Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore e book จาริกเส้นทางบุญ.

e book จาริกเส้นทางบุญ.

Published by varunya._.bsru, 2021-12-30 08:19:07

Description: e book จาริกเส้นทางบุญ.

Search

Read the Text Version

วัดสุวรรณคีรีวิหาร หรือที่ชาวบ้านเรียกกันว่า วัดหน้าเมือง เดิมชื่อ วัดสุวรรณคีรีทาราม เป็นพระอารามหลวง ชั้นตรี ชนิดสามัญ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่เลขที่ ๘ ถนนชาติเฉลิม ตาบลเขานิเวศน์ อาเภอเมือง จังหวัดระนอง เป็นวัดแห่งแรกในจังหวัดระนอง เดิมวัดตั้งอยู่บริเวณ ริมคลองหาดส้มแป้นตาบลบางริ้นอาเภอเมืองระนอง แต่เนื่องจากเป็นที่ลุ่มต่าริมคลองในฤดูฝน จึงเกิดน้าท่วม ทาให้พระ-เณร ต้องย้ายวัดเมื่อน้าลดจึงกลับมาแต่ต้องเจอสภาพน้าขุ่นไม่สามารถใช้ได้ ด้วยมีการทาเหมืองแร่เหนือคลองทาให้วัดมีสภาพเหมือนวัดร้าง ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ เสด็จประพาสเมืองระนอง เมื่อวันที่ ๒๓ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๓๓ ทรงทราบเหตุการณ์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระยารัตนเศรษฐีหรือคอซิมก๊อง เจ้าเมืองระนอง ในสมัยนั้น ดาเนินการหาที่ดินสร้างวัดขึ้นใหม่ แทนวัดเก่าที่ชารุดทรุดโทรมแล้วพระราชทานที่เขตพระอุโบสถยาว ๑๔ วา ๒ ศอก กว้าง ๘ วา ๒ ศอก ให้เป็นที่วิสุงคามสีมา ยกเป็นแผนกหนึ่งต่างจากราชอาณาจักรเป็นที่วิเศษสาหรับพระสงฆ์ ได้อาศัยทาสังฆกรรมและโปรดเกล้าฯให้อาราธนาพระสงฆ์จากวัดสุวรรณคีรีทารามมาสวดถอนและ ผูกพัทธสีมาและพระราชทานนามว่า“วัดสุวรรณคีรีวิหาร”ปรากฏตามประกาศพระบรมราชโองการ ฉบับลงวันท่ี ๒๒ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๓๗

“พระธรรมธาตุเจดีย์ศรีระนอง” เน่ืองด้วย สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปริณายก สมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ ๑๙ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ได้ทรงประทานพระบรมสารีริกธาตุ แก่วัฒนธรรมจังหวัด ทุกจังหวัด เมื่อวันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๔๙ ณ พุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม เน่ืองในโอกาสฉลองสิริราชสมบัติ ครบ ๖๐ ปี ของ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในหลวงรัชกาลท่ี ๙ ด้วยสานึกในพระมหากรุณาธิคุณในมหามงคลวโรกาสในครั้งน้ัน พระระณังคมุนีวงศ์ เจ้าอาวาสวัดสุวรรณคีรีวิหาร พระอารามหลวง พร้อมทั้งคณะกรรมการวัด อุบาสก อุบาสิกา จึงปรึกษาร่วมกัน แล้วมีความเห็นตรงกันว่า ควรสร้างอนุสรณ์ไว้เพ่ือประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ให้เป็นอนุสติแก่ชาวพุทธในกาล สืบไป วัดสวุ รรณคีรีวหิ าร พระอารามหลวง จึงได้ดาเนนิ การได้จัดสร้างองค์พระเจดีย์ นามว่า “พระธรรมธาตุเจดีย์ศรีระนอง” เป็นท่ีประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ โดยมีการวางศิลาฤกษ์ เม่ือวันท่ี ๑๖ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๖ เวลา ๑๑.๔๗ น. การ ก่อสร้างเจดีย์น้ันมีขนาดองค์เจดีย์ มีความสูง ๒๙ เมตร รอบองค์เจดีย์ มีขนาด ๙.๙๙ × ๙.๙๙ เมตร ส่วนรอบฐาน มีขนาด ๑๓.๐๕ × ๑๓.๐๕ เมตร ใช้งบประมาณในการกอ่ สรา้ ง จนแล้วเสรจ็ เปน็ จานวนเงิน ๑๕ ลา้ นบาท

พระธรรมธาตุเจดีย์ศรีระนอง เป็นเจดีย์ท่ีพุทธศาสนิกชนชาวระนองร่วมกันสร้างขึ้นเพ่ือไว้ประดิษฐานพระ บรมสารรี ิกธาตุ ทีไ่ ดร้ บั ประทานสมเดจ็ พระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก สมเดจ็ พระสงั ฆราช พระองค์ท่ี ๑๙ เนื่องในโอกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอ ดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในหลวงรชั กาลท่ี ๙ และด้วยสานึกในพระมหากรุณาธิคุณ ในมหามงคลวโรกาสในครั้งนั้น พระระณังคมุนีวงศ์ เจ้าอาวาสวัดสุวรรณคีรีวิหาร พระอารามหลวง พร้อมทั้งคณะกรรมการวัด อุบาส ก อุบาสิกา จึงปรึกษา ร่วมกัน แล้วมีความเห็นตรงกันว่า ควรสร้างอนุสรณ์ไว้เพื่อประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ซึ่งเป็น แนวความคิดร่วมกันของพุทธศาสนิกชนชาวระนองที่จะให้มีการสร้างขึ้น เพื่อประดิษฐานพระบรม สารีริกธาตุและให้เป็นศูนย์รวมจิตใจของพุทธศาสนิกชน สืบต่อไป

ประวัติพระบรมสารีริกธาตุ เมื่อวันท่ี ๕ มิถุนายน ๒๕๔๙ กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ได้จัดประชุมสัมมนาเชิงวิชาการ ส่งเสริมและสนับสนุนพระพุทธศาสนาเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร ทรงครองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี โดยนายปรีชา กันธิยะ อธิบดีกรมการศาสนา และเจ้าหน้าที่สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดทุกจังหวัด เข้าร่วม การประชมุ ครั้งนี้ ณ หอประชมุ ใหญ่พุทธมณฑล อาเภอพทุ ธมณฑล จงั หวัดนครปฐม ในการน้ี สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ได้เสด็จไปยัง หอประชุมใหญ่พุทธมณฑล เมื่อเวลา ๑๖.๓๐ น. เพ่ือประทานพระบรมสารีริกธาตุ แก่วัฒนธรรมจังหวัด ทุกจังหวดั เพอื่ เปน็ สริ ิมงคลและเป็นม่งิ ขวญั ของจังหวดั จากนัน้ ไดเ้ สดจ็ ไปสักการะองค์พระศรีศากยะทศพลญาณ ประธานพุทธมณฑลสุทรรศน์และได้ทรงเจริญพระพุทธมนต์เจริญจิตตภาวนาร่วมกับคณะสงฆ์ภาค ๑๔ จากจังหวัดนครปฐม สุพรรณบุรี กาญจนบุรี และสมุทรสาคร จานวนกว่า ๒,๐๐๐ รูป ท่ีมาพร้อมกัน ณ รอบ บริเวณลานองค์พระประธาน พุทธมณฑลเพ่ือถวายเป็น พระราชกุศลและถวายพระพรชัยแด่พระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร เนื่องในวโรกาสทรงครองสิริราชสมบัติ ครบ ๖๐ ปี พระระณังคมุนีวงศ์ เจ้าอาวาสวัดสุวรรณคีรีวิหาร พระอารามหลวง พร้อมทั้ง คณะกรรมการวัด อุบาสก อุบาสิกา จึงปรึกษาร่วมกัน แล้วมีความเห็นตรงกันว่าควรสร้างที่ประดิษฐานอนุสรณ์ไว้เพ่ือประดิษฐานพระบรม สารีรกิ ธาตุ และพุทธศาสนกิ ชนชาวระนอง มีความเหน็ ร่วมกนั ให้สร้างท่ีประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุขึ้นให้เป็น ศนู ย์รวมจติ ใจของพุทธศาสนกิ ชนสืบต่อไปโดยจะนาไปประดษิ ฐานไวภ้ ายในองค์ \"พระธรรมธาตุเจดยี ศ์ รรี ะนอง”

พระเจดีย์ดาธุ เป็นเจดีย์ที่มีสถาปัตยกรรมแบบพม่ารูปทรงกลมยกฐานสูงจากพื้น ป ร ะ ม า ณ ๘ ๐ เ ซ น ติเ ม ต ร ตั้ง อ ยู่บ น ฐ า น แ ป ด เ ห ลี่ย ม จ า ก ฐ า น ถึง ย อ ด ฉัต ร สูง ป ร ะ ม า ณ ๑๓ เมตร มีกาแพงโดยรอบทั้งสี่ด้านสูงประมาณ ๑ เมตร แต่ละด้านของกาแพงมีประตูทางเข้า กว้างประมาณ ๒ เมตร ตัวเจดีย์และกาแพงฉาบด้วยปูนทาสีขาว ส่วนยอดฉัตรของเจดีย์ทาด้วย ทองเหลืองและประดับเพชรท่ีฉัตรเป็นสถาปัตยกรรมแบบพม่า เจดีย์นี้มีอายุประมาณ ๑๐๐ ปีเศษ ผู้สร้างคือ นางพั่วไซ่ข่าย มีสามี ชื่ออูอาวเม ซึ่งเป็นโหรในราชสานักพม่า ต่อมาได้อพยพมาอยู่ในจังหวั ดระนอง และด้วยเป็นผู้ที่มีฐานะดีมี ค ว า ม ศ รัท ธ า ใ น พ ร ะ พุท ธ ศ า ส น า จึง ไ ด้ส ร้า ง เ จ ดีย์นี้ ถ ว า ย โ ด ย ใ ช้ทุน ท รัพ ย์ส่ว น ตัว เ พ ร า ะ มีค ว า ม เ ชื่อ ว่า ห า ก ผู้ใ ด ไ ด้ส ร้า ง เ จ ดีย์ถ ว า ย ใ น พ ร ะ พุท ธ ศ า ส น า แ ล้ว จ ะ เ ป็น การสร้างบุญบารมีให้กับผู้สร้างในทุกภพทุกชาติ ปัจจุบันทายาทของท่าน รวมท้ังพุทธศาสนิกชน ชาวพม่าท่ีได้อพยพจากพม่ามาอยู่ที่จังหวัดระนองรวมถึงชาวพม่าได้มาทางานในจังหวัดระนอง จะช่วยกันทาความสะอาดและบูรณะองค์พระเจดีย์โดยตลอด ทาให้พระเจดีย์มีความสวยงาม เ ป็ น ที่ เ ชิ ด ห น้ า ชู ต า ข อ ง ช า ว ร ะ น อ ง แ ล ะ นั บ เ ป็ น โ บ ร า ณ ส ถ า น อี ก แ ห่ ง ห นึ่ ง ข อ ง จั ง ห วั ด ร ะ น อ ง โดยปัจจุบันกรมศิลปากรได้ขึ้นทะเบียนไว้แล้ว

จวนเจ้าเมืองระนอง เป็นสถานที่อีกแห่งหนึ่งที่น่าสนใจสาหรับผู้ท่ีต้องการทราบ เร่ืองราวของเมืองระนองและตระกูล ณ ระนอง จวนเจ้าเมืองแห่งนี้สร้างขึ้นเม่ือปี ๒๔๒๐ ในสมัย พระยาดารงสุจริตมหิศรภักดี (คอชู้เจียง) เจ้าเมืองระนองคนแรกและเป็นต้นตระกูล ณ ระนอง ผู้สร้างคือ ลูกชายของท่านมีราชทินนาม เหมือนท่าน คือ พระยาดารงสุจริตมหิศรภักดี (คอซิมก๊อง) เป็นบุตรคนท่ี ๒ ของท่านเจ้าเมือง มีเนื้อที่ประมาณ ๓๓ ไร่เศษ ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลเมืองระนอง เดิมชาวระนองรจู้ กั ในชือ่ “บ้านคา่ ยเจา้ เมอื งระนอง” จวนเจ้าเมืองระนองกรมศลิ ปากร ได้ประกาศขึ้น ทะเบียนเป็นโบราณสถานเม่ือปี พ.ศ. ๒๕๓๙ ภายในบ้าน มีกาแพงก่อด้วยอิฐ ถือปูนล้อมรอบ ทง้ั ๔ ด้าน มปี ้อมเชงิ เทิน มบี า้ นขนาดใหญ่ ๓ หลัง ติดกันทาเป็นเรือนรับรองสาหรับเจ้าเมืองระนอง มีโรงเก็บสินค้า โรงช้าง โรงมา้ โรงตม้ กลน่ั สุรา โรงตม้ ฝ่ิน และฉางขา้ ว

วัดวารีบรรพต (Wat Wareebanphot) หรือ วัดบางนอน (Wat Bang Non) เป็นวัด ท่ีมีช่ือเสียงแห่งหน่ึงของจังหวัดระนอง ตั้งอยู่บนเนินเขา ล้อมรอบไปด้วยภูเขา วัดแห่งน้ีสร้างโดย หลวงพ่อด่วน ถามวโร ท่านเป็นพระธุดงค์ท่ีมาจากจังหวัดสงขลา ชาวบ้านเลื่อมใสและศรัทธาในตัว ท่านจึงได้พากันนิมนต์ท่านให้จาพรรษา ณ ท่ีแห่งนี้ หลวงพ่อด่วน ถามวโร อดีตเจ้าอาวาสวัดวารี บรรพต พระสงฆ์ผู้สร้างปาฏิหาริย์ ที่เผาสังขารไม่ไหม้ในวันพระราชทานเพลิงศพ จนเป็นข่าวดังไปทั่ว ประเทศ

“หลวงพ่อด่วน” ถามวโร หรือพระครูประภัสรวิริยคุณ อดีตเจ้าอาวาสวัดวารีบรรพต (วัดบางนอน) ตาบลบางนอน อาเภอเมือง จังหวดั ระนอง พระเกจิที่วัดบางนอน และสร้างพระพุทธ ไสยาสน์ใหญ่สุดในภาคใต้ วัตถุมงคล ที่มีช่ือเสียง คือ เหรียญหลวงพ่อด่วน รุ่นแรกปี พ.ศ.๒๕๐๖ ลักษณะเหรียญรูปไข่ หูเชื่อมพร้อมห่วง ด้านหน้าเหรียญเป็นรูปเหมือนเขียนข้อความว่า “หลวงพ่อด่วน ถามวโร วัดวารีบรรพต” ด้านหลังเหรียญเป็นพระพุทธรูปปางไสยาสน์ เขยี นข้อความว่า “(บางนอน) จงั หวดั ระนอง” เหรยี ญรุ่นนหี้ ายากและราคาขนึ้ สงู อยา่ งรวดเร็ว

พระพุทธไสยาสน์ หรือพระนอน เป็นพระพุทธไสยาสน์ท่ีใหญ่ที่สุดในภาคใต้ ยาว ๒๒ เมตร สร้างขึ้นเม่ือ ๒๕๐๗ สร้างขึ้นเพ่ือเป็นสัญลักษณ์ของบ้านบางนอน ประดิษฐานอยู่ในวิหาร พระพุทธไสยาสน์ บนเนินเขาบางนอน โดยมีนายช่างจากกรมศิลปากรเป็นผู้ควบคุมการก่อสร้าง เมื่อการก่อสร้างใกล้แล้วเสร็จ กรมศิลปากร แนะนาให้พระครูประภัสรวิริยะคุณทูลเกล้าฯ ขอพระราชทานดวงพระเนตรพระพุทธรูป ปางไสยาสน์ผ่านทางสานักพระราชวัง เมื่อทางสานัก พระราชวังนาความกราบทูลพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ไดพ้ ระราชทานดวงพระเนตรพระพุทธไสยาสนท์ ัง้ สองดวง

บ้านเทียนสือ หรือบ้านร้อยปีเทียนสือ ตั้งอยู่บนถนนดับคดี ตรงข้ามศาลจังหวัด ใกล้ ชุมชนตลาดใหม่ อาเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง บ้านหลังดังกล่าวสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๕ มีประวัติความเป็นมายาวนานกว่าหนึ่งร้อยปีนับถึงปัจจุบัน แต่เดิมเร่ืองราวต่าง ๆ เป็นท่ีรับรู้และภูมิใจ เพยี งในครอบครวั หากแต่ปจั จุบันเรือ่ งราวตา่ ง ๆ พรอ้ มท่จี ะเผยแพร่สู่ผู้มาเย่ียมเยือน ทุกท่านได้ร่วมนึก ถึงภาพความหลังและหวังเพียงเพ่ือเป็นจุดเริ่มต้นของแรงบันดาลใจให้ผู้มาเย่ียมเยือนทุกท่านได้กลับไป ร่วมค้นหาและบนั ทึกเร่ืองราว ความเป็นมาของบรรพบุรุษของตนเอง “เทียนสือ” เป็นชายชาวจีนแผ่นดินใหญ่ เกิดในยุคปลายราชวงศ์ ชิง (หรือ ราชวงศ์ แมนจู ปกครองประเทศจีนในช่วงปี ค.ศ. ๑๖๖๔-๑๙๑๒) ตามหลักฐานที่ปรากฏของป้ายวิญญาณ และสุสานรวมไปถึงคาบอกเล่าจากญาติผู้ใหญ่ นายเทยี นสือ ไดเ้ ดนิ ทางอพยพมายังสยามเม่ือราวร้อย กว่าปีก่อน และมีโอกาสได้รับตาแหน่ง เป็นผู้ช่วยของพระยารัษฎานุประดิษฐ์มหิศรภักดี (คอซิมบ้ี ณ ระนอง) ข้าราชการชาวสยาม บุตรคนสุดท้องของ พระยาดารงสุจริตมหิศรภักดี (คอ ซเู จียง) ต้นตระกูล ณ ระนอง

“พระติปกุ ะพทุ ธมหาศากยมุนีศรีระณังค์” สักการระ“หลวงพ่อดีบุก”หรือ“พระประธานในอุโบสถ” เป็นพระพุทธรูปท่ีสร้างขึ้นใหม่ในอุโบสถ ถือเป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธ์ิ ใช้แร่ดีบุกซึ่งเป็นโลหะธาตุหล่อ องค์พระพุทธรูป อันมีนัยแห่งความดี หมายถึง “ความ “ดี” ท่ี “บุก” เอาชนะความช่ัว” หรือ “ดี บุก ชั่ว” แรด่ บี กุ มอี ยมู่ ากมายในจังหวดั ระนอง จนได้ชื่อว่า “เมืองแร่นอง” และต่อมาเพี้ยนกร่อนคามาเป็น “ระนอง” ประกอบกบั ตาบลหงาวกเ็ ปน็ แหลง่ แร่ดีบุก อุดมสมบูรณ์แห่งหน่ึง การสร้างพระประธานในอุโบสถด้วยดีบุกทา ให้คนรุ่นใหม่รู้จักแร่ดีบุก องค์พระประธานที่หล่อด้วยแร่ดีบุกขึ้นนี้ มีช่ือสามัญว่า “หลวงพ่อดีบุก” ส่วนชื่อ ท่ีเป็นทางการคือ “พระตปิ กุ ะพทุ ธ มหาศากยมนุ ีศรรี ะณงั ค์” อันมีความหมายวา่ “พระพุทธรูปดีบุกองค์ใหญ่ เปน็ สริ ิมงคลและศกั ดศิ์ รขี องเมืองระนอง”

ป็นแร่ที่มีนัยแห่งความดี คือ ดีบุก หมายถึง “ความดีท่ีบุกเอาชนะความชั่ว” พุทธศาสนิกชนทั้งในจังหวัด ระนอง และต่างจังหวัด รวมทั้งนักท่องเที่ยว จะเข้ามาสักการะของพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และถ่ายภาพเป็นที่ระลึก เนื่องดว้ ย องคพ์ ระประธานทีง่ ดงามมาก พระประธานในอุโบสถวัดบ้านหงาว สร้างเม่ือวันท่ี ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๑ ตรงกับ วนั ขึ้น ๙ ค่า เดอื น ๙ มหาฤกษ์ ๑๓.๓๙ น. ขนาดพระประธานหลวงพ่อดีบุก เป็นตัวเลขล้วนมีความหมายลึกซึ้ง ในแง่ของธรรมะและประวัติศาสตร์ คือ หน้าตักกว้าง ๙ ฟุต หมายถึง สร้างในสมัยรัชกาลที่ ๙ หรือมงคล ๙ สูงสุดแห่งมงคล ส่วนสูงจากฐานถึงเกตุมาลา ๔ เมตร หรือ อริยสัจ ๔ ท่ีพระพุทธองค์แสดงปฐมเทศนา หรืออีก ความหมายหน่ึงในอดีตพระมหากษัตริย์ ได้เคยเสด็จเมืองระนองถึง ๔ พระองค์ คือ รัชกาลที่ ๕ รัชกาลท่ี ๖ รัชกาลที่ ๗ และรัชกาลท่ี ๙ นับว่าเป็น พระประธานท่ีหล่อด้วยแร่ดีบุกองค์แรกท่ีใหญ่ท่ีสุดในโลก ใช้ แร่ดีบุกถึง ๓ ตัน รวมถึงพระสารีบุตรและ พระโมคคัลลานะ รวมค่าใช้จ่ายประมาณ ๔ ล้านบาท หลวงพ่อดีบุกวัดบ้านหงาว แม้จะไม่ได้เป็นพระพุทธรูปเก่าแก่ แต่เป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ แร่ดีบุกท่ีใช้ใน การสร้างองค์พระประธานเป็นแร่ที่มีนัยแห่งความดี คือ ดีบุก หมายถึง “ความดีท่ีบุกเอาชนะความชั่ว” พุทธศาสนิกชนทั้งในจังหวัดระนอง และต่างจังหวัด รวมทั้งนักท่องเที่ยว จะเข้ามาสักการะของพรสิ่ง ศักด์สิ ิทธ์ิ และถ่ายภาพเปน็ ที่ระลกึ เนอื่ งดว้ ยองค์พระประธานทีง่ ดงามมาก

พระประธานในอุโบสถวัดบ้านหงาว สร้างเมื่อวันที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๑ ตรงกับวันข้ึน ๙ ค่า เดือน ๙ มหาฤกษ์ ๑๓.๓๙ น. ขนาดพระประธานหลวงพ่อดีบุก เป็นตัวเลขล้วนมีความหมายลึกซึ้งในแง่ของ ธรรมะและประวัติศาสตร์ คือ หน้าตักกว้าง ๙ ฟุต หมายถึง สร้างในสมัยรัชกาลท่ี ๙ หรือมงคล ๙ สูงสุดแห่ง มงคล ส่วนสงู จากฐานถึงเกตุมาลา ๔ เมตร หรอื อริยสัจ ๔ ท่ีพระพุทธองค์แสดงปฐมเทศนา หรืออีกความหมาย หนงึ่ ในอดีตพระมหากษตั ริย์ ไดเ้ คยเสด็จเมอื งระนองถึง ๔ พระองค์ คอื รัชกาลที่ ๕ รัชกาลท่ี ๖ รัชกาลท่ี ๗ และรัชกาลที่ ๙ นับว่าเป็น พระประธานที่หล่อด้วยแร่ดีบุกองค์แรกที่ใหญ่ที่สุดในโลก ใช้แร่ดีบุกถึง ๓ ตัน รวมถึงพระสารีบุตรและ พระโมคคัลลานะ รวมค่าใชจ้ า่ ยประมาณ ๔ ล้านบาท หลวงพ่อดีบุกวัดบ้านหงาว แม้จะไม่ได้เป็นพระพุทธรูปเก่าแก่ แต่เป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ แร่ดีบุกที่ใช้ในการสร้างองค์พระประธาน เป็นแร่ที่มีนัยแห่งความดี คือ ดีบุก หมายถึง “ความดีท่ีบุกเอาชนะความชั่ว” พุทธศาสนิกชนท้ังในจังหวัด ระนอง และตา่ งจงั หวัด รวมท้ังนักทอ่ งเทย่ี ว จะเข้ามาสักการะของพรสิ่งศักด์ิสิทธิ์ และถ่ายภาพเป็นท่ีระลึก เนื่องดว้ ย องคพ์ ระประธานทงี่ ดงามมาก

แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ จากแจกันดอกไม้ดิ้นโบราณอายุกว่าร้อยปี ซึ่งเป็นมรดกตกทอดมาจากตระกูล ณ ระนอง ที่จวนเจ้าเมืองระนองเก่า เมื่อครั้งสมัยที่จังหวัดระนองได้รับวัฒนธรรมเปอรานากัน จากปีนัง ประเทศมาเลเซีย เนื่องจากมีการติดต่อทั้งด้านเศรษฐกิจและด้านการศึกษา โดยเป็นศิลปะ ที่หาชมได้ยาก และเลือนหายไปจากระนองไปแล้ว ในอดีตผลิตภัณฑ์ดิ้นโบราณได้นามาประดิษฐ์ เป็นมงกุฏประดับศีรษะ เจ้าสาวในพิธีแต่งงาน ดอกไม้ติดเสื้อสาหรับเจ้าบ่าว และได้พัฒนารูปแบบ ผลิตภัณฑ์ให้มีเอกลักษณ์ของจังหวัดระนองและสอดคล้องกับสมัยนิยม เช่น นามาตกแต่งทรงผม เป็นเข็มกลัด ตกแต่งเครื่องแต่งกาย เคร่ืองประดับต่าง ๆ ผลิตภัณฑ์เข็มกลัดหงส์ แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ มีแนวคิดมาจากความเชื่อของกลุ่มชาติพันธ์ชาวบ่าบ๋าหรือจีนฮกเก้ียนท่ีอาศัยอยู่ในจังหวัด ระนอง ซึ่งเข้ามาตั้งถิ่นฐานในสมัยรัชกาลที่ ๓ ชาวจีนฮกเกี้ยนได้นารูปหงส์มาเป็นส่วนประกอบ ต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน

ศาลหลักเมืองระนอง ต้ังอยู่หน้าเทศบาลเมืองระนอง มีลักษณะเป็นศาลาจัตุรมุข ทรงไทย มียอดศาลาตามลักษณะภูมิสถาปัตย์แบบพระธาตุไชยา จานวนห้ายอดมีความสูงถึงยอด ๑๓.๖๐ เมตร ตัวศาลมีขนาดกว้างยาวด้านละ ๖ เมตร เป็นศาลหลักเมืองท่ีมีความสวยงามและเป็นที่เคารพสักการะ ของชาวระนอง เม่ือปี พ.ศ. ๒๕๓๐ เทศบาลเมืองระนอง จึงได้ริเริ่มโครงการสร้างศาลหลักเมืองข้ึน ณ บริเวณ ท่ีเคยเป็นบ้านพักเก่าของพระยารัตนเศรษฐี เจา้ เมอื งระนอง ริมคลองหาดส้มแปน้ เมอื่ วนั ที่ ๒๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๓ พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสนิ ทรมหาวชริ าลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จแทนพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มาประกอบพธิ ียกเสาหลกั เมือง และทรงเปิดศาลหลักเมือง




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook