Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่ม

เล่ม

Published by กพร. สค., 2020-09-02 02:10:40

Description: เล่ม

Search

Read the Text Version

18 กนั ยายน 2563 กิจกรรม ตลาดนดั ความรู ประจำป 2563 กลุ่มพัฒนาระบบบรหิ าร

กำหนดการ วันที่ 18 กันยายน 2563 เวลา 08.30 - 09.00 น. - กจิ กรรมมอบรางวัลขา ราชการดเี ดน - กจิ กรรมมอบรางวัล 1 คนดี 1 จริยธรรม สค. - กจิ กรรมมอบรางวลั มาตรฐานการดำเนนิ งานดา นการพฒั นา สตรแี ละครอบครวั ของศนู ยเ รยี นรกู ารพฒั นาสตรแี ละครอบครวั ประจำปงบประจำปม าณ 2562 - กจิ กรรมมอบรางวลั สดุ ยอดการจดั การความรเู พอ่ื การพฒั นางาน (KM Awards) - กจิ กรรมมอบรางวลั การประกวด 5 ส. เวลา 09.00 - 11.00 น. - กจิ กรรมเสวนา เรอื่ ง ผลการประกวดรางวัลสดุ ยอดการจัดการ ความรูเพือ่ การพฒั นางาน (KM Awards) โดยศูนยเรยี นรู จ.ลำปาง, จ.เชียงราย, จ.ลำพูน, จ.นนทบรุ ี และนายจารกุ ิตติ์ คงพกุ า (ผดู ำเนินรายการ) เวลา 11.00 - 12.00 น. - กิจกรรมเสวนา เรอ่ื ง ผลการประกวดรางวลั สดุ ยอดการจัดการ ความรูเพอื่ การพฒั นางาน (KM Awards) โดย กสค., กคอ., ศนู ยเ รียนรฯู จ.ศรีสะเกษ, จ.นนทบรุ ี, และนายจารุกติ ต์ิ คงพุกา (ผดู ำเนนิ รายการ) เวลา 12.00 - 13.00 น. - รับประทานอาหารกลางวัน เวลา 13.00 - 18.00 น. - กิจกรรมตลาดนัดความรู ประจำป 2563 เวลา 18.00 - 21.00 น. - แบง กลมุ 3 กลมุ เพือ่ ทำกิจกรรมสานสมั พนั ธอ งคกร (Theme งาน “รกั แลกภพ”/มฆุ ติ าจติ “สค. รวมใจสานสายใย ผูกพนั ”)

การจดั การความรู Knowledge Management ความหมาย การจัดการความรู คือ การรวบรวมองคความรู ที่มีอยูในสวนราชการ ซึ่งกระจัดกระจายอยูใน ตัวบุคคลหรือเอกสารมาพัฒนาใหเปนระบบ เพื่อใหทุกคนในองคการสามารถเขาถึงความรู และพัฒนาตนเองใหเปนผูรู รวมทั้งปฏิบัติงาน ไดอยางมีประสิทธิภาพอันจะสง ผลใหอ งคก ารมี ความสามารถในเชงิ แขงขันสูงสดุ เปาหมาย การจดั การความรู คอื เครอื่ งมือเพื่อการบรรลเุ ปา หมาย อยางนอย 4 ประการไปพรอมๆ กัน ไดแก (1) การบรรลุ เปา หมายของงาน (2) การบรรลเุ ปา หมายดา นการพฒั นาคน (3) การบรรลุเปา หมายดานการพัฒนาองคกรไปเปน องคกร แหงการเรียนรู (4) การบรรลุเปาหมายของการเปนชุมชน หมูคณะ ท่ีมคี วามเออื้ อาทรระหวางกันในที่ทำงาน ประโยชน (1) ปรับปรุงประสิทธิภาพและเพิ่มผลผลิตใหกับทุก ภาคสวนขององคกร (2) สรางนวัตกรรมและการเรียนรูรวมถึงการสงเสริม ใหคนในองคกรแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยน ความรูไดอยางเต็มที่ (3) เพิ่มคุณภาพและลดรอบเวลาในการใหบริการ (4) ลดคาใชจายโดยกําจัดกระบวนการที่ไมสรางคุณคา ใหกับงาน (5) ใหความสําคญกับความรูของพนักงานและใหคา ตอบแทนและรางวัลที่เหมาะสม

ข้ันตอนการจดั การความรู 1การบง ช้คี วามรู 2 การสรางและ 3 การจัดการ แสวงหาความรู เราตองมคี วามรเู รอ่ื งอะไร ความรูใหเปนระบบ เรามคี วามรูเ รื่องนัน้ หรอื ยัง ความรูอยูท ่ีใคร อยูในรปู แบบ อะไร จะเอามาเกบ็ รวมกันได จะแบง ประเภทหวั ขออยางไร อยา งไร 4 การประมวลและ 5 6 การแบงปน กล่ันกรองความรู จะทำใหเขา ใจงายและ การเขา ถึงความรู แลกเปลย่ี นเรียนรู สมบรู ณอ ยางไร เรานำความรมู าใชงาน มกี ารแบงปนความรูใ หก ัน ไดงา ยหรอื ไม หรือไม 7 การเรยี นรู ความรนู ัน้ ทำใหเกิดประโยชน กบั องคก รหรอื ไม ทำใหองคกร ดีขึ้นหรอื ไม

KM 2563 : ฏ Walk in ) (8 )* (- (IDP) **,*** () 720 . / 360 ./ 120 ./ 60 . - - - - - - : 4/ // / / Line , 1 ,3 ,, ), (

: / ) ( / / ): ( () / ( ) - // - - ( /Email/ - - / / IQ, EQ / / - ) - - - - - - - - -- - () Excel - : () - () - ( / ) - - ( . . . .) - - - ( : .. (IDP) - - . .) - (IDP) - - () ,) - // - () ( : .. . .) ( : / Walk in) : / ) - ( ) ( ) - (- ) / ( - // - - - /- - - - -/ ( /Email/ - ) - - - - - - () - - () Excel () ( )- /- ( : .. (IDP) - . .) (IDP) - () ,) - // () ( : .. . .)

(Individual Development Plan) – ___________________________ ▪ .............................................................................. ......................................................... ▪ ▪ ………………………………… ( -๘ ) (๘ ) / - กลมุ่ สง่ เสริมการจดั สวสั ดกิ ารสงั คมด้านสตรแี ละครอบครวั / ซ ………………………………… ๙๐ ………………………………… ) ๐  …………………………………  ………………………………… - ( - * ** * , ** IDP ๐ ๐ ๐ ,๐



องคความรูภายใน E-Book











܎㈎ℎ䀎⬎ℎ㜎ⴎᔎㄎ܎ᨎᘎ㠎എ⠎䄎┎㐎⬎܎૷ᬎ┎㈎௷৷ᤎᤎ㈎ 쌀묀���딀刁뤀쨀씀툀ꄀ숀촀刁섀 ⬎ㄎᔎᘎĎ⌎⌎ℎ܎㈎ᤎ⠎┎㐎ᬎ䰎⨎ᔎ⌎㔎ᬎ⌎『ᔎᬎ㤎䠎㈎ ⠀ꈀ촀꜀ꠀ쌀꜀퐀⤀ 씀툀숀묀ꄀ���딀刁뤀쨀씀툀ꄀ숀刁촀섀 ⠀씀툀숀됀퐀섀⤀ ᰠĎ㈎⌎Ȏㄎᨎ䀎Ў┎䠎㜎ⴎᤎ ꄀ쌀퀀먀윀뤀ꄀ툀쌀씀ꄀ묀씀숀픀뤀 씀툀숀묀ꄀ���쬀턀딀똀ꄀ쌀쌀섀꜀툀뤀 저씀퐀 묀态  㤀  씀 툀숀  ⨎䠎㤎Ў✎㈎ℎ∎䠎ㄎ܎∎㜎ᤎᴠ 쌀숀픀뤀쌀 刁���䬀䴀 묀㈀ᨠ㔀㘀㈀ 쌀휀촀꜀ ꄀ툀쌀됀刁뤀씀퀀묀���ꄀ씀툀숀밀툀刁 쌀묀���딀뤀刁쨀씀툀ꄀ숀刁촀섀 븀턀눀뤀툀딀㤠촀숀촀됀씀툀숀묀���ꄀ ⠀쬀턀딀똀ꄀ쌀쌀섀꜀툀뤀저퐀씀묀먀态뤀딀刁뤀쨀씀툀ꄀ숀촀刁섀⤀ 䬀䴀 묀㈀ᨠ㔀㘀㌀     ࠎ㈎Ď䈎Ў⌎܎Ď㈎⌎⨎⌎䤎㈎܎਎㔎✎㐎ᔎ䌎⬎ℎ䠎䌎⬎䤎䄎Ď䠎⨎ᔎ⌎㔎䄎┎『Ў⌎ⴎᨎЎ⌎ㄎ✎ ⠀㄀ 㐀✎ㄎᤎ⤀ ᔎ䠎ⴎ∎ⴎᐎᐎ䤎✎∎䈎Ў⌎܎Ď㈎⌎⨎ᤎㄎᨎ⨎ᤎ㠎ᤎ Ď㈎⌎⌎✎ℎĎ┎䠎ℎ㠎ᬎ⌎『Ďⴎᨎⴎ㈎਎㔎Ḏ ㄀㄀  ✎ᤎㄎ Ȏⴎ܎⠎㤎ᤎ∎䰎䀎⌎∎㔎ᤎ⌎㤎䤎Ď㈎⌎Ḏㄎሎᤎ㈎⨎ᔎ⌎㔎䄎┎『Ў⌎ⴎᨎЎ⌎✎ㄎ 䀎ऎ┎ℎ㐎Ḏ⌎『䀎Ď∎㔎⌎ᔎ㐎 㜀㈀ Ḏ⌎⌎⤎㈎ ᨎ⌎ℎ⌎㈎਎㐎ᤎᤎ㔎㈎ᘎ ࠎ܎ㄎ⬎✎ᐎㄎ┎㈎䴎Ḏ㤎ᤎ ᜎ㈎䴎䌎⬎䀎䤎Ďᐎ㐎Ď㈎⌎⌎✎ℎĎ┎ℎ䠎㠎Ȏⴎ܎⨎ᔎ⌎䌎㔎ᤎᔎ㈎䴎ᨎ┎ᬎ⌎『ᔎᬎ㤎䠎㈎ 䈎ᐎ∎ࠎ㠎ᐎ䀎⌎䠎ℎ㐎ᔎᤎ䤎 ࠎ㈎Ďᰎ┎ᔎ㐎‎ጎㄎᄎᰎ䰎㈎䤎ᜎⴎℎⴎ㜎ᔎ㈎䴎ᨎ┎ᬎ⌎『ᔎᬎ㤎䠎㈎ ⨎Ď㤎䠎㈎⌎Ḏሎㄎᤎ㈎ᰎ┎ᔎ㐎‎ጎㄎᄎ䈎䰎ᐎ∎Ď㈎⌎ᤎ㈎䴎✎ሎㄎᤎ᠎⌎⌎ℎᬎ⌎『䀎Ḏጎ⨎㔎┎㈎Ď∎ⴎ䤎ℎ ℎ㈎ᰎ⨎ℎᰎ⨎㈎ᤎᬎ⌎『∎㠎Ďᔎ䰎䀎ᬎᤎ┎㈎∎ᬎㄎĎ⌎㤎ᬎᔎ䤎ᤎ⨎┎㈎Ď∎䤎ⴎℎ ࠎ㈎Ďᤎᤎㄎࠎ㠎ᐎᬎ⌎『Ď㈎∎Ў✎㈎ℎЎᐎ㐎⨎⌎䤎㈎܎⨎⌎⌎Ў䰎ℎ㠎䠎܎ℎ䠎ㄎᤎᜎ䠎ࠎ㔎『 ᔎⴎ䠎∎ⴎᐎ䈎ᐎ∎䐎ᐎ䄎䤎⌎܎ᨎᤎㄎᐎ㈎┎䌎ࠎࠎ㈎Ďᬎ⌎『䀎Ḏጎ㔎⨎┎㈎Ď∎ⴎ䤎ℎ䀎ᬎᤎᜎᤎ㠎䀎ᐎℎ㐎 䈎ᐎ∎ᜎ㈎܎Ď┎ℎ㠎䠎ℎⴎ܎✎䠎㈎ᨎᤎᔎ䤎ᤎ⨎┎㈎Ď∎ⴎ䤎ℎ 䄎ᔎ䠎┎『ᔎ䤎ᤎࠎ『䀎ᬎᤎ⠎㤎ᤎ∎䰎⌎✎ℎ⬎ㄎᔎᘎĎ⌎⌎ℎ⬎┎㈎Ď⬎┎㈎∎⨎㈎Ȏ㈎ ⴎㄎᤎ䐎ᐎ䤎䄎Ď䠎 ܎㈎ᤎ䌎ᨎᔎⴎ܎ ܎㈎ᤎࠎㄎĎ⨎㈎ᤎ ܎㈎ᤎᬎ⌎『ᐎ㐎⤎ဎ䰎 ࠎ㈎ĎĎ⌎『ᐎ㈎⤎ ܎㈎ᤎ䀎∎ᨎ䜎ᬎㄎĎᘎĎㄎ⌎ⴎ䤎∎⼎┎⼎ ℎ㈎䀎ᬎᤎ䀎Ў⌎䠎ⴎ㜎܎⨎ĎㄎĎ㈎⌎『ᨎ㤎਎㈎䄎┎『Ȏⴎ܎ᬎ⌎『ᐎᨎㄎᔎĎ䄎ᔎ܎䠎ᜎ䠎䄎㔎ᴎ܎Ў✎㈎ℎ⠎⌎ᜎㄎ᠎㈎ 䄎┎『Ў✎㈎ℎ䀎਎䠎㜎ⴎȎⴎ܎Ḏ㠎ᜎ᠎⠎㈎⨎ᤎĎ㐎਎ᤎ Ď┎ℎ䠎㠎⨎ᔎ⌎ᔎ㔎㈎䴎ᨎ┎ᬎ⌎『ᔎᬎ㤎䠎㈎ࠎ܎㘎ℎ䄎㔎ᤎ✎Ўᐎ㐎ᜎ䠎ⴎ㔎∎㈎Ďࠎ『Ḏሎㄎᤎ㈎ᔎⴎ䠎∎ⴎᐎ 䈎ᐎ∎Ď㈎⌎ ᘎ䠎㈎∎ᜎⴎᐎ⬎ㄎᔎĎ⌎⌎ℎᜎ䠎㔎ℎ㔎ⴎ∎㤎䠎ᨎᤎᔎ䤎ᤎ⨎┎㈎Ď∎䤎ⴎℎ䀎⬎┎䠎㈎ᤎ㔎 ⴎⴎĎℎ㈎䌎ᤎ⌎㤎ᬎ䄎ᨎᨎĎ㈎⌎ᬎㄎĎᰎ䤎㈎ ଎䠎㘎܎䐎ᐎ䤎䄎Ď䠎 ┎㈎∎ᬎㄎĎ⌎㤎ᬎ ᔎᤎ䤎⨎┎㈎Ď∎ⴎ䤎ℎ ┎㈎∎ᬎㄎĎ⌎㤎ᬎࠎⴎ䤎܎⠀⌎ℎ䠎⤀ ┎㈎∎ᬎㄎĎ⌎㤎ᬎᔎ܎㠎䌎∎䄎ℎ܎ℎ㠎ℎ ┎㈎∎ᬎㄎĎᔎ܎㠎⠀ᔎ܎㠎䐎਎∎⤀ ┎㈎∎ᬎㄎĎĎ✎䬎∎Ȏᬎ㔎䬎㠎ℎ⠀਎『┎ⴎℎ⤀ ┎㈎∎ᬎㄎĎ⌎㤎ᬎᰎ䤎㈎⬎䠎ⴎЎㄎℎ‎㔎⌎䰎 ┎㈎∎ᬎㄎĎ⌎㤎ᬎᬎ┎㈎ᔎ『䀎Ḏ㔎∎ᤎ ┎㈎∎ᬎㄎĎ⌎㤎ᬎࠎ䬎䴎㈎⠀∎ⴎᔎĎᬎ┎㈎⤀ ┎㈎∎ᬎㄎĎ⌎㤎ᬎ䄎ᬎᨎ㤎⌎䠎㔎 䄎ᬎ䀎ℎ䠎㔎∎܎ ⠀䄎Ḏᨎ㠎⬎⌎䠎䄎㔎┎『䄎Ḏ䀎ℎ䠎∎㔎܎⤀ 䀎Ḏ䠎ⴎ㜎䀎ᬎᤎĎ㈎⌎Ḏሎㄎᤎ㈎ᰎ┎ᔎ㐎‎ጎㄎᄎⴎ䰎ᤎㄎ䀎Ďᐎ㐎ࠎ㈎Ďℎ⌎ᐎĎ‎ℎ㤎ᬎ㐎ㄎഎഎ㈎ᜎ㈎܎✎ሎㄎᤎ᠎⌎⌎ℎᜎ䠎ℎ㔎ⴎ㔎∎㤎䠎 䌎ᤎ਎㠎ℎ਎ᤎ 䌎⬎䤎䀎Ď㐎ᐎЎ✎㈎ℎ⌎䠎✎ℎ⨎ℎㄎ∎ ⨎㈎ℎ㈎⌎ᘎࠎㄎᨎᔎ䤎ⴎ܎䐎ᐎ䤎 ᤎ䴎㈎Ď┎ㄎᨎℎ㈎⨎⌎䤎㈎܎Ў㠎ጎЎ䠎㈎䀎Ḏ䠎㜎ⴎ⨎⌎䤎㈎܎܎㈎ᤎ⨎㈎ᤎⴎ㈎਎㔎Ḏ 䌎⬎䤎䄎Ď䠎⨎ᔎ⌎㔎 Ў⌎ⴎᨎЎ⌎ㄎ✎ 䄎┎『਎㠎ℎ਎ᤎ䌎⬎䤎䀎Ď㐎ᐎЎ✎㈎ℎ∎䠎ㄎ܎∎㜎ᤎ ࠎ㘎܎䀎ᬎᤎᜎ䠎㔎ℎ㈎Ȏⴎ܎Ď㈎⌎ࠎㄎᐎĎ㈎⌎Ў✎㈎ℎ⌎㤎䤎䀎⌎䠎㜎ⴎ܎ ⬎ㄎᔎᘎĎ⌎⌎ℎ܎㈎ᤎ⠎┎㐎ᬎ䰎⨎ᔎ⌎㔎ᬎ⌎『ᔎ㤎ᬎ䠎㈎ ⠎㤎ᤎ∎䀎䰎⌎㔎∎ᤎ⌎㤎䤎Ď㈎⌎Ḏሎㄎᤎ㈎⨎ᔎ⌎䄎㔎┎『Ў⌎ⴎᨎЎ⌎✎ㄎ䀎ऎ┎㐎ℎḎ⌎『䀎Ď㔎∎⌎ᔎ㐎 㜀㈀ Ḏ⌎⌎⤎㈎ ᨎ⌎ℎ⌎㈎਎㐎ᤎᤎ㔎㈎ᘎ ࠎ܎ㄎ⬎✎ᐎㄎ┎㈎䴎Ḏ㤎ᤎ

܎㈎ℎ䀎⬎ℎ㜎ⴎㄎᔎ܎ᨎᘎ㠎എ⠎䄎┎㐎⬎܎૷ᬎ┎௷㈎৷ᤎᤎ㈎ ꄀ툀쌀묀ꄀ���쬀턀딀똀ꄀ쌀쌀섀꜀툀뤀저퐀씀묀态 㤀 씀툀숀 ᰠᨎᤎᔎ䤎ᤎ⨎┎㈎Ď∎䤎ⴎℎᴠ 䀎Ў⌎䠎㜎ⴎ܎⨎ㄎĎĎ㈎⌎『ᨎ㤎਎㈎⨎㈎䴎Ўഎㄎ Ȏⴎ܎Ď㈎⌎ᘎ✎㈎∎ᔎ㈎ᤎ ⠀ᜎ㈎ᤎ⤀ ⨎┎㈎Ď∎䤎ⴎℎ ㄀⸀ᰠ┎㈎∎ᬎㄎĎᔎ䤎ᤎ⨎┎㈎Ď∎ⴎ䤎ℎᴠ ⨎䠎㜎ⴎᘎ㘎܎ Ď㈎⌎ᘎ✎㈎∎ᜎ㈎ᤎ䀎ᬎᤎḎ㠎ᜎ᠎ᨎ㤎਎㈎       Ȏⴎ܎⬎എ㐎܎⨎㈎✎ ⴎᤎ⨎㐎܎⨎ᰎ䰎┎ᨎ㠎എ䀎ᜎ䠎㈎ĎᨎㄎĎ㈎⌎ᨎ✎਎Ḏ⌎『 ㈀⸀ᰠ┎㈎∎ᬎㄎĎࠎⴎ䤎܎ᴠ ⠀⌎䠎ℎ⤀ ⨎䠎㜎ⴎᘎ㘎܎ Ў✎㈎ℎ⌎䠎ℎ䀎∎ᤎ䜎䀎ᬎᤎ⨎㠎Ȏ ㌀⸀ᰠ┎㈎∎ᬎㄎĎᔎ܎㠎䌎∎䄎ℎ܎ℎ㠎ℎᴠ ⨎䠎㜎ⴎᘎ܎㘎 Ď㈎⌎ᬎĎᬎⴎ܎Ў䤎ℎ㠎Ў⌎ⴎ܎ ᬎㄎᐎ䀎ᬎ㈎⨎䠎㐎܎䀎┎✎⌎䤎㈎∎ 㐀⸀ᰠ┎㈎∎ᬎㄎĎᔎ܎㠎ᴠ ⠀ᔎ㠎܎䐎਎∎⤀ ⨎䠎㜎ⴎᘎ㘎܎ ਎䠎✎∎ᨎᤎㄎᐎ㈎┎䌎⬎⬎䤎┎ᐎ㠎Ḏᤎ䤎ࠎ㈎ĎᜎĎ㠎Ȏ䀎䰎✎ᜎᤎ㈎ 㔀⸀ᰠ┎㈎∎ᬎㄎĎĎ✎䬎∎Ȏᬎ㔎䬎㠎ℎᴠ ⠀਎『┎ⴎℎ⤀ ⨎䠎ⴎ㜎ᘎ㘎܎ ‎㈎਎ᤎ『ᨎ⌎⌎ࠎ㠎䀎Ў⌎䠎㜎ⴎ܎Ď㐎ᤎ 䀎Ў⌎䠎㜎ⴎ܎䌎਎⼀䀎Ў⌎䠎㜎ⴎ܎䐎ᜎ∎ᜎ㈎ᤎ 㘀⸀ᰠ┎㈎∎ᬎㄎĎᰎ㈎䤎⬎ⴎ䠎Ď䠎䴎㈎ᬎ㔎ᴠ ⠀ᰎ㈎䤎⬎ⴎ䠎Ўℎㄎ‎㔎⌎䰎⤀ ⨎䠎ⴎ㜎ᘎ܎㘎 ᬎĎᬎⴎ܎Ḏ⌎『᠎⌎⌎ℎЎ㈎䴎⨎ⴎᤎ 㜀⸀ᰠ┎㈎∎ᬎㄎĎᬎ┎㈎ᔎ『䀎Ḏ㔎∎ᤎ⨎㈎ᤎᴠ ⨎䠎㜎ⴎᘎ㘎܎ Ў✎㈎ℎⴎ㠎ᐎℎ⨎ℎᨎ㤎⌎ጎ䰎 㠀⸀ᰠ┎㈎∎ᬎㄎĎࠎ䬎䴎㈎ᴠ ⠀∎ⴎᔎĎᬎ┎㈎⤀ ⨎䠎ⴎ㜎ᘎ܎㘎 ⴎⴎℎ䀎܎ᤎ㐎 ⴎⴎℎᨎ㠎എ 㤀⸀ᰠ┎㈎∎ᬎㄎĎ䄎ᬎᨎ㤎⌎䠎 㔎䄎ᬎ䀎ℎ䠎∎㔎܎ᴠ ⠀䄎Ḏᨎ㠎⬎⌎䠎䄎㔎┎『䄎Ḏ䀎ℎ䠎∎㔎܎⤀ ⨎䠎ⴎ㜎ᘎ܎㘎 䀎Ў⌎䠎ⴎ㜎܎⨎ĎㄎĎ㈎⌎『ᨎ㤎਎㈎ ⠎㤎ᤎ∎䰎䀎⌎㔎∎ᤎ⌎㤎Ď䤎㈎⌎Ḏㄎሎᤎ㈎⨎ᔎ⌎䄎㔎┎『Ў⌎ⴎᨎЎ⌎✎ㄎ䀎ऎ┎㐎ℎḎ⌎『䀎Ď㔎∎⌎ᔎ㐎 㜀㈀ Ḏ⌎⌎⤎㈎ ᨎ⌎ℎ⌎㈎਎㐎ᤎᤎ㔎㈎ᘎ ࠎ܎ㄎ⬎✎ᐎㄎ┎䴎㈎Ḏ㤎ᤎ

ปก ดวยใจ

ทีม่ า/เร่อ� งราว เปนภูมิปญญาการนำเสนไหมที่ฟนเขาดวยกันนำมาแสวตะเข็บหร�อชายเสื้อดวยมือเปนลวดลาย บนผืนผาซ�่งมีทั้งลวดลายโบราณและประยุกต เนื่องดวยเพราะสมัยกอนไมมีจักรเย็บผา ไทบาน จ�งตองเย็บเพื่อใหตะเข็บผาติดกัน ทั้งยังไมมีกรรไกรไวใชตัดผา จ�งตองตัดผาดวยมีดโตและเย็บ ตะเข็บผากันรุย ไหนๆ ก็เย็บแลว จ�งเพิ่มลวดลายเขาไปดวยเพื่อความสวยงาม โดยลวดลายบน ผืนผาจะเกี่ยวของกับการดำรงช�ว�ต ความเช�่อ ว�ถีช�ว�ตความเปนอยู และธรรมชาติรอบตัว เชน ลายตีนตะขาบ ตีนไก หางตะกวด ดอกมะเข�อ เปนตน ดายไหมที่นำมาปกแสวนั้น จะตองผานการฟนใหเปนเกลียว เพื่อใหดายไหมมีลวดลายในตัว 6 เสนไหม จะฟนได 1 เสนแสว และนิยมใช 3 สีในการแสว คือ แดง ขาว เหลือง การปกแสวทำได ทั้งรอบคอเสื้อ รอยผาขาง ชายเสื้อ ตะเข็บ หร�อกลางตัวเสื้อ ยิ่งลวดลายมากยิ่งแสดงใหเห็น ถึงฝมือของผูปกแสวไปในตัว เทคนิคในการปกแสว 1 เวลาเดนิ เสนมือตอ งผสานกนั ท้งั ซายขวาเพอื่ ไมใหก ารเดนิ เสน้ิ ทำใหผา ยน 2 ถา เสนไหมหร�อดา ยขดใหท้ิงเขม็ ลงเพอ่ื ใหเสนไหม หรอ� ดายคลายตัว 3 ถาหากเดินเสนไมส ม่ำเสมอใหร บ� แกไขเพราะ ถา ทำตอสง่ิ ทไ่ี ดก จ็ ะผดิ เพี้ยน ชอ งทางออนไลน



กระบวนการสร้างคณุ ค่า และเสริมพลังศักยภาพกลมุ่ เปา้ หมาย โดย กองคุ้มครองและพัฒนาอาชพี หลกั คิด เราต้องมคี วามเช่ือวา่ มนุษย์ทกุ คนมคี ณุ ค่า มศี กั ยภาพ และมีอานาจในการคิดและ ตดั สินใจใด ๆ ทีเ่ ป็นไป เพ่ือการพัฒนาใหเ้ กิดความเปลีย่ นแปลงกับตนเอง หรอื มี ความสามารถในการควบคมุ ชะตาชวี ติ ของตนเองได้ เหตุผล / ที่มาของค่มู อื สค. ดแู ลกลุ่มเปา้ หมายสตรีและบคุ คลในครอบครวั ทป่ี ระสบปัญหาสงั คม ใหม้ คี ุณภาพชีวติ ท่ดี ี สามารถดารงอยู่ได้อย่างมีศักด์ิศรี ในการสร้างคุณค่าและเสริมพลังศักยภาพให้แก่กลุ่มเป้าหมาย จึงเป็น แนวคิดท่ี (synergy) อนั เปน็ จดุ เริ่มตน้ ในกระบวนการพฒั นาคนและชุมชนใหม้ คี ุณภาพชีวิตขึ้นได้ให้คุณคา่ แก่ “คน” มองวา่ คนมีความสาคัญ มโี อกาสทจี่ ะรว่ มสร้างการเปล่ียนแปลงให้กับตนเองและชุมชน ไม่ว่าจะอยู่ใน สถานะมีอานาจหรือไร้อานาจก็ตาม เม่ือบุคคลมองเห็นคุณค่าแห่งตน ก็มักจะนาไปสู่ความเชื่อมั่นใน พลงั อานาจของตนเองที่พร้อมจะนาออกมาขับเคล่ือน เพื่อสร้างการเปล่ียนแปลง ย่ิงพลังอานาจดังกล่าว ถูกหลอมรวมจากคนในชุมชนภายใต้มติ ขิ องความสัมพันธ์ ความไว้เนื้อเชื่อใจต่อกัน ก็ย่ิงทาให้เกิดอานาจ แบบทวีคณู วตั ถปุ ระสงค์ • เพ่ือเสริมภูมิคุ้มกัน สร้างจิตสานึก ปรับเปล่ียนทัศนคติ สร้างแนวคิดเชิงบวกให้กับกลุ่มเป้าหมาย ได้มองเห็นศักยภาพและคุณค่าของตนเอง สามารถพัฒนาและมีทักษะในการดาเนินชีวิต ดารงอยู่ใน สังคมได้อยา่ งปกตสิ ขุ แกป้ ญั หาของตนเองได้ รูเ้ ทา่ ทนั ต่อการเปล่ียนแปลงตามสถานการณ์โลกปัจจบุ นั • เพ่อื นาองคค์ วามรู้ไปประยกุ ตใ์ ชแ้ ละนาไปขยายผลแกส่ ตรแี ละบุคคลในครอบครวั ทปี่ ระสบปัญหาทาง สงั คมในระดับพ้ืนท่ีไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพภาพ

สตรหี รอื บคุ คลในครอบครัวทีป่ ระสบปัญหาทางสังคม หมายถึง สตรีหรอื บคุ คลในครอบครวั ด้อยโอกาส หรือผู้ถูกเลกิ จา้ งประสบปัญหาการว่างงาน ครอบครัว ที่มรี ายได้น้อย ไม่มีโอกาสศึกษาต่อ ได้มีโอกาสเข้ารับการฝึกอบรมพัฒนาทักษะอาชีพในสาขา อาชีพตา่ ง ๆ ตามความสนใจหรอื ความถนัดทศี่ นู ยเ์ รยี นรู้ การพฒั นาสตรีและครอบครัว องคป์ ระกอบการออกแบบกระบวนการฯ • การวเิ คราะห์ เรยี นรู้ ยอมรบั ตนเอง • แนวทางการสร้างคณุ คา่ และเสริมพลัง และผอู้ ่นื ศกั ยภาพกลมุ่ เป้าหมาย - กจิ กรรมทบทวน วเิ คราะห์/ค้นหาตัวเอง - กิจกรรมสง่ เสริมการเรยี นรู้ สร้างความเข้าใจความแตกต่างระหว่าง - กจิ กรรมการเปน็ แบบอย่างทดี่ ี บุคคล การยอมรับผู้อ่ืนความตระหนัก - กิจกรรมเสริมสรา้ งพลงั ศกั ยภาพ และมมี มุ มองเรอ่ื งความเสมอภาคระหว่าง - กจิ กรรมสรา้ งเปา้ หมายส่คู วามสาเรจ็ เพศ และความเข้มแข็งของสถาบัน ร่วมกนั ครอบครัว แนวทางส่งเสริมการสร้างพลงั ศกั ยภาพกลมุ่ เป้าหมาย 1. จดั เวทแี ลกเปลยี่ นความ 2. จัดกจิ กรรม 3. จดั พิมพ์ส่ือ เผยแพร่ 4. จัด คดิ เห็นและประสบการณผ์ ู้ที่ มอบโล่ ชวี ประวัติ สง่ เสริมคณุ งาม นิทรรศการ ประสบความสาเร็จ ความดี (Story Telling) เชิดชูเกียรติ

ประโยชน์ทไี่ ดร้ บั (ดา้ นการพัฒนางานของ สค.) สค. ผลกระทบต่อกลมุ่ ผ้ใู ช้บรกิ ารและผ้มู ีสว่ นได้ มีการขับเคล่ือน ส่งเสริมให้สตรีหรือบุคคลใน ครอบครัวมีความม่ันคง และมีคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างเป็น สว่ นเสยี รูปธรรม มีนวัตกรรมการพัฒนางานด้านการสร้างคุณค่า และ เสรมิ พลังศักยภาพแก่สตรแี ละครอบครัว สตรีหรือบุคคลในกรอบครวั ท่ีประสบ ปญั หาทางสงั คม มีทักษะชวี ติ คุณค่า ศูนยเ์ รยี นรู้ : และศกั ยภาพของตนเอง ปรบั เปลีย่ น - เพิ่มประสทิ ธภิ าพการพัฒนาทกั ษะชวี ิตใหก้ ลุ่มเปา้ หมาย พฤติกรรมเชงิ ลบ มาเปน็ เชงิ บวก - สร้างวิทยากรกระบวนการในชุมชน สามารถนาองค์ความรู้ ไดร้ บั การพัฒนาศกั ยภาพทเ่ี หมาะสม ไปใช้ในการพัฒนาศักยภาพกลุ่มเป้าหมาย มีการสร้างและ สามารถนาความรไู้ ปประยกุ ตใ์ ชใ้ น พัฒนาทีมภาคเี ครอื ข่าย โดยนารปู แบบวิธีการ และเทคนิคการ จัดกิจกรรม ประยุกตใ์ ชอ้ ยา่ งเปน็ รปู ธรรม ชวี ติ ประจาวันได้ รูเ้ ทา่ ทันการ เปลย่ี นแปลง อยู่ดีมสี ขุ นวตั กรรม ส่งเสรมิ และพัฒนานวัตกรรมทางสังคม (Social Innovation) ในรูปแบบนวัตกรรมให้บริการ (Service Innovation) เป็นนวัตกรรม สร้างบริการใหม่ โดยส่งเสริมพ้ืนที่สร้างสรรค์ เพื่อการแสดงออก ทางความคิด ส่งเสริมการเปลย่ี นกระบวนทัศน์ของสตรีหรือบุคคล ในครอบครัว โดยผ่านการจัดกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อสร้างความ ตระหนกั และเสรมิ สรา้ งพลงั สังคมที่มคี ณุ ภาพ กลุ่มเป้าหมายได้มองตนเองอย่างมีคุณค่า (Self esteem) อันเปน็ แบบอย่างทดี่ ีในชีวิต มศี กั ยภาพ ได้เรยี นรู้การจดั การตอ่ ตนเอง มีความภาคภูมิใจ แรงบันดาลใจ นาไปสู่ความสาเร็จในชีวิต เช่น กรณีมีความล้มเหลว ขาดโอกาส ท้อแท้ ประสบปัญหาในชีวิต ทาให้เกิด จุดเปลี่ยน โดยการทบทวนเทคนิคกระบวนการ หลักการ ทฤษฎี Empowerment มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน และอยใู่ นสังคมได้

ËÃÍ× ´Òǹ⏠ËÅ´ã¹Ã»Ù Ẻ Flipbook ä´·Œ Õè https://online.pubhtml5.com/ cxyq/ehel/





คู่มือการดาเนินงาน Learning Center The Plearn Station “...แหล่งเรียน+เล่นให้รู้ ครบวงจรด้านสตรีและครอบครัว...” ” ท่มี าของการศึกษาองค์ความรู้/การพฒั นางาน ความตอ้ งการพัฒนาบคุ ลากร เสรมิ สร้าง ค่านยิ ม และวัฒนธรรมองคก์ ร สภาพปญั หาที่สำคญั ในการแสวงหาความรู้ ร่วมระดมความคดิ ในการจัดทำคมู่ อื การดำเนนิ งาน เพ่อื วางแผนและรว่ มกันผลกั ดันให้องค์กร Learning Center : The Plearn Station กา้ วสกู่ ารเป็นองคก์ รแหง่ การเรียนรู้ “...แหล่งเรียน+เล่นให้รู้ ครบวงจรดา้ นสตรแี ละครอบครัว...” (LO : Learning Organization) จดั การข้อมลู เชงิ วชิ าการ ตามบทบาทภารกจิ การดำเนินงาน เพ่ือถ่ายทอดสกู่ ลมุ่ เปา้ หมาย ภาคีเครอื ข่าย และผู้ทีส่ นใจ เปน็ ตน้ แบบและขยายกลไก ส่งเสริมและพฒั นาด้านสตรี ดา้ นความเขม้ แขง็ ของสถาบันครอบครัว ด้านความเสมอภาคระหว่างเพศ แนวคิด/ทฤษฎีทนี่ ำมาประยกุ ตใ์ ช้ องคก์ รแหง่ การเรียนรู้ เอ้อื ใหเ้ กิดโอกาสในการ กระบวนการกจิ กรรม “Plearn” (Learning หาแนวปฏบิ ตั ิท่ดี ที ี่สุด Play & Learn อย่างมีส่วนรว่ มใน มาจากคำวา่ Organization : LO) (Best Practices) รปู แบบต่างๆ แนวคิดของ นำไปสกู่ ารพฒั นาและ Play + Learn แนวคดิ ของ ศาสตราจารย์ Peter สรา้ ง ศาสตราจารย์ ดร.ชัย เปน็ การเปล่ียนการเรียนตลอดชีวติ Senge เป็นฐานความรทู้ ี่เข้มแข็ง ใหเ้ ป็นการเพลนิ ตลอดชวี ิต (Core competence) อนนั ต์ สมุทวณชิ (สถาบัน MIT ของ สหรฐั อเมรกิ า) ขององคก์ ร ในการพรอ้ มเผชญิ กับ สภาวะการแข่งขัน เปน็ องคก์ รท่มี กี ารสรา้ งชอ่ งทางให้เกดิ การถา่ ยทอดความรซู้ ึ่งกนั และกนั “การเล่น เพอ่ื รู้” เป็นวิธกี ารสำคญั ในการพฒั นา... ภายในระหว่างบคุ ลากร ควบคไู่ ปกับการรบั ความรู้จากภายนอก = การเรียนรู้ไปด้วยกนั ท้งั องค์กร

คู่มือการดาเนินงาน Learning Center The Plearn Station “...แหล่งเรียน+เล่นให้รู้ ครบวงจรด้านสตรีและครอบครัว...” ” วตั ถปุ ระสงค์ ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ สค. 1. ผลักดนั องค์กรกา้ วส่กู ารเป็นองคก์ รแห่งการเรียนรู้  ยุทธศาสตร์ที่ 1 การสง่ เสรมิ ใหส้ ตรมี คี วาม (Learning Organizaton : LO) มั่นคงในทกุ มติ ิ 2. สร้างคูม่ ือต้นแบบและแนวกลไกแหล่งเรียนรู้ครบวงจรด้านสตรี  ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสง่ เสรมิ ใหค้ รอบครัวมี และครบครัวภายใตแ้ นวคดิ “การเลน่ เพือ่ รู้... เปน็ วธิ กี ารสำคัญ ความม่นั คงในทกุ มิติ ในการพฒั นา”  ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 การสง่ เสรมิ ความเสมอภาค 3. เปน็ ตน้ แบบแหลง่ เรยี นรแู้ ละถ่ายทอดนวตั กรรมครบวงจร ระหวา่ งเพศ ดา้ นสตรี ความเขม้ แข็งของครบครวั และความเสมอระหวา่ งเพศ  ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ ท่สี ามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ได้ตามบริบทเฉพาะพ้นื ที่ องค์กรตามหลักธรรมาภิบาล กระบวนการจดั การความมรู้ การบ่งชค้ี วามรู้ พ.ศ. 2561 : พฒั นาบุคลากร เสรมิ สร้างค่านิยมและวฒั นธรรมองคก์ ร ในการแสวงหาความรู้ร่วมระดมความคดิ เพ่ือวางแผนและ ผลักดนั สู่การเป็นองคก์ รแหง่ การเรียนรู้ (LO) ด้านการส่งเสรมิ และพัฒนาสตรี ความเขม้ แขง็ ครอบครวั และความเสมอภาค พ.ศ. 2562 : สถานการณส์ มั พนั ธภาพครอบครัวไทยลดลง สาเหตุจากเทคโนโลยีมาก้ันกลาง ส่งผลต่อสถานการณ์สงั คมเกดิ ความ รนุ แรงมากข้นึ (เกิดนโยบายจำเปน็ เร่งด่วน) ดำเนินโครงการโรงเรียนครอบครวั เผยแพรค่ วามรู้การเสรมิ สร้างสัมพนั ธภาพ พ.ศ. 2562 : ทบทวนความรู้เดิม เพ่ิมเติมความรู้ใหม่ ภายใตโ้ ครงการพัฒนาบุคลากรสมู่ อื อาชพี ไดแ้ นวทางการดำเนินงานทเี่ ปน็ เป้าหมายขององคก์ ร คอื 1. สรา้ งและส่งเสรมิ ประชาสมั พันธ์ ถา่ ยทอดความรู้ตามภารกจิ สกู่ ลุม่ เป้าหมายและภาคี 2. สรา้ งและส่งเสรมิ ให้สถาบันครอบครัวทกุ รปู แบบ มีพน้ื ทใี่ นการเรยี นรู้ ผา่ นกจิ กรรมสรา้ งสัมพนั ธภาพในครอบครัว 3. สรา้ งและสง่ เสรมิ องคก์ รให้เป็น แหล่งเรียนรู้และถา่ ยทอดนวัตกรรมผา่ นกจิ กรรมสรา้ งสัมพันธภาพในครอบครวั

คู่มือการดาเนนิ งาน Learning Center The Plearn Station “...แหล่งเรียน+เล่นให้รู้ ครบวงจรด้านสตรแี ละครอบครัว...” ” การสร้างและรวบรวมความรู้/การจดั การความรู้ใหเ้ ปน็ ระบบ/การประมวลและกลนั่ กรองความรู้ 1. แต่งต้ังคณะทำงาน โดยแบ่งออกเปน็ - คณะอำนวยการ - คณะดำเนินงาน : รวบรวมเอกสารวชิ าการ ข้อมูล และสื่อทีเ่ กี่ยวขอ้ ง เพือ่ ถอดและสรุปเปน็ ส่ือถ่ายทอดความรู้ / จดั ทำส่ือความรตู้ ามโซนทก่ี ำหนด / ปรับภมู ิทศั น์และสภาพแวดล้อมใหเ้ หมาะสม 2. เข้าศึกษาการดำเนนิ งานของคเู่ ทียบและแหล่งเรียนรู้ต่างๆ เพื่อนำมาพฒั นาการถ่ายทอด การประมวลและกล่นั กรองความรู้ วางโครงสรา้ งความรู้ เพื่อเตรยี มพร้อมสำหรับการสรา้ งความร้แู ละกิจกรรมสานความสมั พันธ์ในครอบครัว อาทิ หลักสตู รการชงคอกเทลและมอกเทล / หลกั สูตรสบ่เู หลวล้างมอื และสบู่กอ้ นใส / หลกั สตู รน้ำยาล้างจาน (ชาจนี และชาเขียว) การเข้าถึงความรู้ 1. แจง้ ข่าวประชาสัมพันธ์เชญิ ชวนกลมุ่ เปา้ หมาย ภาคีเครือขา่ ย และผู้ทีส่ นใจเขา้ เรียนรู้ผ่านหนังสอื แจง้ เวียน และสื่อออนไลน์ 2. เปิดโอกาสใหค้ ณะศกึ ษาดงู านทสี่ นใจเฉพาะด้านเข้าเรยี นรแู้ ละแลกเปลยี่ น (ด้านสตรี ความเขม้ แขง็ ของครอบครวั และความเสมอภาคระหว่างเพศ) 3. จัดทำคมู่ อื การดำเนนิ งาน The Plearn Station สำหรบั ใหผ้ ู้ทีส่ นใจนำไปใช้เปน็ ตน้ แบบขยายต่อยอดตามความเหมาะสมของบริบท การแบ่งปนั และแลกเปลีย่ นเรียนรู้/การเรยี นรู้/การขยายผล 1. สนับสนนุ ใหบ้ ุคลากรของหน่วยงาานได้เรียนรู้ดว้ ยตนเองและเขา้ รว่ มการอบรม/ประชุมเฉพาะทาง เพอ่ื สงั่ สมความรู้ สร้างโอกาส ในการแลกเปลย่ี นประสบการณ์ เพอ่ื นำมาถา่ ยทอดแบ่งปนั แก่บุคลากรในหนว่ ยงาน รวมถงึ การเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ 2. ร่วมวางแผนและดำเนนิ งานกบั ภาคเครอื ขา่ ย ในการขยายตอ่ ยอด จำลองรูปแบบ The Plearn Station ถ่ายทอดความรู้สู่ระดับ พ้ืนท่ีเขตความรบั ผดิ ชอบ 3. สรา้ งโอกาสในการบูรณาการทรัพยากรกับภาคเี ครือขา่ ยในรูปแบบต่างๆ การนำไปใช้ประโยชน/์ องค์ความรู้ท่ีเกิดขนึ้ ความยัง่ ยนื /นวัตกรรม 1. ก่อให้เกดิ การขยายองคค์ วามรู้ดา้ นสตรี ความเข้มแขง็ 1. เกิดการเรียนรู้และการสรา้ งการมีส่วนร่วม พฒั นาศกั ยภาพ ของครอบครวั และความเสมอภาคระหวา่ งเพศซึ่งเปน็ บทบาท ของบุคลากร ทำงานทดแทนกนั ได้ และเป็นการสอนงาน ภาคกิจของกรมสค. เพอื่ รองรับบคุ ลากรเกษียณอายุราชการ 2. กอ่ ให้เป็นแนวทางในการขยายกิจกรรมสง่ เสรมิ สมั พันธภาพ 2. เกิดการนำเทคโนโลยีสารสนเทศ มาเป็นเครื่องมอื ใน ในครอบครัวท่ีหลากหลาย ภายใต้กระบวนการกจิ กรรม กระบวนการเรียนรู้และถา่ ยทอด 3. มีค่มู อื การดำเนนิ งาน Learning Center : The Plearn Play & Learn = The Plearn Station Station (แหลง่ เรยี น+เลน่ ใหร้ ู้ ครบวงจรด้านสตรแี ละ 3. ก่อใหเ้ กดิ การสร้างกลไลการส่งเสริมและบูรณาการเครอื ขา่ ย ครอบครัว) ทส่ี ามารถใช้เป็นเคร่ืองมอื ในการดำเนินงาน/ ในรปู แบบประชารัฐทกุ ระดบั ของสังคม สอนงาน 4. แหลง่ ต้นแบบในเรยี นรู้และถา่ ยทอดนวัตกรรมทางด้านการ ส่งเสริมและพัฒนาสตรี ความเขม้ แขง็ ของครอบครวั รวมถงึ ความเสมอภาคระหวา่ งเพศ

เวที ศ. นนทบุรี ศ.สงขลา ศ. ลำปาง ศ.ชลบุรี ศ. ลำพูน ศ.ขอนแกน ศ. เชียงราย วลพ. & กทพ. กสพ. ศ. ศรสี ะเกษ กยผ. กสค. กคอ. สล.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook