจร องค์ใดประกอบด้วย พระกรุณาดงั สาคร โปรดหม่ปู ระชากร มละโอฆกันดาร ชี้ทางบรรเทาทกุ ข ์ และช้สี ุขเกษมสานต์ ชีท้ างพระนฤพาน 28 ๙ มนต์ เพื่อความก้าวหน้า

อนั พน้ โศกวิโยคภยั พรอ้ มเบญจพิธจัก- ษจุ รัสวิมลใส เห็นเหตทุ ใี่ กลไ้ กล กเ็ จนจบประจักษ์จรงิ กำจัดนำ้ ใจหยาบ สันดานบาปแหง่ ชายหญิง สตั ว์โลกได้พึ่งพิง มละบาปบำเพญ็ บุญ ข้าฯ ขอประณตนอ้ ม ศริ ะเกลา้ บงั คมคุณ สัมพุทธการุญ- ญภาพนน้ั นิรันดรฯ. (กราบ) ๛ 29 ว.วชิรเมธี02_21-68.indd 29 12/8/11 12:31:04 PM

(บทสรรเสริญพระธรรมคุณ) (หันทะ มะยงั ธัมมาภิถุตงิ กะโรมะ เส) (นำ) สว๎ ากขาโต (รบั พรอ้ มกนั ) ภะคะวะตา ธมั โม สนั ทฏิ ฐโิ ก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปจั จัตตัง เวทติ พั โพ วิญญูหตี ิ (นำ) ธรรมะคอื คุณากร (รับพร้อมกนั ) สว่ นชอบสาธร ดจุ ดวงประทปี ชชั วาล แหง่ องค์พระศาสดาจารย์ ส่องสตั วส์ นั ดาน สว่างกระจ่างใจมล 30 ๙ มนต์ เพอื่ ความกา้ วหนา้02_21-68.indd 30 12/8/11 12:31:08 PM

ธรรมใดนับโดยมรรคผล เปน็ แปดพงึ ยล และเกา้ กับทงั้ นฤพาน สมญาโลกอุดรพิสดาร อนั ลกึ โอฬาร พิสุทธพ์ิ เิ ศษสุกใส อีกธรรมตน้ ทางครรไล นามขนานขานไข ปฏิบตั ิปรยิ ตั เิ ปน็ สอง คือทางดำเนนิ ดุจคลอง ใหล้ ่วงลปุ อง ยังโลกอุดรโดยตรง ข้าฯ ขอโอนอ่อนอตุ มงค ์ นบธรรมจำนง ดว้ ยจิตและกายวาจา. (กราบ) ๛ 31 ว.วชิรเมธี02_21-68.indd 31 12/8/11 12:31:13 PM

(บทสรรเสริญพระสังฆคุณ) (หันทะ มะยัง สงั ฆาภิถุตงิ กะโรมะ เส) (นำ) สปุ ะฏปิ ันโน (รบั พรอ้ มกัน) ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ อชุ ปุ ะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏปิ ันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะททิ งั จัตตาริ ปรุ ิสะยคุ านิ อัฏฐะ ปรุ ิสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหเุ นยโย ปาหุเนยโย ทักขเิ ณยโย อญั ชะลีกะระณีโย อะนตุ ตะรัง ปญุ ญกั เขตตงั โลกสั สาติ 32 ๙ มนต์ เพอ่ื ความกา้ วหนา้02_21-68.indd 32 12/8/11 12:31:17 PM

(นำ) สงฆใ์ ดสาวกศาสดา (รับพร้อมกัน) รับปฏิบัติมา แต่องค์ สมเด็จภควนั ต์ เห็นแจง้ จตุสจั เสรจ็ บรร- ลุทางที่อัน ระงับและดบั ทกุ ข์ภยั โดยเสดจ็ พระผตู้ รสั ไตร ปัญญาผอ่ งใส สะอาดและปราศมัวหมอง เหนิ หา่ งทางข้าศึกปอง บ มลิ ำพอง ด้วยกายและวาจาใจ เปน็ เน้ือนาบุญอนั ไพ- ศาลแดโ่ ลกัย และเกิดพิบลู ยพ์ ูนผล สมญาเอารสทศพล มคี ุณอนนต ์ อเนกจะนับเหลือตรา ข้าฯ ขอนบหมพู่ ระศรา- พกทรงคณุ า- นคุ ณุ ประดจุ รำพนั ด้วยเดชบญุ ขา้ อภิวันท์ พระไตรรัตนอ์ ัน อดุ มดิเรกนริ ตั สิ ยั 33 ว.วชิรเมธี02_21-68.indd 33 12/8/11 12:31:22 PM

จงช่วยขจัดโพยภัย อันตรายใดใด จงดับและกลบั เส่ือมสญู . (กราบ) ๛ 34 ๙ มนต์ เพ่ือความกา้ วหนา้02_21-68.indd 34 12/8/11 12:31:26 PM

๓ มงคลสูตร (หนั ทะ มะยงั มังคะละสตุ ตะปาฐัง ภะณามะ เส.) อะเสวะนา จะ พาลานัง ปัณฑติ านญั จะ เสวะนา ปชู า จะ ปชู ะนยี านงั เอตัมมงั คะละมุตตะมัง ฯ (พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า การไม่คบ คนพาล ๑ การคบบัณฑิต ๑ การบูชาคนที่ ควรบูชา ๑ ข้อนีเ้ ป็นมงคลอันสูงสดุ ) 35 ว.วชิรเมธี02_21-68.indd 35 12/8/11 12:31:30 PM

ปะฏริ ูปะเทสะวาโส จะ ปพุ เพ จะ กะตะปุญญะตา อตั ตะสัมมาปะณิธิ จะ เอตมั มังคะละมตุ ตะมงั ฯ (การอยู่ในถิ่นมีสิ่งแวดล้อมดี ๑ การ ทำความดีให้พร้อมไว้ก่อน ๑ การตั้งตน ไวช้ อบ ๑ ขอ้ นเี้ ป็นมงคลอนั สูงสดุ ) พาหุสจั จญั จะ สิปปัญจะ วินะโย จะ สสุ ิกขิโต สุภาสติ า จะ ยา วาจา เอตัมมังคะละมตุ ตะมัง ฯ (การเป็นผู้เล่าเรียนศึกษามาก ๑ มีศิลปวิทยา ๑ มีระเบียบวินัยดีอันชนศึกษา ดีแลว้ ๑ มวี าจาสุภาษติ ๑ ข้อนีเ้ ป็นมงคลอัน สงู สุด) 36 ๙ มนต์ เพ่อื ความก้าวหนา้02_21-68.indd 36 12/8/11 12:31:35 PM

มาตาปิตอุ ปุ ัฏฐานงั ปตุ ตะทารสั สะ สังคะโห อะนากุลา จะ กมั มันตา เอตัมมงั คะละมุตตะมัง ฯ (การบำรงุ มารดาบดิ า ๑ การสงเคราะห์ บตุ รและภรรยา ๑ การงานท่ีไม่อากูล ๑ ข้อนี้ เป็นมงคลอันสงู สุด) ทานัญจะ ธมั มะจะริยา จะ ญาตะกานญั จะ สงั คะโห อะนะวชั ชานิ กมั มานิ เอตัมมงั คะละมุตตะมัง ฯ (การรู้จักให้ ๑ การประพฤติธรรม ๑ การสงเคราะห์ญาติ ๑ การงานที่ไม่มีโทษ ๑ ข้อนีเ้ ปน็ มงคลอันสงู สุด) 37 ว.วชิรเมธี02_21-68.indd 37 12/8/11 12:31:40 PM

อาระตี วริ ะตี ปาปา มชั ชะปานา จะ สัญญะโม อัปปะมาโท จะ ธัมเมสุ เอตมั มังคะละมตุ ตะมัง ฯ (การงดเว้นจากความชัว่ ๑ การเวน้ จาก การดื่มน้ำเมา ๑ การไม่ประมาทในธรรม ท้ังหลาย ๑ ข้อนี้เป็นมงคลอันสงู สุด) คาระโว จะ นิวาโต จะ สนั ตฏุ ฐี จะ กะตญั ญตุ า กาเลนะ ธมั มสั สะวะนัง เอตมั มงั คะละมตุ ตะมัง ฯ (การเคารพ ๑ ความสภุ าพอ่อนน้อม ๑ การยนิ ดใี นของทม่ี อี ยู่ ๑ การเปน็ คนกตญั ญู ๑ การฟังธรรมตามกาล ๑ ข้อนี้เป็นมงคลอัน สูงสุด) 38 ๙ มนต์ เพือ่ ความกา้ วหนา้02_21-68.indd 38 12/8/11 12:31:44 PM

ขนั ตี จะ โสวะจัสสะตา สะมะณานญั จะ ทสั สะนัง กาเลนะ ธัมมะสากัจฉา เอตัมมังคะละมตุ ตะมงั ฯ (ความอดทน ๑ การเป็นคนว่าง่าย ๑ การเห็นสมณะทั้งหลาย ๑ การสนทนาธรรม ตามกาล ๑ ขอ้ นเ้ี ป็นมงคลอนั สูงสุด) ตะโป จะ พร� หั มะจะริยัญจะ อะริยะสัจจานะ ทัสสะนัง นิพพานะสจั ฉิกริ ิยา จะ เอตมั มังคะละมตุ ตะมงั ฯ (ความเพียรเผากิเลส ๑ การประพฤติ อย่างพรหมจรรย์ ๑ การเห็นอริยสัจจ์ ๑ การทำพระนิพพานให้แจ้ง ๑ ข้อนี้เป็นมงคล อันสงู สดุ ) 39 ว.วชิรเมธี02_21-68.indd 39 12/8/11 12:31:50 PM

ผฏุ ฐัสสะ โลกะธัมเมหิ จติ ตัง ยสั สะ นะ กมั ปะติ อะโสกงั วิระชงั เขมัง เอตมั มงั คะละมตุ ตะมัง ฯ (จิตของผู้ใด อันโลกธรรมถูกต้องแล้ว ยอ่ มไมห่ วน่ั ไหว ไมม่ โี ศก ปราศจากธลุ ี จติ เกษม ขอ้ นี้เปน็ มงคลอันสงู สุด) เอตาทสิ านิ กัตวานะ สพั พัตถะมะปะราชิตา สัพพัตถะ โสตถิง คจั ฉนั ติ ตนั เตสงั มังคะละมตุ ตะมนั ติ ฯ (เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย กระทำ มงคลทั้งหลายเช่นนี้แล้ว เป็นผู้ไม่พ่ายแพ้ ในที่ทั้งปวง ย่อมถึงความสวัสดีในที่ทั้งปวง ขอ้ นเ้ี ปน็ มงคลอนั สงู สดุ ของเทวดาและมนษุ ย์ ทงั้ หลายเหล่านน้ั แล ฯ). ๛ 40 ๙ มนต์ เพอื่ ความกา้ วหน้า02_21-68.indd 40 12/8/11 12:31:55 PM

๔ กาลามสูตร(หนั ทะ มะยัง กาลามะสุตตะปาฐัง ภะณามะ เส.) 41 ว.วชิรเมธี

มา ตักกะเหตุ อย่าปลงใจเชื่อเพราะตรรกะ มา นะยะเหตุ อยา่ ปลงใจเชอ่ื เพราะการอนุมาน มา อาการะปริวติ ักเกนะ อย่าปลงใจเชอ่ื ด้วยการคิดตรองตาม แนวเหตุผล มา ทฏิ ฐนิ ิชฌานักขันตยิ า อย่าปลงใจเชื่อเพราะเขา้ ได้กับทฤษฎี ทีพ่ นิ จิ ไว้แลว้ มา ภัพพะรปู ะตายะ อย่าปลงใจเชอ่ื เพราะมองเหน็ รปู ลักษณะน่าจะเป็นไปได้ มา สะมะโณ โน คะรูติ อย่าปลงใจเชื่อเพราะนบั ถอื ว่า ท่านสมณะนี้เปน็ ครขู องเรา 42 ๙ มนต์ เพื่อความก้าวหน้า02_21-68.indd 42 12/8/11 12:32:05 PM

ยะทา ตุมเห กาลามา อตั ตะนาวะ ชาเนยยาถะ กาลามชน เมอ่ื ใดทา่ นรดู้ ้วยตวั เองวา่ อิเม ธมั มา อะกสุ ะลา ธรรมเหลา่ นีเ้ ป็นอกศุ ล อิเม ธมั มา สาวัชชา ธรรมเหล่านี้มีโทษ อิเม ธัมมาวญิ ญคุ ะระหิตา ธรรมเหล่านี้ท่านผรู้ ตู้ ิเตยี น อิเม ธมั มา สะมัตตา สะมาทนิ นา อะหิตายะ ทุกขายะ สังวตั ตนั ตตี ิ ธรรมเหลา่ นใ้ี ครสมาทานใหเ้ ตม็ ท่ีแลว้ ย่อมเป็นไปเพื่อสงิ่ ไมเ่ ป็นประโยชน์ เพ่ือทุกข์ อะถะ ตุมเห กาลามา ปะชะเหยยาถะ กาลามชน ท่านพงึ ละเสียเมอื่ นน้ั 43 ว.วชิรเมธี02_21-68.indd 43 12/8/11 12:32:10 PM

ยะทา ตุมเห กาลามา อตั ตะนาวะ ชาเนยยาถะ กาลามชน เมอื่ ใดท่านรูด้ ว้ ยตนเองวา่ อิเม ธัมมา กุสะลา ธรรมเหลา่ นี้ เป็นกุศล อิเม ธัมมา อะนะวัชชา ธรรมเหลา่ น้ี ไม่มีโทษ อิเม ธัมมา วญิ ญุปปะสัตถา ธรรมเหลา่ นท้ี า่ นผู้รู้สรรเสริญ อิเม ธมั มา สะมัตตา สะมาทินนา หติ ายะ สุขายะ สังวตั ตันตตี ิ ธรรมเหลา่ นี้ ใครสมาทานให้เต็มทแ่ี ลว้ ยอ่ มเปน็ ไปเพ่อื ประโยชน์ เพอื่ สุข อะถะ ตุมเห กาลามา อุปสัมปัชชะ วหิ ะเรยยาถาติ กาลามชน เม่ือนัน้ ทา่ นพงึ ถงึ พร้อม ธรรมเหลา่ นน้ั อยู่ ๛ 44 ๙ มนต์ เพ่อื ความกา้ วหนา้02_21-68.indd 44 12/8/11 12:32:16 PM

๕ ภัทเทกรัตตสูตร (หนั ทะ มะยงั ภทั เทกะรตั ตะคาถาโย ภะณามะ เส.) อะตตี ัง นานว๎ าคะเมยยะ นปั ปะฏิกงั เข อะนาคะตงั , บคุ คลไมค่ วรตามคดิ ถงึ สง่ิ ทล่ี ว่ งไปแลว้ ดว้ ยอาลัย; และไมพ่ งึ พะวงถึงสิง่ ทย่ี ังไมม่ าถึง ยะทะตีตมั ปะหนี นั ตัง อัปปตั ตัญจะ อะนาคะตงั , ส่งิ เป็นอดีตก็ละไปแล้ว สง่ิ เปน็ อนาคตกย็ ังไม่มา 45 ว.วชิรเมธี02_21-68.indd 45 12/8/11 12:32:20 PM

ปจั จปุ ปันนญั จะ โย ธมั มัง ตัตถะ ตัตถะ วิปสั สะติ, อะสังหิรัง อะสงั กปุ ปงั ตัง วทิ ธา มะนุพร๎ หู ะเย. ผู้ใดเห็นธรรมอันเกิดขึ้นเฉพาะหน้า ในทน่ี ัน้ ๆ อยา่ งแจ่มแจง้ ไมง่ อ่ นแง่นคลอนแคลน เขาควรพอกพูนอาการเชน่ นน้ั ไว.้ อัชเชวะ กิจจะมาตปั ปัง โก ชญั ญา มะระณัง สเุ ว, ความเพียรเป็นกิจท่ตี อ้ งทำวนั นี,้ ใครจะรูค้ วามตาย แมพ้ รงุ่ น.้ี นะ หิ โน สงั คะรันเตนะ มะหาเสเนนะ มัจจนุ า, เพราะการผัดเพีย้ นตอ่ มจั จุราชซงึ่ มี เสนามาก ย่อมไมม่ ีสำหรบั เรา 46 ๙ มนต์ เพื่อความก้าวหนา้02_21-68.indd 46 12/8/11 12:32:26 PM

เอวงั วหิ าริมาตาปิง อะโหรัตตะมะตันทิตงั , ตัง เว ภัทเทกะรัตโตติ สนั โต อาจกิ ขะเต มุนิ. มนุ ผี สู้ งบยอ่ มกลา่ วเรยี กผมู้ คี วามเพยี ร อยเู่ ชน่ น้ัน, ไม่เกยี จคร้านทง้ั กลางวนั กลางคืน ว่า, “ผู้เป็นอยู่แม้เพียงราตรี เดยี ว กน็ ่าชม”. ๛ 47 ว.วชิรเมธี02_21-68.indd 47 12/8/11 12:32:30 PM

๖ โอวาทปาติโมกขคาถา (หนั ทะ มะยัง โอวาทะปาตโิ มกขะคาถาโย ภะณามะ เส.) สพั พะปาปสั สะ อะกะระณงั , การไม่ทำบาปทง้ั ปวง กสุ ะลัสสปู ะสมั ปะทา, การทำกุศลใหถ้ ึงพร้อม สะจติ ตะปะรโิ ยทะปะนงั , การชำระจติ ของตนใหข้ าวรอบ เอตัง พทุ ธานะสาสะนงั . ธรรม ๓ อย่างนี้ เป็นคำสั่งสอนของ พระพทุ ธเจา้ ทงั้ หลาย. 48 ๙ มนต์ เพอ่ื ความก้าวหน้า02_21-68.indd 48 12/8/11 12:32:36 PM

ขนั ตี ปะระมงั ตะโป ตตี ิกขา, ขนั ตี คอื ความอดกลน้ั เปน็ ธรรมเครอ่ื ง เผากเิ ลสอยา่ งย่ิง นิพพานงั ปะระมงั วะทันติ พุทธา, ผู้รู้ทั้งหลาย กล่าวพระนิพพานว่าเป็น ธรรมอันยง่ิ นะ หิ ปพั พะชโิ ต ปะรปู ะฆาตี, ผู้กำจัดสตั วอ์ น่ื อยู่ ไม่ชอ่ื ว่าเปน็ บรรพชิตเลย สะมะโณ โหติ ปะรัง วเิ หฐะยันโต. ผู้ทำสตั วอ์ ื่นใหล้ ำบากอยู่ ไม่ชือ่ ว่าเปน็ สมณะเลย. อะนปู ะวาโท อะนูปะฆาโต, การไมพ่ ูดร้าย, การไมท่ ำร้าย ปาติโมกเข จะ สังวะโร, การสำรวมในปาติโมกข์ 49 ว.วชิรเมธี02_21-68.indd 49 12/8/11 12:32:41 PM


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook