48 ๓. ข้ันตอนในการสร้างเคร่ืองมือ 1. แบบสอบถามแนวทางการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต กรณีศึกษาอาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอปง จงั หวดั พะเยา 1.1 ศึกษาเอกสาร ตารา และงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรม พัฒนาทกั ษะชีวิต การจัดกิจกรรมอาสายวุ กาชาด 1.2 ศึกษาเอกสารรายงานผลการดาเนินงาน หลักสูตรสถานศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี รายงานการประเมินโครงการ รายงานการประเมินตนเอง (SAR) รายงานผลการจัดกิจกรรมพัฒนา คณุ ภาพผเู้ รยี นในปีที่ผ่านมา 1.3 กาหนดรูปแบบแนวทางการดาเนินงานกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน ดา้ นกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต กรณีศึกษาอาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอปง จังหวัดพะเยา โดยใช้รูปแบบการประเมิน CIPP Model ของสตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam.1971 : 261 – 265) ประกอบด้วย 4 ด้าน จานวน 70 ข้อ ประกอบด้วย ด้านบริบท (Context) จานวน 10 ข้อ ด้านปัจจัยนาเข้า (Input) จานวน 25 ข้อ ด้านกระบวนการ (Process) จานวน 2 ข้อ และ ดา้ นผลผลิต (Product) จานวน 15 ขอ้ 1.4 กาหนดข้อคาถามท่ีเก่ยี วกบั การจัดกิจกรรมอาสายุวกาชาดและการเสริมสร้างทักษะชวี ิต สาหรับอาสายุวกาชาด ประกอบด้วย สภาพปัจจุบัน ปัญหา อุปสรรค และความต้องการในการจัด กิจกรรม โดยใชข้ ้อความสนั้ กระชับ และเขา้ ใจง่าย 1.5 สร้างแบบสอบถามให้ครอบคลุมขอบข่ายของการจัดกิจกรรมอาสายุวกาชาดและการ เสริมสร้างทกั ษะชวี ติ สาหรับอาสายุวกาชาด 2. แบบบนั ทึกการสนทนากลุ่ม (Focus Group) 2.1 ศึกษาเอกสาร ตารา และงานวิจัยที่เก่ียวข้องกับนโยบายการจัดการศึกษาในศูนย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต และการจัดกิจกรรมยวุ กาชาดนอกโรงเรยี น 2.2 ดาเนนิ การสร้างเครอ่ื งมือ แบบบันทึกสนทนากลุ่ม (Focus Group) ซึง่ มปี ระเด็นคาถาม ใน 4 ประเด็น คือ การดาเนินงาน ปัญหา อุปสรรคการดาเนินงาน แนวทางพัฒนาการดาเนินงาน และข้อเสนอแนะอื่น ๆ ในการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต กรณศี กึ ษาอาสายวุ กาชาดนอกโรงเรียน เพอ่ื นาไปใช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 2.3 นาเครอ่ื งมอื ใหผ้ เู้ ชยี่ วชาญตรวจสอบความถูกต้องและความเทย่ี งตรงเชิงเน้ือหา 2.4 ปรับปรุงตามขอ้ เสนอแนะของผ้เู ชยี่ วชาญและนาไปใช้เก็บรวบรวมข้อมูล
49 ๔. การหาคณุ ภาพเครื่องมอื ในการหาคุณภาพของเครื่องมือวจิ ัยท้ัง 3 ฉบับ ผูว้ ิจยั ได้ดาเนินการทดสอบคุณภาพเครื่องมือ ตามข้นั ตอนดังน้ี 1. ตรวจสอบความเท่ียงตรงเชิงโครงสร้าง (Construct validity) และความเที่ยงตรง เชิงเนื้อหา IOC (Index of Item Objective Congruence) ซ่ึงเป็นวิธีของโรเนลลีและแฮมเบิลตัน แบบวิเคราะห์ความสอดคล้อง ของแบบสอบถามทงั้ 3 ฉบับ เสนอต่อผูเ้ ชย่ี วชาญ พิจารณาตรวจสอบ ให้ข้อแนะนา เพื่อให้ได้แบบสอบถามที่มีความถูกต้องสมบูรณ์ โดยมีผู้เช่ียวชาญด้านหลักสูตรและ การจัดกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน และด้านการวจิ ัยและประเมินผลการศึกษา จานวน 5 ท่าน ดังน้ี ๑.๑ นางสาวจีราภรณ์ โนราช วุฒิการศึกษา ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต (กษ.ม.) สาขาการการศึกษาผู้ใหญ่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ปัจจุบันดารงตาแหน่ง ผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเทิง สานักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเชียงราย เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรและ การจดั กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๑.๒ นางสาวนภาพัฒน์ แก้วอ่อน วุฒิการศึกษา ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต (กษ.ม.) สาขาการศึกษาผู้ใหญ่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปัจจุบันดารงตาแหน่งผู้อานวยการ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอปากเกร็ด สานักงานส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดนนทบุรี เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรและการจัด กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น ๑.๓ นายชิต กาศสนุก วุฒิการศึกษา ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต (ศษ.ม.) สาขาการ บริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคาแหง ปัจจุบันดารงตาแหน่งผู้อานวยการศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเชียงคา สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั จงั หวัดพะเยา เปน็ ผู้เช่ยี วชาญดา้ นการวิจัยและประเมนิ ผลการศกึ ษา ๑.๔ นางวารณี วิชัยศิริ วุฒิการศึกษา ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต (กศ.ม.) สาขา การบริหารการศึกษา มหาวิทยาลยั นเรศวร ปัจจุบันดารงตาแหน่งผู้อานวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอภูกามยาว สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั จงั หวัดพะเยา เปน็ ผ้เู ชยี่ วชาญดา้ นการวิจัยและประเมินผลการศึกษา ๑.๕ นางพัชรินทร์ สีทอง วุฒิการศึกษา ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต (ศษ.ม.) สาขา บรหิ ารการศกึ ษา มหาวิทยาลยั กรงุ เทพธนบรุ ี ปจั จุบนั ดารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการโรงเรียนบ้านควรดง สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา พะเยา เขต ๒ เปน็ ผเู้ ชี่ยวชาญด้านการวิจัยและประเมนิ ผล การศึกษา 2. ผู้วิจัยได้ปรับปรงุ เคร่ืองมือการวิจัยท้ัง 3 ฉบับ ให้สอดคล้องกับข้อคิดเห็น และคาแนะนา ของผ้เู ชี่ยวชาญ ที่ได้ให้ขอ้ เสนอแนะ
50 3. นาแบบสอบถามที่ปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของผู้เช่ียวชาญแล้ว จัดทาเป็นฉบับสมบูรณ์ เพื่อนาไปทดลองใช้ (Tryout) เพื่อหาค่าอานาจจาแนก (Discrimination power) และค่าความเชื้อมั่น (Reliability) ในการหาความเชื้อม่ันของแบบสอบถาม โดยดาเนินการดังนี้ 3.1 นาแบบสอบถามฉบับที่ 1 ที่ปรับปรุงแล้วไปทดลองใช้ (Tryout) กับครูและ บุคลากรทางการศึกษาจานวน ๓๐ คน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอเชยี งคา สานกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวดั พะเยา 3.2 นาแบบสอบถามฉบับที่ 2 ท่ีปรับปรุงแล้วไปทดลองใช้ (Tryout) กับอาสา ยุวกาชาดนอกโรงเรียน จานวน ๓๐ คน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอเชียงคา สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจงั หวดั พะเยา 3.3 นาผลการตอบแบบสอบถามมาวิเคราะห์หาค่าอานาจจาแนก โดยวิธีค่า อานาจจาแนกรายข้อ (Discrimination) โดยใช้ค่าสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson Product Moment Correlation) ระหว่างคะแนนรายข้อกับคะแนนรวม (Item – total correlation) ทาการ คัดเลือกข้อคาถามที่มีค่าอานาจจาแนกรายข้ออยู่ระหว่าง 0.20 – 1.00 และวิเคราะห์ค่า ความเชื่อม่ันท้ังฉบับ (Reliability) โดยวิธีหาค่าสัมประสิทธ์ิอัลฟาของ ครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) (Cronbach. 1987 : 202 – 204) ซ่ึงแบบสอบถามมีค่าความเช่ือมั่นจาแนก ตามแบบสอบถามแตล่ ะฉบับดังน้ี ฉบับที่ 1 จานวน 70 ข้อ มีค่าอานาจจาแนกอยู่ระหว่าง 0.26 – 0.89 และมีค่า ความเชือ่ มั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.88 ฉบับท่ี 2 จานวน 20 ข้อ มีค่าอานาจจาแนกอยู่ระหว่าง 0.21 – 0.79 และมีค่า ความเช่ือม่นั ทั้งฉบบั เท่ากับ 0.91 4. นาแบบสอบถามไปดาเนินการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลกบั กลุ่มเปา้ หมายต่อไป ๕. การเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูลแนวทางการการดาเนนิ งานกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ด้านกิจกรรมพัฒนา ทักษะชีวิต กรณีศึกษาอาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัยอาเภอปง จงั หวดั พะเยา ผูว้ ิจัยไดด้ าเนนิ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เป็น 2 ระยะ ดังน้ี การเก็บข้อมูลระยะที่ 1 การเก็บข้อมูลแนวทางการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต กรณีศึกษาอาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอปง จังหวดั พะเยา ดาเนนิ การตามขัน้ ตอนดงั น้ี 1. ประชุมบุคลากรเพ่ือชี้แจงและขอความอนุเคราะห์ตอบแบบสอบถามแนวทาง การดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต กรณีศึกษาอาสายุวกาชาด นอกโรงเรียน ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอปง จงั หวดั พะเยา จานวน 2 ฉบับ
51 2. รวบรวมแบบสอบถามแนวทางการดาเนินงานกิจกรรมพัฒ นาผู้เรียน ดา้ นกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต กรณีศึกษาอาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอปง จังหวัดพะเยา จานวน 2 ฉบับ ไปตรวจสอบความสมบูรณ์และ ความถกู ตอ้ งในการตอบแบบสอบถาม 3. นาแบบสอบถามแนวทางการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรม พัฒนาทักษะชีวิต กรณีศึกษาอาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอาเภอปง จังหวัดพะเยา จานวน 2 ฉบับ มาวิเคราะห์ข้อมูล แปรผล สรุปผล และ รายงานผลต่อไป การเก็บขอ้ มูลระยะที่ 2 การเก็บรวบรวมข้อมูลแนวทางการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนา ทักษะชีวิต กรณีศึกษาอาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอาเภอปง จังหวัดพะเยา ในระยะที่ 2 เพ่ือสรุปปัญหา อุปสรรคการดาเนินงาน แนวทาง พัฒนาการดาเนินงาน และข้อเสนอแนะอ่ืนๆ ในการดาเนนิ กิจกรรมครั้งต่อไป โดยวิธกี ารสนทนากลุ่ม มรี ายละเอียดดงั น้ี 1. ผเู้ ข้าร่วมสนทนา จานวน ๗ คน ๒. วนั เวลาและสถานท่จี ดั สนทนากลุ่มในวนั จนั ทร์ ที่ ๑ เดือน กมุ ภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๖๔ เวลา ๑๓.00 – ๑๕.๓0 น. ณ ห้องประชุมศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอปง สานกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จังหวดั พะเยา ๓. ขน้ั ตอนการสนทนากลมุ่ ๓.๑ ผู้วจิ ัยแนวทางการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น ดา้ นกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต กรณีศึกษาอาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอปง จังหวัดพะเยา นาเสนอความเป็นมา รายละเอียดการดาเนินงานกิจกรรม (ความเป็นมา วัตถุประสงค์ กจิ กรรม การดาเนินงานและผลการดาเนนิ งาน) ๓.๒ อภิปรายข้อคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะจากผ้สู นทนากลุ่ม โดยมปี ระเด็นดังน้ี ๓.๒.๑ ปัญหา อุปสรรคการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ดา้ นกิจกรรม พัฒนาทักษะชีวิต กรณีศึกษาอาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัยอาเภอปง จังหวดั พะเยา ๓.๒.๒ แนวทางการพัฒนาการดาเนินงาน ๓.๒.๓ ข้อเสนอแนะอนื่ ๆ ๓.๒.๔ สรปุ ผลการสนทนากลุ่ม
52 ๖. การจัดทาข้อมูลและการวิเคราะหข์ อ้ มูล ๑. นาแบบสอบถามทั้งหมดตรวจสอบความสมบูรณ์ความถูกต้อง ในการตอบแบบสอบถาม แลว้ นามาคัดเลือกฉบับทสี่ มบรู ณ์และถกู ต้องเพื่อนามาวเิ คราะห์ข้อมลู ๒. การวิเคราะหข์ ้อมลู ใช้โปรแกรมสาเร็จรปู มขี ัน้ ตอนดาเนนิ การดงั น้ี 2.1 หาค่าความถ่ี (frequency) และร้อยละ (percentage) ของข้อมูลที่เกี่ยวกับ สถานภาพของตอบแบบสอบถาม 2.2 หาค่าเฉล่ีย (mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standaed deviation) ของ คะแนนการตอบแบบสอบถาม ทวี่ ัดความคิดเหน็ ของการประเมนิ คุณภาพและประสิทธิภาพของสภาพ และการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต กรณีศึกษาอาสายุวกาชาด นอกโรงเรียน ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอปง จงั หวดั พะเยา 2.3 แปลผลความหมายตามช่วงคะแนน (บุญชม ศรีสะอาด. 2545 : 96 – 97) ค่าเฉล่ยี ( ) 4.50 – 5.00 หมายความวา่ มรี ะดบั ความคดิ อยใู่ นระดับมากท่ีสดุ 3.50 – 4.49 หมายความว่า มรี ะดับความคดิ อยู่ในระดับมาก 2.50 – 3.49 หมายความวา่ มีระดับความคิดอยูใ่ นระดับปานกลาง 1.50 – 2.49 หมายความวา่ มีระดบั ความคิดอย่ใู นระดบั น้อย ตา่ กว่า 1.50 หมายความว่า มีระดบั ความคิดอยู่ในระดับน้อยทสี่ ดุ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D) ตา่ กว่า 0.50 หมายความวา่ สอดคลอ้ งกันมากท่ีสุด 0.50 – 0.99 หมายความว่า สอดคลอ้ งกนั มาก 1.00 – 1.49 หมายความวา่ สอดคลอ้ งกนั ปานกลาง 1.50 – 1.99 หมายความว่า สอดคล้องกันน้อย 2.0 ขนึ้ ไป หมายความวา่ สอดคลอ้ งกันน้อยท่สี ุด ๗. สถติ ิทใี่ ช้ในการวเิ คราะห์ 1. สถติ ทิ ใ่ี ช้ในการวเิ คราะหเ์ คร่ืองมือ 1.1 การหาความเที่ยงตรง (Validity) ในการหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง ข้อคาถามกับเน้ือหา หรือลักษณะเฉพาะกลุ่มพฤติกรรม โดยนาเคร่ืองมือท่ีสร้างข้ึนไปให้ผู้เชี่ยวชาญ ในเนอ้ื หา จานวน 5 คน ใหแ้ ตล่ ะคนพิจารณาลงความเห็นและใหค้ ะแนนดงั นี้ +1 เม่ือแน่ใจว่าข้อคาถามนั้นเป็นตัวแทนคาบรรยายเก่ียวกับการประเมินคุณภาพ และประสทิ ธิภาพของกจิ กรรม 0 เม่ือไม่แน่ใจว่าข้อความถามนั้นเป็นตัวแทนคาบรรยายเก่ียวกับการประเมิน คุณภาพและประสิทธภิ าพของกจิ กรรม
53 -1 เม่ือแน่ใจว่าข้อคาถามไม่เป็นตัวแทนคาบรรยายเก่ียวกับการประเมินคุณภาพ และประสิทธิภาพของกจิ กรรม โ ด ย ใ ช้ ดั ช นี ค ว า ม ส อ ด ค ล้ อ ง IOC (Index of Item Objective Congruence ) (สมนกึ ภัททยิ ธนี. 2544 : 221) IOC = เมือ่ IOC แทน ดัชนีความสอดคล้องระหว่างขอ้ คาถามกบั เน้ือหา แทน ผลรวมคะแนนความคิดเหน็ ของผเู้ ชี่ยวชาญท้งั หมด N แทน จานวนผ้เู ชีย่ วชาญทงั้ หมด 1.2 ค่าอานาจจาแนกและค่าความเช่ือมั่นของแบบสอบถามท้ังฉบับ วิเคราะห์โดยนา แบบทดสอบฉบับเดียวไปทดสอบกับผู้ตอบแบบสอบถาม จากสูตรการหาสัมประสิทธิ์แอลฟา ของครอนบาค (Alpha Cronbach’s Coeffcient) (ภาควิชาวิจัยและพัฒนาการศึกษา. 2546 : 70 – 71) α= เมอื่ α แทน ค่าสัมประสิทธ์ิ n แทน จานวนขอ้ สอบในแบบสอบถาม แทน ความแปรปรวนรายข้อ แทน ความแปรปรวนของเครื่องมือท้ังฉบบั 2. สถิตพิ นื้ ฐานท่ีใชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมลู 2.1 ร้อยละ (Percentage) คานวณจากสูตร (บญุ ชม ศรีสะอาด. 2545 : 104) P= x 100 เมอ่ื P แทน รอ้ ยละ F แทน ความทต่ี ้องการแปลงใหเ้ ปน็ ร้อยละ N แทน จานวนความถ่ีทัง้ หมด 2.2 ค่าเฉลยี่ (Mean) โดยใชส้ ตู รดงั น้ี (บญุ ชม ศรีสะอาด. 2545 : 105) = เมื่อ แทน คา่ เฉล่ยี N แทน ผลรวมคะแนนท้ังหมดในกลุ่ม แทน จานวนคะแนนในกล่มุ
54 2.3 สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) โดยใชส้ ูตรดังน้ี (บญุ ชม ศรี สะอาด. 2545 : 106) S.D. = เม่อื S.D. แทน สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน X แทน คะแนนแตล่ ะตวั N แทน จานวนคะแนนในกลุม่ แทน ผลรวม 4. การวิเคราะหข์ ้อมลู เชิงคุณภาพ จากคาถามปลายเปิด (Opened form) เพื่อสรุปประเด็น การดาเนินกจิ กรรม ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะในการพัฒนา และแบบบันทึกการสนทนากลุ่ม (Focus Group) เพื่อสรุปประเด็นปัญหา อุปสรรคการดาเนินงาน แนวทางพัฒนาการดาเนินงานและ ข้อเสนอแนะอื่นๆ ใช้การวิเคราะห์เน้ือหา (Content anslysis) โดยการจัดกลุ่มเพ่ือหาท่ีมีลักษณะ เดยี วกันหรือ ใกล้เคยี งกนั แล้วเสนอผลการวเิ คราะห์ในรปู ของการพรรณนา
55 บทท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล แนวทางการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต กรณีศึกษา อาสายุวกาชาดนอกโรงเรยี น ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอปง ผู้วิจัยได้ จดั ลาดับการนาเสนอ ดังนี้ 1. สญั ลกั ษณท์ ี่ใช้ในการเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมลู 2. ลาดบั ขั้นตอนในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล 3. ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล ๑. สญั ลักษณท์ ใ่ี ชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มลู ในการนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยได้ใช้สัญลักษณ์เพื่อการแปลความหมายในการ วเิ คราะหข์ อ้ มลู ดังนี้ μ แทน ค่าเฉลยี่ (Mean) แทน ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ๒. ลาดบั ขนั้ ตอนในการเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมูล ในการวิจัยครั้งน้ี ผู้วิจัยได้นาเสนอลาดับข้ันตอนในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล โดยแบ่ง ออกเป็น 2 ตอน ตามจุดมุ่งหมายของการวิจัยดังน้ี ตอนที่ 1 ผลการศึกษาสภาพและการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนา ทักษะชีวิต กรณีศึกษาอาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั อาเภอปง ตอนท่ี 2 แนวทางการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต กรณีศกึ ษา อาสายวุ กาชาดนอกโรงเรียน ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอปง ๓. ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล ตอนท่ี 1 ผลการศึกษาสภาพและการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนา ทักษะชีวิต กรณีศึกษา อาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน ศูนย์การศึกษานกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั อาเภอปง
56 ตาราง 2 แสดงจานวน และร้อยละ ข้อมูลทัว่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม รายการ ผู้ตอบแบบสอบถาม 1. เพศ จานวน (N = 29) รอ้ ยละ 1.1 ชาย 1.2 หญิง 16 55.17 13 44.83 2. สถานภาพ 2.1 โสด 10 34.48 2.2 สมรส 19 65.62 2.3 อื่นๆ -- 3. ปจั จุบนั ดารงตาแหน่ง 1 3.45 3.1 ผบู้ ริหาร 1 3.45 3.2 ขา้ ราชการครู 1 3.45 3.3 ลูกจา้ งประจา 21 72.41 3.4 พนกั งานราชการ 1 3.45 3.5 ครูศนู ย์การเรยี นชุมชน 2 6.90 3.6 ครูผู้สอนคนพกิ าร 2 6.90 3.7 ลูกจา้ งชัว่ คราว 4 13.79 4. อายุ 10 34.48 4.1 นอ้ ยกว่า 30 ปี 9 31.03 4.2 30 – 39 ปี 6 20.69 4.3 40 – 49 ปี 4.4 มากกวา่ 49 ปี 1 3.45 27 93.10 5. วุฒิการศกึ ษา 1 3.45 5.1 ตา่ กวา่ ปรญิ ญาตรี -- 5.2 ปรญิ ญาตรีหรอื เทยี บเทา่ -- 5.3 ปรญิ ญาโท 5.4 ปรญิ ญาเอก 6 20.69 5.5 อื่น ๆ 6 20.69 6 20.69 6. ประสบการณ์การทางาน 4 13.79 6.1 นอ้ ยกว่า 5 ปี 5 17.24 6.2 5 – 9 ปี 2 6.90 6.3 10 – 14 ปี 6.4 15 – 19 ปี 6.5 20 – 24 ปี 6.6 มากกวา่ 24 ปี
57 ตาราง 2 แสดงจานวน และร้อยละ ข้อมลู ท่ัวไปของผูต้ อบแบบสอบถาม (ต่อ) รายการ ผตู้ อบแบบสอบถาม 7. ประสบการณ์มีส่วนรว่ มในการจดั กจิ กรรมพัฒนา จานวน (N = 29) ร้อยละ ผเู้ รยี น 3 10.34 7.1 นอ้ ยกวา่ 3 ปี 3 10.34 7.2 3 – 5 ปี 3 10.34 7.3 6 – 8 ปี 20 68.97 7.4 มากกว่า 8 ปี 8. ประสบการณ์เขา้ รว่ มประชมุ อบรม สมั มนา 15 51.72 เกย่ี วกบั กิจกรรมการเรียนการสอน 11 37.93 8.1 นอ้ ยกว่า 20 ชั่วโมงต่อปี 3 10.34 8.2 20 ช่ัวโมงตอ่ ปี ขึ้นไป 8.3 ไม่เคยเข้าร่วม จากราง 2 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามจานวน 29 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 55.17 มีสถานภาพสมรส คิดเป็นร้อยละ 65.62 ดารงตาแหน่งพนักงานราชการ คิดเป็นร้อยละ 72.41 มีอายรุ ะหว่าง 30 – 39 ปี คิดเป็นร้อยละ 34.47 มีวุฒิการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่า คิดเป็นร้อยละ 93.10 มีประสบการณ์การทางาน น้อยกว่า 5 ปี, 5 – 9 ปี และ 10 – 14 ปี คิดเป็นร้อยละ 20.69 มีประสบการณ์การมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มากกว่า 8 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 68.79 และมีประสบการณ์เข้าร่วม ประชุม อบรม สัมมนา เก่ียวกับกิจกรรม การเรียนการสอน น้อยกว่า 20 ชั่วโมงต่อปี คิดเป็นร้อยละ 51.72
58 ตารางท่ี 3 ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานแนวทางการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกจิ กรรมพฒั นาทกั ษะชวี ิต ดา้ นบริบท สาหรบั ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ขอ้ ที่ ด้านบริบท ระดับความ ความหมาย (Context) เหมาะสม มาก 1 การกาหนดกจิ กรรมสอดคล้องกบั การขับเคล่ือน μ มากทีส่ ดุ ยทุ ธศาสตรก์ ารศึกษาชาติ พ.ศ.2560 – 2579 4.34 0.83 มากทสี่ ดุ 2 วตั ถุประสงค์ของการดาเนินงานกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน 4.61 0.66 มากทีส่ ดุ ดา้ นกิจกรรมพฒั นาทักษะชีวิต ของอาสายุวกาชาด นอกโรงเรยี น สอดคลอ้ งกบั นโยบายของรฐั บาล และ 4.53 0.53 มากทีส่ ดุ ตน้ สงั กัด 4.51 0.86 มากทส่ี ดุ 3 วัตถปุ ระสงค์ทก่ี าหนดไวม้ ีความชัดเจน สามารถนาไป 4.72 0.52 มากทสี่ ดุ ปฏิบัติไดจ้ รงิ 4.57 0.85 มาก 4 กิจกรรมการดาเนนิ งานตอบสนองต่อนโยบายของ 4.75 0.64 มากทสี่ ุด สานกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา 4.16 0.79 ตามอธั ยาศยั จังหวัดพะเยา 4.63 0.52 มาก มากท่ีสดุ 5 การดาเนนิ งานกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น ดา้ นกิจกรรมพัฒนา 4.34 0.88 ทกั ษะชวี ิต ของอาสายุวกาชาดนอกโรงเรียนเหมาะสมกับ 4.52 0.71 สภาพ ปัญหา 6 กจิ กรรมที่กาหนดสามารถส่งเสรมิ การพฒั นาทักษะชีวิต ของอาสายวุ กาชาดนอกโรงเรียนได้ 7 กจิ กรรมสอดคลอ้ งกับความต้องการจาเป็นในการ พัฒนาการจดั การศึกษาของอาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน 8 กิจกรรมสนองความต้องการของชุมชนในการแกป้ ัญหา และพฒั นาพฤตกิ รรมของผู้เรียน 9 ผ้บู รหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา รวมถึง ผู้เก่ยี วข้องในการดาเนินงานให้การยอมรับว่ากิจกรรม มคี วามเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย 10 ชุมชน ท้องถ่นิ และผปู้ กครองเห็นความสาคัญและยอมรับ ในกิจกรรม รวม จากตาราง 3 พบว่าค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานแนวทางการดาเนินงานกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต ด้านบริบท สาหรับครูและบุคลากรทางการศึกษาใน ภาพรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด (μ = 4.52, = 0.71) เม่ือพิจารณาโดยเรียงจากค่าเฉล่ียระดับ ความเหมาะสมสูงสดุ 3 อนั ดับ
59 พบว่า อันดับแรก คือ ข้อท่ี 7 กิจกรรมสอดคล้องกับความต้องการจาเป็นในการพัฒนาการ จัดการศึกษาของอาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน อยู่ในระดับ มากท่ีสุด (μ = 4.75, = 0.640) รองลงมาคือ ข้อท่ี 5 การดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต ของอาสา ยุวกาชาดนอกโรงเรียนเหมาะสมกับ สภาพ ปัญหา อยู่ในระดับ มากที่สุด (μ = 4.72, = 0.52) และข้อท่ี 9 ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา รวมถึงผู้เก่ยี วข้องในการดาเนนิ งาน ให้การยอมรับว่ากิจกรรมมีความเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย อยู่ในระดับ มากท่ีสุด (μ = 4.63, = 0.52) ตามลาดับ ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุด คือ ข้อที่ 8 กิจกรรมสนองความต้องการของชุมชน ในการแกป้ ญั หาและพฒั นาพฤตกิ รรมของผูเ้ รียน อยูใ่ นระดับ มาก (μ = 4.16, = 0.79) ตาราง 4 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานแนวทางการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพฒั นาทกั ษะชวี ิต ดน้ ปัจจัยนาเข้า สาหรบั ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ข้อท่ี ด้านปจั จยั นาเข้า ระดับความ ความหมาย (Input) เหมาะสม มากท่สี ุด 1 ผู้บรหิ ารมวี สิ ัยทศั น์ เห็นความสาคัญและให้การ μ สนับสนุน กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียนด้านกจิ กรรม มาก พัฒนาทกั ษะชวี ติ ของอาสายุวกาชาดนอกโรงเรยี น 4.73 0.65 มากทส่ี ดุ มากทีส่ ดุ 2 จานวนวทิ ยากรเพียงพอในการจัดกจิ กรรม 4.47 0.70 มากทีส่ ุด 3 วิทยากรมีความรู้ความสามารถในการจัดกจิ กรรม 4.70 0.61 มากทสี่ ุด 4.52 0.92 มากทีส่ ุด 4 ครูเสยี สละและอทุ ิศเวลาในการดาเนินงาน 4.58 0.88 มากท่สี ุด 4.60 0.75 มากที่สุด 5 ครมู ีเจตคติที่ดีต่อการจัดกจิ กรรม 4.51 0.74 4.66 0.88 มากที่สดุ 6 ครมู ีความสามารถในการผลิต พัฒนา และใชส้ ือ่ 4.62 0.54 มากทีส่ ดุ 7 ครมู กี ารวางแผนในการจัดกิจกรรมให้กับผเู้ รยี น 4.53 0.59 มาก 8 ครศู กึ ษาหาความรู้และพัฒนาตนเอง 4.51 0.91 มากท่สี ดุ 9 ครมู คี วามรูแ้ ละทักษะการทาวิจัยเพื่อพัฒนาการ 4.49 0.62 จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 4.59 0.65 10 อาสายวุ กาชาดนอกโรงเรียนมีสว่ นร่วมในการ วางแผน การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ และการ ประเมินผล 11 ผบู้ รหิ าร ครู ผเู้ รยี นและผปู้ กครองมีสว่ นรว่ ม ตดั สนิ ใจวางแผน และพฒั นาการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ 12 สถานศกึ ษามีความพร้อมในด้าน วสั ดอุ ปุ กรณ์ สือ่ ส่งิ อานวยความสะดวกที่จาเป็นต่อการจดั กจิ กรรม 13 สถานศึกษาวางแผนการใชง้ บประมาณ เพ่ือจดั กิจกรรมใหเ้ พียงพอ
60 ตาราง 4 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานแนวทางการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทกั ษะชีวิต ด้นปจั จยั นาเขา้ สาหรบั ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา (ตอ่ ) ขอ้ ท่ี ดา้ นปัจจัยนาเข้า ระดับความ ความหมาย (Input) เหมาะสม มากทส่ี ดุ มากที่สดุ 14 สถานศึกษาระดมทรัพยากร และแหลง่ ทนุ μ จากชมุ ชนในการพัฒนาการจัดการจดั กจิ กรรม มาก 4.66 0.66 มากทส่ี ดุ 15 สถานศึกษาบรหิ ารจัดการงบประมาณโดยมีส่วน 4.65 0.85 มากทส่ี ดุ รว่ มจากผูเ้ ก่ยี วข้อง มีความโปรง่ ใส และตรวจสอบ ได้ 4.49 0.52 มาก 4.62 0.57 มากที่สดุ 16 สถานศึกษามีความคล่องตัวในการนางบประมาณ 4.58 0.45 ท่ีไดม้ าใชใ้ นโครงการ ด้านหมวดรายจา่ ย 4.48 0.55 มากที่สดุ 4.67 0.55 มากท่สี ุด 17 สถานศึกษามีความคลอ่ งตวั ในการนางบประมาณ มากท่สี ดุ ทีไ่ ดม้ าใชใ้ นโครงการ ดา้ นระยะเวลา 4.57 0.84 มากทส่ี ุด 4.55 0.65 18 สถานศกึ ษาไดร้ ับจัดสรรงบประมาณอยา่ งเพียงพอ 4.63 0.93 มาก ในการดาเนนิ โครงการ 4.64 0.97 มากทส่ี ุด 4.48 0.75 19 สถานที่สะดวกและเหมาะสมกบั การจัดกิจกรรม 4.58 0.71 20 สถานศกึ ษามีเครือข่ายในการวางแผน สนบั สนนุ และพัฒนาการจดั กจิ กรรมการเรียนรดู้ า้ น ทักษะชวี ิต 21 คุณภาพของสื่อ วสั ดุ อปุ กรณ์มคี วามเหมาะสมใน การจัดกิจกรรม 22 สถานศึกษามแี หลง่ เรียนรู้ทัง้ ภายในและภายนอก ทส่ี อดคล้องกับการดาเนนิ การจัดกิจกรรม 23 สถานศึกษากาหนดให้มกี ารวดั และประเมนิ ผล ครอบคลุมการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 24 สถานศกึ ษากาหนดใหม้ ีการวัดและประเมินผลตรง ตามสภาพจริง ของการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 25 สถานศึกษามีการวางแผน นิเทศ กากบั ติดตาม สง่ เสรมิ สนบั สนนุ และประเมินการจัดกจิ กรรม รวม จากตาราง 4 พบว่า ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานแนวทางการดาเนินงานกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตด้านปัจจัยนาเข้า สาหรับครูและบุคลากรทางการศึกษา ในภาพรวม อยใู่ นระดับ มากท่ีสุด (μ = 4.58, = 0.71)
61 เม่อื พจิ ารณาโดยเรยี งจากค่าเฉล่ียระดับความเหมาะสมสงู สุด 3 ระดับ พบวา่ อนั ดับแรก คือ ขอ้ ที่ 1 ผู้บริหารมีวสิ ัยทัศน์ เห็นความสาคญั และให้การสนับสนุนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกจิ กรรม พัฒนาทักษะชีวิตของอาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน อยู่ในระดับ มากที่สุด (μ = 4.73, = 0.65) รองลงมาคือ ข้อท่ี 3 วทิ ยากรมีความรู้ ความสามารถในการจดั กิจกรรม อยใู่ นระดบั มากที่สุด (μ = 4.70, =0.61 ) และขอ้ ท่ี 20 สถานศึกษามเี ครือขา่ ยในการวางแผน สนับสนุนและพัฒนาการจัดกจิ กรรม การเรียนรู้ด้านทักษะชีวิต อยู่ในระดับมากที่สุด (μ = 4.67, = 0.55) ส่วนข้อที่มีค่าเฉล่ียต่าสุด คือ ข้อท่ี 2 จานวนครูผู้สอนเพยี งพอ ในการจดั กิจกรรมอยู่ในระดบั มาก (μ = 4.47, = 0.70) ตารางท่ี 5 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานแนวทางการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกจิ กรรมพัฒนาทกั ษะชีวิต ดา้ นกระบวนการสาหรับครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ขอ้ ที่ ด้านกระบวนการ ระดับความ ความหมาย (Process) เหมาะสม มากที่สุด 1 สถานศกึ ษาดาเนนิ การศึกษา วเิ คราะห์สภาพ μ มากท่สี ดุ ปัญหาและความต้องการในการจัดกจิ กรรมพฒั นา มากทส่ี ุด ผเู้ รียนด้านกจิ กรรมพัฒนาทักษะชีวิต 4.61 0.63 มากทีส่ ุด ของอาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน มากทสี่ ุด 4.63 0.63 มากทส่ี ุด 2 สถานศกึ ษาดาเนนิ การวางแผนพฒั นาคณุ ภาพการ มากที่สดุ จัดกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน ดา้ นกจิ กรรมพัฒนา 4.77 0.84 ทกั ษะชวี ิต มาก 4.87 0.44 3 สถานศึกษากาหนดผู้รับผดิ ชอบในการพฒั นา กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น ด้านกิจกรรมพัฒนา 4.57 0.56 ทักษะชวี ิต 4.66 0.68 4 สถานศึกษากาหนดเนอื้ หาในกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ดา้ นกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต สอดคล้องกับสภาพ 4.53 0.61 ผ้เู รยี นและท้องถ่ิน 4.31 0.75 5 สถานศกึ ษาจดั กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น ดา้ นกจิ กรรม พฒั นาทกั ษะชีวิต ของอาสายุวกาชาดนอกโรงเรยี น ตามแผนทก่ี าหนด 6 วทิ ยากรนากิจกรรมพฒั นาผู้เรียน ด้านกิจกรรม พัฒนาทกั ษะชวี ิต ของอาสายุวกาชาดนอกโรงเรยี น ไปพฒั นาและปรบั ใชใ้ นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 7 สถานศกึ ษาใช้จา่ ยงบประมาณตรงตาม วัตถุประสงคแ์ ละเปา้ หมาย 8 สถานศึกษาเตรยี มพร้อมการจัดกิจกรรมอย่าง ครบถ้วนทง้ั ด้านพฒั นาผู้บรหิ าร ครู บคุ ลากร ทางการศกึ ษา นกั ศึกษารวมถึงส่ือ วัสดุอุปกรณ์
62 ตารางท่ี 5 ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานแนวทางการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ดา้ นกจิ กรรมพฒั นาทักษะชีวติ ด้านกระบวนการสาหรับครูและบุคลากรทางการศกึ ษา (ตอ่ ) ขอ้ ท่ี ดา้ นกระบวนการ ระดบั ความ ความหมาย (Process) เหมาะสม มากที่สุด 9 สถานศกึ ษาสร้างความเข้าใจร่วมกันในการจัด μ มากท่สี ดุ การศกึ ษาระหว่างผบู้ ริหาร ครู บุคลากรทางการ มากที่สดุ ศึกษา ผูป้ กครองและอาสายุวกาชาดนอกโรงเรยี น 4.51 0.63 มากทส่ี ดุ มากท่สี ดุ 10 การดาเนินการเสริมสรา้ งทักษะชวี ิตเพ่อื สรา้ ง 4.63 0.72 มากทส่ี ดุ ภูมคิ ุม้ กนั และป้องกันยาเสพติด 4.51 0.75 มากทส่ี ดุ 4.55 0.73 มากทส่ี ดุ 11 การดาเนินการเสริมสร้างทักษะชวี ิตเพ่อื สง่ เสรมิ 4.55 0.64 การเรยี นรูเ้ พศศึกษา 4.53 0.63 มาก 4.57 0.68 มากทส่ี ุด 12 การดาเนินการเสริมสร้างทักษะชีวิตเพอ่ื ส่งเสรมิ 4.57 0.59 คณุ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพึง่ ประสงค์ มาก 4.42 0.78 มากที่สุด 13 การดาเนินการเสริมสรา้ งทกั ษะชวี ติ เพอื่ สง่ เสริม 4.53 0.62 มากที่สุด การอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม 4.34 0.77 14 การดาเนนิ การสรา้ งเสริมทกั ษะชวี ติ เพ่ือส่งเสรมิ 4.50 0.75 ความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สิน 4.56 0.67 15 การดาเนนิ การเสริมสร้างทกั ษะชวี ิตเพ่อื สง่ เสรมิ สุขภาพ กาย-จติ 16 การดาเนินการเสริมสรา้ งทักษะชวี ิตเพ่อื สง่ เสรมิ ประชาธปิ ไตยและความเป็นพลเมืองในระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข 17 การดาเนินการเสริมสรา้ งทกั ษะชวี ติ ด้านการดูแล ผ้สู ูงอายุ 18 สถานศึกษามีกระบวนการแลกเปลีย่ นเรียนรู้เพื่อ พัฒนากระบวนการจัดกิจกรรมรว่ มกับเครือข่าย ทางการศกึ ษา 19 สถานศึกษามีการนเิ ทศ กากับ ติดตาม และ ประเมนิ ผล 20 สถานศกึ ษามีการสรปุ รายงานผล การจัดกิจกรรม เผยแพร่และประชาสมั พันธ์ โดยรวม
63 จากตาราง 5 พบว่า ค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานแนวทางการดาเนินงานกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต ด้านกระบวนการสาหรับครูและบุคลากรทางการศึกษา ในภาพรวม อยู่ในระดับ มากที่สุด (μ = 4.56, =0.67) เม่ือพิจารณาโดยเรียงค่าเฉล่ียระดับ ความเหมาะสมสูงสุด 3 อันดับ พบว่า อันดับ พบว่า อันดับแรก คือ ข้อที่ 4 สถานศึกษากาหนดเนื้อหา ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต สอดคล้องกับสภาพผู้เรียนและท้องถิ่น อยู่ในระดับ มากท่ีสุด (μ = 4.87, =0.44) รองลงมา คือ ขอ้ ที่ 3 สถานศกึ ษากาหนดผู้รบั ผิดชอบ ในการพัฒนากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต อยู่ในระดับ มากท่ีสุด (μ = 4.77, =0.84 ) และข้อที่ 6 วิทยากรนากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต ของอาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน ไปพัฒนาและปรับใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ อยู่ในระดับ มากที่สุด (μ = 4.66, =0.68 ) ส่วนข้อที่มีค่าเฉล่ียต่าสุด คือ ข้อที่ 8 สถานศึกษาเตรียมพร้อม การจัดกิจกรรมอย่างครบถ้วนทั้งด้านพัฒนาผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา นักศึกษารวมถึงสื่อ วัสดอุ ุปกรณ์ อยู่ในระดับ มาก (μ = 4.31, =0.75) ตาราง 6 ค่าเฉล่ียและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานแนวทางการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ดา้ นกจิ กรรมพฒั นาทกั ษะชวี ิต ดา้ นผลผลิต สาหรบั ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ขอ้ ที่ ดา้ นผลผลติ ระดบั ความ ความหมาย (Product) เหมาะสม มากทส่ี ุด 1 สถานศึกษามีหลักสตู รเกีย่ วกับกจิ กรรมพฒั นา μ มาก ผูเ้ รยี น ดา้ นกจิ กรรมพฒั นาทักษะชวี ติ ที่มีความ เหมาะสม และสอดคลอ้ งกับศักยภาพของ 4.66 0.56 มากทส่ี ดุ อาสายุวกาชาดนอกโรงเรยี น มากทสี่ ดุ 4.41 0.72 มากที่สุด 2 สถานศึกษาสามารถจดั กิจกรรม และมเี คร่อื งมอื มากทีส่ ดุ ส่อื ครุภณั ฑ์ อุปกรณ์ แหล่งเรียนรู้ เพ่ือจดั กิจกรรม 4.76 0.53 การเรยี นรู้ 4.56 0.75 มาก 4.56 0.57 3 ครูมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถจัดกจิ กรรมได้ 4.58 0.62 อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 4.47 0.68 4 การเสรมิ สร้างทักษะชีวิตสามารถสรา้ งภูมคิ มุ้ กัน และปอ้ งกันยาเสพติด 5 การเสริมสรา้ งทักษะชวี ิตสามารถส่งเสริมการ เรียนรูเ้ พศศึกษา 6 การเสรมิ สรา้ งทักษะชีวิตสามารถส่งเสรมิ คุณธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ 7 การเสริมสรา้ งทักษะชีวติ สามารถส่งเสรมิ การ อนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม
64 ตาราง 6 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานแนวทางการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกจิ กรรมพัฒนาทกั ษะชวี ิต ดา้ นผลผลิต สาหรบั ครูและบุคลากรทางการศึกษา ( ต่อ ) ดา้ นผลผลติ ระดับความ ความหมาย ขอ้ ท่ี เหมาะสม μ (Product) 8 การเสรมิ สรา้ งทักษะชีวติ สามารถสง่ เสริม 4.55 0.62 มากท่ีสดุ ความปลอดภยั ในชีวติ และทรัพยส์ นิ 9 การเสริมสรา้ งทักษะชวี ิตสามารถส่งเสริม 4.52 0.68 มากที่สุด สขุ ภาพกาย-จิต 10 ผลการเสรมิ สรา้ งทกั ษะชวี ิตสามารถส่งเสรมิ 4.52 0.62 มากทส่ี ุด ประชาธิปไตยและความเปน็ พลเมืองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั ริยเ์ ป็นประมขุ 11 ผลการเสรมิ สรา้ งทกั ษะดา้ นการดูแลผู้สูงอายุ 4.54 0.64 มากทส่ี ดุ 12 อาสายวุ กาชาดนอกโรงเรียนมีความรู้ ทักษะ และ 4.67 0.58 มากทส่ี ดุ เจตคตทิ ีด่ ดี า้ นทักษะชีวิตในการเรยี นร้แู ละร่วม กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น ดา้ นกิจกรรมพัฒนา ทกั ษะชีวิต 13 อาสายุวกาชาดนอกโรงเรยี นไดน้ าทักษะชีวิตและ 4.77 0.57 มากทสี่ ดุ ความรูไ้ ปใชใ้ นการร่วมกจิ กรรมของชุมชน 14 อาสายุวกาชาดนอกโรงเรียนได้นาทกั ษะชวี ิตและ 4.58 0.66 มากทส่ี ุด ความรู้ไปใช้ในการเรยี นวิชาอ่ืน หรือใน ชีวิตประจาวัน 15 หน่วยงานต้นสงั กัดมสี ารสนเทศในการนาไปพัฒนา 4.55 0.63 มากท่ีสุด ปรับปรงุ การดาเนนิ งานกจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียน จากตาราง 6 พบว่า ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานแนวทางการดาเนินงานกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต ด้านผลผลิต สาหรับครูและบุคลากรทางการศึกษา ในภาพรวม อยใู่ นระดับ มากทสี่ ดุ (μ = 4.58, =0.63)
65 เมื่อพิจารณาโดยเรียงจากค่าเฉลี่ยระดับความเหมาะสมสูงสุด 3 อันดับ พบว่า อันดับแรก คือ ข้อท่ี 13 อาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน ได้นาทักษะชีวิตและความรู้ไปใช้ในการร่วมกิจกรรมของชุมชน อยู่ในระดับ มากท่ีสุด (μ = 4.77, = 0.57) รองลงมาคือ ข้อที่ 3 ครูมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถจัดกิจกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ อยู่ในระดับ มากที่สุด (μ = 4.76, = 0.53) และข้อท่ี 12 อาสายุวกาชาดนอกโรงเรียนมีความรู้ ทักษะ และเจตคติท่ีดีด้านทักษะชีวิต ในการเรียนรู้และร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต อยู่ในระดับ มากท่ีสุด (μ = 4.67, = 0.58) ส่วนข้อท่ีมีค่าเฉล่ียต่าสุด คือ ข้อท่ี 2 สถานศึกษาสามารถจัดกิจกรรม และมีเครื่องมือ ส่ือ ครุภัณฑ์ อุปกรณ์ แหล่งเรียนรู้ เพ่ือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ อยู่ในระดับ มาก (μ = 4.41, = 0.72) ตาราง 7 จานวน และร้อยละ ขอ้ มูลทวั่ ไปของผู้ทต่ี อบแบบสอบถาม ของอาสายวุ กาชาดนอกโรงเรยี น รายการ ผ้ตู อบแบบสอบถาม จานวน (N = 60) รอ้ ยละ 1. เพศ 1.1 ชาย 21 35.00 1.2 หญิง 39 65.00 2. อายุ -- 2.1 อายนุ อ้ ยกว่า 15 ปี 49 85.00 2.2 อายุ 15 – 20 ปี 9 15.00 2.3 อายุ 21 – 25 ปี -- 2.4 อายมุ ากกว่า 25 ปี 15 25.00 3. ประสบการณ์ในการร่วมกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียนกบั 45 75.00 สถานศึกษา -- 3.1 นอ้ ยกวา่ 20 ชั่วโมงตอ่ ปี 3.2 20 ชว่ั โมงต่อปี ขึน้ ไป 3.3 ไม่เคยเข้าร่วมกิจกรรม จากตาราง 7 พบว่า นักศึกษาส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 65.00 ส่วนใหญ่มีอายุ ระหว่าง 15 - 20 ปี คิดเป็นร้อยละ 85.00 และมีประสบการณ์ในการร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กบั สถานศกึ ษา 20 ชั่วโมงต่อปี ขึน้ ไป คิดเป็นรอ้ ยละ 75.00
66 ตาราง 8 ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานแนวทางการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกจิ กรรมพัฒนาทกั ษะชวี ติ ด้านผลผลติ สาหรบั อาสายุวกาชาดนอกโรงเรยี น ขอ้ ท่ี ด้านผลผลติ สาหรบั นกั ศกึ ษา ระดับความ ความหมาย (Product) เหมาะสม มากที่สดุ 1 สถานศกึ ษาจัดกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน ดา้ นกิจกรรม μ มากที่สุด พัฒนาทกั ษะชวี ิตที่มคี วามเหมาะสม และ สอดคลอ้ งกบั ความต้องการและศักยภาพของ 4.63 0.59 มากท่สี ดุ อาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน มากที่สุด 4.50 0.61 2 สถานศกึ ษาสามารถจัดกจิ กรรมและมีเคร่ืองมือ มากทส่ี ุด สื่อครุภัณฑ์ อปุ กรณ์ แหล่งเรียนรู้ เพ่อื จัดกจิ กรรม 4.73 0.51 มากทส่ี ุด การเรียนรู้ 4.67 0.52 มากทส่ี ุด 3 ครมู คี วามรู้ความเข้าใจ และสามารถจดั กจิ กรรม 4.77 0.62 ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 4.70 0.52 มากที่สุด มากท่ีสุด 4 การเสรมิ สร้างทักษะชวี ิตสามารถสร้างภมู คิ ้มุ กนั 4.70 0.62 มากที่สุด ผ้เู รียนในการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหายาเสพตดิ มากที่สดุ เพศศึกษา และการดแู ลผูส้ งู อายุได้ 4.67 0.67 4.63 0.63 5 การเสรมิ สร้างทักษะชีวติ สามารถสง่ เสรมิ การ 4.83 0.64 เรยี นร้เู พศศึกษากบั ผเู้ รียนได้ 4.67 0.84 6 ผเู้ รยี นได้รับการเสรมิ สร้างคุณธรรม จรยิ ธรรมจาก กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน ด้านกิจกรรม พัฒนาทกั ษะชีวติ 7 ผลการเสริมสรา้ งทักษะชวี ติ สามารถสง่ เสรมิ คณุ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ใหก้ ับผเู้ รยี นได้ 8 ผลการเสริมสรา้ งทักษะการดูแลผสู้ งู อายกุ ับ อาสายวุ กาชาดนอกโรงเรียนได้ 9 ผลการเสรมิ สรา้ งทักษะชีวิตสามารถสง่ เสริม ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของผู้เรยี นได้ 10 ผลการเสรมิ สร้างทกั ษะชีวติ สามารถส่งเสริม สุขภาพกาย – จติ ของผ้เู รียนได้ 11 ผลการเสรมิ สร้างทกั ษะชวี ติ สามารถส่งเสรมิ ประชาธิปไตยและความเปน็ พลเมืองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ เ์ ป็นประมุข ของผูเ้ รยี น
67 ตาราง 8 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานแนวทางการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ดา้ นกจิ กรรมพัฒนาทกั ษะชวี ิต ดา้ นผลผลิตสาหรับอาสายวุ กาชาดนอกโรงเรยี น (ตอ่ ) ข้อที่ ด้านผลผลิตสาหรับนกั ศึกษา ระดบั ความ ความหมาย (Product) เหมาะสม มากท่ีสุด มากทส่ี ุด 12 ผลการเสรมิ สร้างทกั ษะชีวิตอื่น ๆ ตามความ μ ต้องการและและความสนใจของผูเ้ รียน มากที่สุด 4.70 0.47 13 อาสายวุ กาชาดนอกโรงเรยี นมีความรู้ ทกั ษะ และ 4.73 0.57 มากทส่ี ดุ เจตคติทดี่ ีในการเรยี นรแู้ ละรว่ มกจิ กรรมพัฒนา มากท่ีสุด ผู้เรยี น ดา้ นกจิ กรรมพัฒนาทักษะชวี ติ 4.77 0.56 มากทสี่ ดุ 14 อาสายวุ กาชาดนอกโรงเรียนได้นาความรจู้ าก 4.87 0.54 มากที่สุด กจิ กรรมเสริมสร้างทกั ษะชวี ิตไปใช้ในการเรียนวชิ า 4.70 0.63 มากท่สี ดุ อื่น หรอื เน้ือหาอืน่ ๆ มากทส่ี ุด 4.73 0.58 15 อาสายวุ กาชาดนอกโรงเรยี นไดน้ ากิจกรรม 4.80 0.57 มากท่สี ดุ เสรมิ สรา้ งทักษะชวี ิตไปใช้ในชีวติ ประจาวนั 4.77 0.59 4.79 0.58 16 สถานศกึ ษา มกี ารนาข้อเสนอแนะของผูเ้ รยี นไป ปรับปรุง พัฒนาการดาเนินงานกจิ กรรมพัฒนา 4.72 0.59 ผเู้ รยี น 17 ผู้เรยี นสามารถนาทักษะชวี ิตมาปรบั ตัวในสังคมได้ 18 ผู้เรียนภูมิใจวา่ ตนเองเปน็ ผ้มู ีทักษะชีวิตดี สามารถ อยใู่ นสงั คมได้อยา่ งมคี วามสขุ 19 ผ้เู รยี นเห็นความสาคัญของกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะวา่ เปน็ สง่ิ จาเปน็ 20 อาสายุวกาชาดนอกโรงเรียนสามารถนาความรู้ท่ี ไดจ้ ากกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น ด้านกิจกรรมทักษะ ชวี ิตไปถ่ายทอดแก่ผู้อื่นต่อไป รวม จากตารางที่ 8 พบว่าค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานแนวทางการดาเนินงานกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต ด้านผลผลิตสาหรับอาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน ในภาพรวมอยู่ในระดับ มากท่ีสุด (μ = 4.72, = 0.59) เม่ือพิจารณาโดยเรียงจากค่าเฉล่ียระดับ ความเหมาะสมสูงสุด 3 อันดับ พบว่า อันดับแรก คือ ข้อที่ 15 อาสายุวกาชาดนอกโรงเรียนได้นา กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิตไปใช้ในชีวิตประจาวัน อยู่ในระดับ มากท่ีสุด (μ = 4.87, = 0.54) รองลงมาคือ ข้อท่ี 10 ผลการเสริมสร้างทักษะชีวิตสามารถส่งเสริมสุขภาพกาย – จิต ของผู้เรียนได้ อยู่ในระดับมากท่ีสุด (μ = 4.83, = 0.64) และ
68 ข้อที่ 18 ผู้เรียนภูมิใจว่าตนเองเป็นผู้มีทักษะชีวิตดี สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข อยู่ในระดับ มากท่ีสุด (μ = 4.80, = 0.41) ตามลาดับ ส่วนข้อที่มีค่าเฉล่ียต่าสุด คือ ข้อท่ี 2 สถานศึกษา สามารถจัดกิจกรรมและมีเคร่ืองมือ ส่ือ ครุภัณฑ์ อุปกรณ์ แหล่งเรียนรู้ เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้ อยใู่ นระดับมากที่สุด (μ = 4.50, = 0.61) จากแบบสอบถามการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต ในภาพรวมทงั้ 4 ด้านดงั นี้ ตาราง 9 ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานแนวทางการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ดา้ นกจิ กรรมพฒั นาทกั ษะชีวติ ในภาพรวมทัง้ 4 ดา้ น ข้อท่ี ภาพรวมทั้ง 4 ดา้ น ระดับความเห็น ความหมาย (CIPP Model) μ มากที่สุด 1 ดา้ นบริบท (Context) มากทีส่ ดุ 4.52 0.71 มากทส่ี ุด 2 ด้านปัจจยั นาเข้า (Input) 4.58 0.71 4.56 0.67 3 ดา้ นกระบวนการ (Process) 4 ด้านผลผลติ (Poduct) 4.1 สาหรับครแู ละบุคลากรทางการศึกษา 4.58 0.63 มากที่สดุ 4.72 0.59 มากทส่ี ุด 4.2 สาหรับอาสายุวกาชาดนอกโรงเรยี น 4.65 0.61 มากที่สดุ 4.58 0.68 มากท่ีสุด รวมด้านผลผลิต (Poduct) โดยรวม จากตาราง 9 พบว่าค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานแนวทางการดาเนินงานกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต ในภาพรวมท้ัง 4 ด้าน โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (μ = 4.58, = 0.68) เมื่อพิจารณาโดยเรียงจากค่าเฉลี่ยระดับความเหมาะสมสูงสุด 3 อันดับพบว่า อันดับแรก คือ ด้านผลผลิตโดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด (μ = 4.65, = 0.61) รองลงมา คือ ปัจจัยนาเจ้าโดยรวม อยู่ในระดับมากท่ีสุด (μ = 4.58 , = 0.71) และด้านกระบวนการโดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด (μ = 4.56, = 0.67) ตามลาดับ ส่วนรายข้อท่ีมีค่าเฉล่ียต่าสุด คือ ดา้ นบริบทโดยรวมอยใู่ นระดบั มากท่สี ุด (μ = 4.52, = 0.71) สรุปปัญหาอุปสรรคและแนวทางพัฒนาการดาเนินงานของแนวทางการดาเนินงานกิจกรรม พัฒนาผู้เรียนด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต กรณีศึกษาอาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน ศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอปง จาแนกเป็นรายด้านทั้ง 4 ด้าน คือ ด้าน บริบท ด้านปจั จัยนาเข้า ดา้ นกระบวนการและ ด้านผลผลิต ปรากฏดังนี้
69 ดา้ นบริบท (Context) สถานศึกษามีที่ต้ังอยู่บนถนนขุนยม ในเขตชุมชนบ้านดู่ และมีเน้ือท่ีประมาณ 3 ไร่เศษ ด้านหลังบริเวณสานักงานติดกับลาน้ายม มีหอประชุมพร้อมให้การอบรมกับนักศึกษาในลักษณะ เช้าไปเย็นกลับ และเนื่องจาก อยใู่ กล้โรงเรยี นบ้านดู่ สภาพแวดล้อมใกล้ชุมชนจึงไมเ่ หมาะกบั ในการ ทากิจกรรมที่ใช้เสียงดังในเวลากลางคืนประกอบกับนักศึกษาบางส่วนชอบหนีค่ายกลับบ้าน ในเวลากลางคืน โดยไม่ขออนุญาตอาจทาให้เกิดอันตราย ในการเดินทาง ยากแก่การควบคุมดูแล จึงได้หารือและนานักศึกษาไปจัดอบรมค่ายแบบค้างคืน 3 วัน 2 คืน ณ กศน.ตาบลนาปรัง ซ่ึงมี อาคารเรียน จานวน 1 หลัง และหอประชุม จานวน 1 หลัง เพ่ือจัดเป็นที่พักแรมประกอบกับ มสี ถานท่จี ัดเตรียมกิจกรรมฐานการเรยี นรูต้ า่ ง ๆ ได้ดว้ ย ปัญหาอุปสรรคด้านบริบทคือในระหว่างการอบรมเป็นช่วงเดือนกันยายน ซ่ึงเป็นช่วงฤดูฝน มีฝนตกลงมาตลอดทั้งวันเป็นอุปสรรคในการจัดกิจกรรมกลางแจ้งทาให้ ต้องปรับสถานท่ีจัดกิจกรรม การเข้าฐานการเรียนรู้ต่าง ๆ ในตัวอาคารหรือในเต็นท์ ควรมีการประชุมเตรียมความพร้อม กอ่ นการอบรมระหว่างผู้บริหารและคณะทางาน อย่างน้อย 2 ครงั้ ควรมีการปรับปรุงหลักสูตรอาสา ยุวกาชาดให้ทันสมัยเพื่อท่ีจะทาให้อาสายุวกาชาด มีความสนใจในกิจกรรมอาสายุวกาชาด เพ่ิมขึ้น มกี ารจัดบุคลากรให้มคี วามเหมาะสมกบั จานวนอาสายุวกาชาด ดา้ นปัจจัยนาเข้า (Input) 1) ด้านบุคลากร (MAN) ครูมีความกระตือรือร้นในการดาเนินกิจกรรม ได้รับนโยบายจาก ต้นสังกัดและนาสู่การปฏิบัติแต่ยังมีบุคลากรบางส่วนยังไม่ผ่านการอบรมวิทยากรให้ความรู้เรื่อง อาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน ครูทุ่มเทเสียสละในการเข้าร่วมจัดกิจกรรมในคร้ังนี้ ต่อไปควรมีการ ส่งบุคลากรเข้ารับการอบรมความรู้การเป็นวิทยากรอาสายุวกาชาดเพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ทักษะและความชานาญในการจดั กจิ กรรมในโอกาสต่อไป 2) ด้านงบประมาณ (Money) ในการอบรมครั้งน้ีได้ใช้งบประมาณจากต้นสังกัด สานักงาน กศน. จัดสรรเพ่ือดาเนินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แต่มีข้อจากัดของสถานศึกษา (กศน.อาเภอ) ไม่สามารถ จัดซ้ืออุปกรณ์ที่ทันสมัยและเหมาะสม ในการฝึกปฏิบัติและการทากิจกรรมนาเสนอได้ เนื่องจากเป็น ครุภัณฑ์ เช่น เครื่องโปรเจคเตอร์ หุ่นฝึกการปฐมพยาบาล เพื่อให้ผู้เรียนได้เข้าใจท่ัวถึงกันและ ยังได้รับงบประมาณสนับสนุนจากสานักงานยุวกาชาดสภากาชาดไทย เป็นเงิน 4,000 บาท ในการจัดกิจกรรมอีกดว้ ย 3) ด้านส่ือวัสดุอุปกรณ์ (Material) ได้รับการสนับสนุนจากสานักงานยุวกาชาดสภากาชาดไทย มอบเอกสาร ได้แก่ สมุดคู่มือการอบรมอาสายุวกาชาด ส่ือประกอบการอบรม เช่น แผ่น CD เพลง และตัวอย่างเนื้อหาความรู้ต่าง ๆ ในการอบรมอาสายุวกาชาด ส่วนวัสดุอุปกรณ์บางส่วน เช่น ท่ีใช้ในการจดั กิจกรรมต้องหาซื้อจากร้านค้าหรือปรบั เปลี่ยนกิจกรรมให้เหมาะสมกับสภาพบรบิ ทของพ้ืนท่ี 4) ด้านการบริหารจัดการ (Management) ด้านการบริหารจัดการควรมีการกาหนดบทบาท หน้าท่ีความรับผิดชอบในแต่ละกิจกรรมอย่างชัดเจนการบริหารเวลาและเทคโนโลยี การจัดสรรเวลา ใหเ้ หมาะสมกับแต่ละกจิ กรรมไม่ควรมากหรอื น้อยจนเกนิ ไป
70 ด้านกระบวนการ (Process) ก่อนการเร่ิมการอบรมได้มีการวางแผน ตามหลักการทางานตามวงจรคุณภาพของเดม่ิง (The Deming Cycle) PDCA ประชุมช้ีแจงทาความเข้าใจกับคณะครู วิทยากร เพื่อมอบหมายงาน ในหน้าที่ความรับผิดชอบ เพื่อเตรียมสถานท่ี วัสดุอุปกรณ์ การเดินทาง อาหาร และการดูแล ความปลอดภัยต่างๆ ตลอดการอบรม และมีการประชุมร่วมกับคณะทางานเพื่อสรุปการจัดกิจกรรม ในแต่ละวันและวางแผน เตรยี มความพร้อมในวนั ถดั ไปอกี ด้วย ด้านผลผลิต (Product) นักศึกษาที่เข้ารับการอบรมจะได้รับความรู้ สามารถเรียนรู้ด้วยกิจกรรมการฝึกปฏิบัติจริง เช่น การปฐมพยาบาล ได้ฝึกความกล้าแสดงออก และความคิดสร้างสรรค์ในการทากิจกรรม ได้ฝึกการอยู่ร่วมกัน และการทางานร่วมกัน เห็นอกเห็นใจ ช่วยเหลือเก้ือกูลกัน มีความสามัคคีมากข้ึน ส่งผลให้เป็นคนดี มคี วามรู้ และสามารถอยู่ร่วมกันในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข ข้อเสนอแนะ เพื่อเสนอแนะปัญหา อุปสรรค และแนวทางการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียนด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต กรณีศึกษาอาสายุวกาชาดนอกโรงเรียนศูนย์การศึกษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอปง การสนทนากลมุ่ (Focus Group) การสนทนากลุ่ม เรื่อง แนวทางการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนา ทกั ษะชีวิต กรณศี ึกษาสภาพและการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพฒั นาทักษะชีวิต กรณศี ึกษาอาสายุวกาชาดนอกโรงเรยี นศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอปง วันจันทรท์ ่ี ๑ เดอื น กุมภาพนั ธ์พ.ศ. 256๔ เวลา 13.00 – 15.30 น. ประเดน็ ในการสนทนากลุ่ม 1. การดาเนินงาน 2. ปญั หา อุปสรรค 3. แนวทางพัฒนาการดาเนนิ งาน 4. ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ 5. สรปุ ผลการสนทนากลมุ่ การดาเนินงาน กิจกรรมอาสายุวกาชาด เป็นกิจกรรมท่ีมุ่งปลูกฝังผู้เรียนของสานักงาน กศน. ด้านคุณธรรม จริยธรรม ให้มีความรู้และความเข้าใจในหลักการ อุดมการณ์ของกาชาดในด้านมนุษยธรรม การดูแล สุขภาพของตนเองและผู้อ่ืน รวมท้ังมีจิตอาสาในการช่วยเหลือผู้อื่นและบริการชุมชน ดังน้ัน การท่ีจะ สง่ เสรมิ และพัฒนาผู้เรียน ให้เปน็ คนดีมีคุณธรรม จรยิ ธรรม ตามค่านิยมหลกั 12 ประการของคนไทย อีกทงั้ เป็นคนดขี องครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติ สถานศึกษาสังกัดสานกั งาน กศน. สถานศกึ ษาจึงจัด กจิ กรรมอาสายุวกาชาด หลักสูตรพื้นฐานยวุ กาชาด โดยมีวัตถุประสงค์ ดงั น้ี 1 เพ่อื เปน็ การเผยแพร่อุดมการณ์ของกาชาดและยุวกาชาด 2 เพื่อให้ผู้เรยี นมีความรู้ ความเขา้ ใจในเร่ืองของการกาชาดและยุวกาชาด ตลอดจน การดารงชีวิตทง้ั ในปัจจบุ ันและอนาคต 3 เพอ่ื เสริมสร้างความศรัทธาและเจตคติที่ดีต่อการกาชาดและยวุ กาชาด
71 4 เพอ่ื ให้ผเู้ รยี นตระหนกั ถึงหน้าทค่ี วามรับผิดชอบทจ่ี ะช่วยเหลอื สงั คมสว่ นรวม มคี ุณธรรมเปน็ คนดขี องสงั คม ตารางการฝกึ อบรมมี 6 แบบ คอื แบบท่ี 1 ตารางอบรมแบบคา่ ยพกั แรม 2 วัน 1 คนื แบบที่ 2 ตารางอบรมแบบคา่ ยพกั แรม 3 วัน 2 คืน แบบท่ี 3 ตารางอบรมแบบคา่ ยพกั แรม 4 วัน 3 คืน แบบที่ 4 ตารางแบบคา่ ยกลางวนั 2 วัน แบบท่ี 5 ตารางแบบค่ายกลางวนั 3 วนั แบบที่ 6 ตารางแบบค่ายกลางวนั 4 วนั เมื่อขอจัดตั้งชมรมฯ เรียบร้อยแลว้ คณะกรรมการที่ปรึกษาชมรมฯ ประชุมหารือวางแผนจัด โครงการอบรม มีกลุ่มเป้าหมายเข้ารบั การอบรม 60 คน ซึง่ เป็นผู้เรยี นของสถานศกึ ษา อายุระหว่าง 15-25 ปี ทง้ั เพศชายและหญงิ โดยดาเนินการแบ่งเปน็ 3 ระยะ ดังน้ี ระยะท่ี 1 การดาเนนิ การกอ่ นจัดค่ายอบรมอาสายุวกาชาด ระยะที่ 2 การดาเนนิ การระหวา่ งจดั ค่ายอบรมอาสายวุ กาชาด ระยะที่ 3 การดาเนินการหลังเสรจ็ สิ้นค่ายอบรมอาสายุวกาชาด การดาเนนิ การก่อนจดั ค่ายอบรมอาสายวุ กาชาด 1. เขียนโครงการ เสนอผู้มีอานาจอนุมัติ โดยระบุเหตุผลความจาเป็น ความต้องการจัดการอบรม อาจเป็นนโยบายของหน่วยงาน สถานศึกษา หรือความต้องการของชุมชน ที่จะให้ผู้เรียน ในสถานศึกษาน้ัน ได้ใช้กิจกรรมยุวกาชาดปลูกฝัง กล่อมเกลาให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าความสาคัญของตนเอง เพื่อจะเป็นกาลังสาคัญในการพัฒนาชุมชนน้ันๆ มีรายละเอียดของโครงการ ซ่ึงประกอบด้วย วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย ระยะเวลาการอบรมสถานที่อบรม เน้ือหากิจกรรมในการอบรม วธิ ีดาเนนิ การ แหลง่ วทิ ยากร งบประมาณ ผลทคี่ าดว่าจะไดร้ ับ การประเมินผล ผูร้ ับผิดชอบโครงการ กจิ กรรมหรือโครงการต่อเนือ่ งหลงั จากจัดอบรม 2. เตรยี มรายชื่อคณะกรรมการฝึกอบรม ประกอบด้วยบุคคลซึง่ ทาหนา้ ท่ี ดงั น้ี 2.1 ทป่ี รึกษา 2.2 ผอู้ านวยการฝกึ อบรม 2.3 รองผูอ้ านวยการฝกึ อบรม 2.4 ฝ่ายวชิ าการ-วัดผลและประเมินผล 2.5 ฝ่ายกิจกรรม-นันทนาการ 2.6 ฝ่ายสวัสดิการ-อาหาร 2.7 ฝ่ายสถานที่-อปุ กรณ์ 2.8 ฝา่ ยเลขานกุ าร 2.9 ฝา่ ยอืน่ ๆ 3. เสนอโครงการฝึกอบรมและรายช่ือคณะกรรมการ เพ่ือขออนุมัตไิ ปยังผู้มีอานาจอนุมัติ 4. ทาหนังสือขออนุญาตต้นสังกัด ของคณะกรรมการฝึกอบรม เพื่อขอความร่วมมือให้ บคุ ลากรมารว่ มเป็นคณะกรรมการ หรือวิทยากรฝกึ อบรม
72 5. การขอรับสนับสนุน เสนอโครงการฝึกอบรมท่ีได้รับการอนมุ ัติแลว้ ไปยังแหล่งสนับสนุน เช่น 5.1 หน่วยงานต้นสังกดั 5.2 ผอู้ านวยการสานักงานยุวกาชาด สภากาชาดไทย 5.3 นายกเหลา่ กาชาดจังหวัด ก่ิงกาชาดอาเภอ สถานีกาชาด 5.4 พฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์ 5.5 สมาคม องค์กรการกศุ ล สโมสร 5.6 ธนาคาร ห้างร้านในท้องถ่ิน 5.7 ผมู้ จี ติ กศุ ล 6. ทาหนังสือเชิญ หรอื แจ้งไปยังหน่วยงาน องค์กร หรือบุคคลท่ีเก่ียวข้อง โดยแนบโครงการอบรม คาสั่งแต่งตั้ง คณะกรรมการฝึกอบรม กาหนดวัน เวลา สถานที่ ในกรณีท่ีมีการประชุมปรึกษาเพ่ือ เตรียมงานกอ่ นการอบรม 7. ประชาสัมพันธ์โครงการอบรมไปยังสื่อมวลชน เช่น วทิ ยุ โทรทัศน์ หรือหนังสือพิมพ์ทอ้ งถิ่น เพ่ือเสนอข่าวการจัดอบรม แจ้งวัตถุประสงค์การจัดอบรม กาหนดการ สถานท่ี ตลอดจนคาชี้แจง การรับสมัคร เพื่อการเตรียมตัวเข้าร่วมโครงการอบรม จัดทาป้ายประชาสัมพันธ์ตามสถานที่ต่างๆ เชน่ ดา้ นหน้าหน่วยงานทีจ่ ัด ทางเขา้ สถานทจ่ี ัดอบรม เปน็ ต้น 8. จัดทาเอกสารประกอบการอบรม สาหรับผู้เข้ารับการอบรมและคณะกรรมการฝึกอบรม โดยมีเนอ้ื หาสาระประกอบด้วย 8.1 คาแถลงสภากาชาดไทย 8.2 วตั ถปุ ระสงค์ยุวกาชาด 8.3 คาปฏิญาณตนยวุ กาชาด 8.4 หลกั ปฏบิ ัตใิ นการอยคู่ ่ายพักแรม 8.5 กาหนดเวลากจิ กรรมประจาวัน 8.6 สัญญาณนกหวีด 8.7 หนา้ ทห่ี น่วยบริการ 8.8 หลกั เกณฑก์ ารตัดสนิ การอบรม 8.9 แบบวัดผลผูเ้ ขา้ รบั การอบรม 8.10 เพลงพธิ กี าร 8.11 เพลงประกอบบทเรยี น 8.12 เพลงเบ็ดเตลด็ 8.13 เนื้อหาวชิ าในการอบรม (พิจารณาตามความเหมาะสม) 9. จัดหาอุปกรณ์สาหรับการอบรม ประสานงานกับสถานศึกษา หน่วยงาน องค์กรต่างๆ ซึ่งอปุ กรณท์ จี่ าเปน็ มดี งั ต่อไปนี้ 9.1 พระบรมฉายาลักษณ์ หรือพระบรมสาทิสลักษณ์ของ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้า เจา้ อยู่หวั สมเด็จพระบรมราชชนนีพนั ปหี ลวง สภานายกิ าสภากาชาดไทย สมเด็จพระกนิษฐาธริ าชเจ้า กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี อปุ นายกิ าผอู้ านวยการสภากาชาดไทย 9.2 รูปภาพบุคคลสาคัญ เช่น นายอังรี ดูนังต์ ผู้ให้กาเนิดกาชาดสากล หรือภาพ ท่านผู้หญิงเปล่ียน ภาสกรวงษ์ ผูร้ เิ ริ่มการกาชาดไทย เปน็ ตน้
73 9.3 ธงชาติ และธงยุวกาชาด อย่างละ 2 ผืน 9.4 ธงมาตรฐานใหญ่ 1 ผนื และธงมาตรฐานเลก็ เท่ากบั จานวนหนว่ ยสที ีจ่ ัดอบรม 9.5 ผ้าผูกคอสี ป้ายช่ือ เคร่ืองหมายหัวหน้าหน่วย เครื่องหมายรองหัวหน้าหน่วย เครอื่ งหมายบรกิ าร 9.6 อุปกรณ์เคร่ืองเขียน และอุปกรณ์สาหรับปฏิบัติกิจกรรมยามว่าง เช่น กระดาษเทาขาว กระดาษฟลปิ ชาร์ท กระดาษโปสเตอร์ สีเมจกิ ฯลฯ 9.7 อุปกรณ์ไฟฟา้ แสงสว่าง เคร่ืองเสยี ง และเคร่ืองโสตทศั นูปกรณ์ 9.8 อปุ กรณ์เครอ่ื งนอน เคร่ืองครัว และอุปกรณพ์ ฒั นาคา่ ย 10. การประชุมคณ ะกรรมการฝึกอบรม ควรเตรียมแผนงาน วาระการประชุม เพ่ือมอบหมายภารกิจและหน้าท่ีรับผิดชอบแก่คณะกรรมการฝึกอบรม เตรียมพร้อมด้านเอกสาร การประชมุ 11. ทาหนังสือเชิญประธาน แขกผู้มีเกียรติจากหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องร่วมพิธีการสาคัญ ในการอบรม เช่นพิธเี ปดิ -ปดิ การอบรม กจิ กรรมรอบกองไฟ 12. เตรยี มคากล่าวรายงาน คากลา่ วประธาน พธิ เี ปดิ -ปิดการอบรม 13. จดั ทาป้ายงานอบรม เพื่อใช้ในหอ้ งประชุม การดาเนินการระหว่างจดั ค่ายอบรมอาสายวุ กาชาด การดาเนินการเฉพาะในส่วนนี้จะเน้นการอานวยความสะดวกด้านต่างๆ ของผู้ทาหน้าท่ี เลขานกุ ารโครงการ ดังน้ี 1. ประชุมคณะกรรมการ วิทยากรและผู้เก่ียวข้องเพื่อซักซ้อมความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ ของคณะกรรมการฝึกอบรม ผู้อานวยการฝึกอบรมเป็นประธานการประชุมกล่าวต้อนรับ แนะนาคณะ ผู้เข้าร่วม ประชุม คณะกรรมการฝึกอบรมฝ่ายต่างๆ ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการอบรมคร้ังน้ี และมอบหมายผูร้ ับผิดชอบ กิจกรรมต่างๆ เชน่ 1.1 ผู้รับรายงานตวั 1.2 พิธกี รประจาวัน 1.3 วิทยากรประจาหนว่ ยสี 1.4 วิทยากรตรวจเยี่ยม 1.5 วิทยากรนนั ทนาการ 1.6 วทิ ยากรฝกึ ระเบียบแถว และนากายบริหาร 1.7 วิทยากรประจาวิชาตา่ งๆ 1.8 วิทยากรกิจกรรมต่างๆ ตามตารางอบรม มีการประชุมวิทยากรทุกวันหลังเสร็จสิ้น กจิ กรรม ภาคบา่ ย คอื เวลา 17.00 น. โดยประมาณ 2. จัดสิ่งของเครอื่ งใช้และอุปกรณ์ สาหรับใชด้ าเนินการระหว่างการอบรม 2.1 ส่ิงของและอปุ กรณ์ที่ต้องมอบให้ผู้เขา้ รบั การอบรมในการรับรายงานตวั หรอื ปฐมนิเทศ คือ 2.1.1 ผ้าผกู คอสี กาหนดสตี ามวัน ประมาณสลี ะ 8-10 ผนื 2.1.2 ปา้ ยช่ือผเู้ ขา้ รับการอบรม
74 2.1.3 เครื่องหมายหวั หน้าหนว่ ยสแี ละรองหัวหนา้ หน่วยสี 2.1.4 เครือ่ งหมายบริการสาหรับมอบใหห้ น่วยสที ่ีทาหนา้ ท่ีบริการในแต่ละวัน ของการอบรม ควรจัดเตรียมไว้อย่างน้อย 20 อนั 2.1.5 เอกสารสาหรับผู้เข้ารับการอบรมมอบให้กับทุกคนและเตรียมไว้ให้ สาหรับวิทยากรทกุ คน 2.2 จัดสถานทีอ่ บรมและสถานทใ่ี ชร้ ว่ มกนั 2.2.1 หอ้ งประชุมอบรม จดั ห้องประชมุ สาหรบั พิธกี าร คอื 1) ในพิธีเปิดการอบรม จัดสถานท่ีหน้าเวที ประกอบด้วย ธงชาติ ธงยวุ กาชาด พระพทุ ธรูปโต๊ะหมู่บชู า พระบรมฉายาลักษณ์ หรือพระบรมสาทิสลักษณ์ของ พระบาทสมเด็จ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว จัดชดุ รับแขกสาหรับประธานและแขกผู้มเี กียรติ จัดเก้าอี้สาหรบั คณะวิทยากร ไว้ด้านหลังชุดรับแขก การจัดเก้าอี้ ผู้เข้ารับการอบรมให้จัดเป็นแถวตอนลึกสาหรับให้ผู้เข้ารับการ อบรมน่ังเปน็ หน่วยสี 2) ในพิธีปิดการอบรม จดั สถานที่เช่นเดยี วกับในพิธีเปิดการอบรม 2.2.2 สถานที่พักสาหรับผู้เข้ารบั การอบรม ให้แยกชาย–หญิง พักเป็นสัดส่วน หน่วยสเี ดยี วกันให้พักรวมกัน อาจพักในตวั อาคารหรือกางเตน็ ท์พักแรม ให้พจิ ารณาตามความเหมาะสม 2.2.3 สถานที่รับประทานอาหาร ในกรณีให้ประกอบอาหารเองควรจัด สถานท่ีให้เป็นสัดส่วนแยกตามหน่วยสี หากจัดอาหารให้ควรมีสถานท่ีรับประทานอาหารร่วมกันเป็น หนว่ ยสี และใหต้ วั แทนหนว่ ยสีดแู ลรักษาภาชนะใส่อาหารให้สะอาดเรยี บร้อยและเปน็ ระเบยี บ 2.3 วุฒิบัตรสาหรับผสู้ าเรจ็ การอบรม สานกั งานยวุ กาชาด สภากาชาดไทย เปน็ ผอู้ อกให้ ดังน้ันเลขานุการโครงการอบรม หรือผู้ได้รับมอบหมายจะต้องจัดพิมพ์ ชื่อ-นามสกุล เลขท่ีรุ่นของ การอบรม ระยะเวลาอบรม โดยมีผู้อานวยการฝึกอบรม ผู้อานวยการหน่วยงาน สถานศึกษา นายกยวุ กาชาดจังหวดั หรอื นายกเหลา่ กาชาดจงั หวัด เปน็ ผลู้ งนามในวฒุ ิบัตร ตามความเหมาะสม 2.4 บอร์ดกิจกรรม ให้มีรายชื่อคณะกรรมการฝึกอบรม ตารางการอบรม ตาราง กิจกรรมประจาวัน ตารางคะแนนกิจกรรมประจาวัน คาปฏิญาณตนยุวกาชาด วัตถุประสงค์ของ ยวุ กาชาดสากล ติดไว้ในสถานทีท่ ผ่ี ู้เข้ารับการอบรมเหน็ ไดช้ ดั เจน 2.5 ป้ายชื่อวทิ ยากรผู้บรรยายวิชาหรือกิจกรรมในระหว่างการอบรม ควรจัดเตรียม ใหพ้ ร้อมและตดิ ตงั้ หรอื วางไว้ใหเ้ ห็นได้ชัดเจน 3. แบบวัดผลและประเมินผล 3.1 แบบวัดผล จัดทาแบบวัดผลโดยจัดรวมไวใ้ นเอกสารประกอบการอบรม หรือจะ แยกไว้เพ่อื ใช้วดั ผลตามเกณฑ์ทีก่ าหนดไว้ คือ การวดั ผลเปน็ รายบุคคล และการวดั ผลระบบหน่วยสี 3.2 แบบประเมินผล จัดทาแบบประเมินผลโดยพิจารณาตามความเหมาะสมหรือ ใช้แบบการประเมินผลผู้เข้ารับการอบรม และรวบรวมผลการประเมิน รายงานผู้บังคับบัญชา ตามลาดบั พร้อมท้งั ส่งไปยงั สานักงานยุวกาชาด สภากาชาดไทย ภายใน 15 วนั หลังเสรจ็ สิน้ การอบรม 4. เตรียมพร้อมด้านยานพาหนะ เพ่ืออานวยความสะดวกตลอดการอบรม รับส่งวิทยากร ภายนอก และใชใ้ นกรณีเกิดเหตฉุ กุ เฉิน
75 5. การบรหิ ารงบประมาณ 5.1 การรับเงิน ท่ีได้มาจากการสนับสนุนของสานักงานยุวกาชาด สภากาชาดไทย เหล่ากาชาดจังหวัด ผู้มีจิตศรัทธาบริจาค ผู้บังคับบัญชาและรายได้อ่ืนๆ ทั้งหมดต้องออกใบเสร็จทุกคร้ัง ที่ได้รับเงิน โดยใช้ใบเสร็จรับเงินในราชการของส่วนราชการระดับกรม กรณีรับเงินสนับสนุนจาก สานักงานยุวกาชาด สภากาชาดไทยให้ออกใบเสร็จรับเงินในนาม “สานักงานยุวกาชาด” และส่งใบเสร็จ รับเงินไปยังสานักงานยุวกาชาด สภากาชาดไทย ภายใน 15 วัน นับจากวันออกใบเสร็จรับเงิน และใหน้ าเงนิ สนบั สนนุ ฝากคลังท้ังหมด โดยดาเนนิ การดังน้ี 5.1.1 กรณีส่วนราชการผู้รับเงินเป็นหน่วยงานเบิก ให้เปิดบัญชีเงินฝากคลัง สาหรับเงินทไี่ ดร้ บั การสนับสนนุ เพยี งหนงึ่ บญั ชี ชื่อบญั ชี “เงนิ สนับสนุนกิจกรรมอาสายุวกาชาด” และ ให้จดั ทาทะเบยี นคุม 5.1.2 กรณีหนว่ ยงานยอ่ ยเป็นผู้รบั เงนิ ใหน้ าฝากในนามหน่วยงานผู้เบิก ที่ตนสงั กดั 5.2 การรับ-จ่ายเงิน การเบิกเงินจากคลัง การนาเงินส่งคลัง และการเก็บรักษาเงิน และหลักฐานการจา่ ย ให้ถอื ปฏิบัติตามระเบียบการเบิกจ่ายเงนิ จากคลงั การเก็บรกั ษาเงิน และการนา เงนิ ส่งคลงั พ.ศ.2551 5.3 การจัดซอื้ -จดั จ้าง ให้ถอื ปฏบิ ตั ิตามระเบียบวา่ ด้วยการพัสดขุ องทางราชการ 5.4 การบญั ชใี หป้ ฏบิ ัติตามวธิ กี ารบันทกึ รายการบัญชที ่กี รมบัญชกี ลางกาหนด 5.5 กรณีหน่วยงานย่อยเป็นผู้ดาเนินโครงการ เม่ือได้มีการใช้จ่ายเงินไปแล้วให้ หน่วยงานย่อยจัดทารายงานการรับ-จ่ายเงิน ส่งให้หน่วยงานผู้เบิกท่ีสังกัดพร้อมหลักฐานใบสาคัญ ต้นฉบับ เพอ่ื ดาเนนิ การบนั ทกึ บัญชตี ่อไป 5.6 เมื่อดาเนินงานในแต่ละโครงการได้เสร็จส้ินลง ให้นาเงินท่ีเหลือจ่ายในแต่ละ โครงการส่งคลงั เปน็ รายได้แผ่นดินประเภทรายไดเ้ บด็ เตลด็ อนื่ 6. รวบรวมส่ิงของเครือ่ งใช้ เชน่ ผ้าผกู คอสี เครอื่ งหมายต่างๆ เครือ่ งนอน เครอ่ื งครวั เครอื่ งเขียน คืนจากทกุ หน่วยสเี ม่ือเสรจ็ การอบรม (ก่อนพธิ ีปิดการอบรม) การดาเนินการหลังเสรจ็ สน้ิ คา่ ยอบรมอาสายุวกาชาด 1. นาสง่ิ ของและอปุ กรณส์ ่งคืนหนว่ ยงานทใี่ ห้ยมื ใช้ระหว่างการอบรม 2. ทาหนังสือขอบคณุ บคุ ลากรและหนว่ ยงานที่ให้การสนับสนุนการจดั อบรม 3. รวบรวมหลกั ฐาน ใบสาคัญค่าใช้จา่ ยเสนอผู้บริหารสถานศึกษา และหน่วยงานทีส่ นับสนุน งบประมาณการจัดอบรม 4. ประชมุ สรุปผลการอบรม และรายงานการอบรมไปยงั หน่วยงานท่ีเกีย่ วขอ้ ง 5. รายงานผลการอบรม พร้อมภาพกิจกรรมไปยังสานักงานยุวกาชาด สภากาชาดไทย และ สานักงาน กศน.จงั หวัด/กทม. ภายใน 15 วัน หลังเสรจ็ สิ้นการอบรม 6. รวบรวมเอกสารการอบรม ภาพกิจกรรมจัดทาเป็นรูปเล่มเพื่อใช้ประโยชน์ในการศึกษา ค้นคว้า ควรมีข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้จัดอบรม เพ่ือเป็นข้อมูลการจัดอบรมหรือการจัด กจิ กรรมต่อเนื่องในคร้ังตอ่ ไป
76 ปญั หา อปุ สรรค ปัญหา อุปสรรคดาเนินงานการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะ ชีวิต กรณีศึกษาอาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอปง ในระหว่างการอบรมเป็นช่วงเดือนกันยายน ซ่ึงเป็นช่วงฤดูฝนมีฝนตกลงมาตลอดท้ังวัน เป็นอุปสรรคในการจดั กจิ กรรมกลางแจง้ ทาใหต้ อ้ งปรับสถานที่จัดกจิ กรรม บุคลากรบางสว่ นยงั ไม่ผ่าน การอบรมวิทยากรให้ความรู้เร่ืองอาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน ทาให้ขาดความม่ันใจและความแม่นยา ในการจดั กิจกรรม มีข้อจากัดของสถานศึกษา (กศน.อาเภอ) ไม่สามารถจดั ซอื้ อปุ กรณ์ทท่ี ันสมัยและ เหมาะสม ในการฝกึ ปฏิบัติและการทากจิ กรรมนาเสนอได้ เน่ืองจากเป็นครุภณั ฑ์ แนวทางพฒั นาการดาเนินงาน สถานศึกษา มีการประชุมระหว่างผู้บริหาร ครูและบุคลากร เพ่ือวางแผน หาแนวทาง ในการจัดกิจกรรมอาสายุวกาชาด เพื่อหากิจกรรมท่ีหลากหลาย พัฒนาบุคลิกภาพ ความเสียสละ ความสามัคคี ควบคู่ไปกับการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ดาเนินกิจกรรมอาสายุวกาชาดให้ตรงกับ เป้าหมาย หลักสูตรมีความหลากหลาย ทันสมัยเข้ากับสถานการณ์ปัจจุบัน จัดหาส่ือ วัสดุ อุปกรณ์ ท่ีทันสมัยฝึกปฏิบัติได้จริง จัดหาวิทยากรท่ีมีความชานาญตามกิจกรรมของหลักสูตร โดยประสาน ขอรบั การสนบั สนนุ จากภาคีเครอื ขา่ ย ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอ ในฐานะเป็นสถานศึกษาท่ใี หก้ าร อบรมนักศึกษา ควรมีการปรับปรุงหลักสูตรอาสายุวกาชาดให้ทันสมัย ตรงกับความสนใจผู้เรียนมากยิ่งขึ้น และเข้ากับสถานการณ์ปัจจุบัน เพื่อจะทาให้อาสายุวกาชาดมีความสนใจ ไม่น่าเบื่อ จัดบุคลากร เจ้าหน้าท่ี วิทยากร ให้มีความเหมาะสมกับจานวนอาสายุวกาชาดท่ีเข้ารับการอบรม จัดกิจกรรมท่ี หลากหลายทันสมัยและเหมาะสมกับวัย เพ่ือให้อาสายุวกาชาดมีส่วนร่วมและสามารถนาไปใช้ ในชีวิตประจาวันได้ มีสื่อการเรียนการสอนท่ีทันสมัยในการทากิจกรรมอย่างเหมาะสม สนับสนุน งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ และมีการบริหารจัดการให้พร้อมตลอดเวลา ขับเคล่ือนกิจกรรมที่เป็น รูปธรรม เช่น มีการประชาสัมพันธ์ ประสานงานชุมชน เพื่อให้ผู้ผ่านการอบรมได้บาเพ็ญตน ให้เป็นประโยชน์ต่อชุมชน หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ได้รู้จักและเข้าใจบทบาท หน้าท่ีอาสายุวกาชาด ศึกษาปัญหาและแนวทางการดาเนินงานการจัดกิจกรรมอบรมอาสายุวกาชาด รว่ มกัน ระหว่างผู้บริหาร ครูและบุคลากร เพอ่ื ให้กิจกรรมบรรลุตามวัตถุประสงค์อย่างมปี ระสิทธภิ าพ สูงสุดในการจัดกิจกรรมอาสายุวกาชาด ส่งเสริมสนับสนุนบุคลากรเข้าอบรมเพิ่มเติม เพ่ือแลกเปลี่ยน เรียนรู้ เกย่ี วกับความรใู้ นหลักสตู รเฉพาะ เช่น หลักสตู รการเตรียมความพร้อมภยั พบิ ัติ หลักสูตรมนุษยธรรมระหวา่ งประเทศ (IHL) ให้กับครูเพ่ือทาหนา้ ทวี่ ิทยากรให้ความรู้ เป็นการ เพ่ิมทักษะและประสบการณ์มากข้ึน จัดอบรมอาสายุวกาชาดอย่างต่อเนื่องทุกปี จัดให้มีการแข่งขัน ยกย่อง เชิดชูเกียรติ สร้างความภาคภูมิใจ เจตคติท่ีดีในการทาประโยชน์เพ่ือชุมชน และส่วนร่วม สร้างแรงจูงใจ และความกระตือรือร้นให้กับผู้เรียน การพลักดันให้ครูรวบรวมผลงานเสนอเพ่ือขอรับ เหรียญกาชาดสมนาคุณ รางวัลต่างๆที่สานักงานยุวกาชาดดาเนินการและหน่วยงานทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชนดาเนินการจัด ควรศึกษาความคิดเห็นของผู้เรียน วิทยากรและเจ้าหน้าท่ีท่ีเก่ียวข้อง
77 เก่ียวกับการจัดกิจกรรมอาสายุวกาชาดเพื่อท่ีจะได้ทราบถึงความคิดเห็นของผู้เรียนเพื่อนาไปเป็นส่วนหนึ่ง ในการพฒั นากิจกรรมในครั้งตอ่ ไป สรปุ ผลการสนทนากลมุ่ จากการสนทนาร่วมกับคณะครู วิทยากร ผู้ปกครองและอาสายุวกาชาดในการอบรมอาสา ยุวกาชาดนอกโรงเรียน กศน.อาเภอปง ทาให้ทราบถึงสภาพปัญหาและการดาเนินงานท่ีผ่านมาว่า ในอดีตผบู้ ริหารไม่ได้สนับสนนุ ใหบ้ ุคลากรเข้ารับการอบรม เพื่อเพ่มิ พูนความรู้ และประสบการณเ์ ร่ือง หลักสตู ร ข้นั ตอนวิธีการของการจดั อบรมอาสายวุ กาชาดเท่าที่ควร มีบุคลากรเพียง ๔ คนเท่านัน้ ท่ีจะ พอมีความรู้ความเข้าใจและเคยร่วมกิจกรรมกับสานักงานยุวกาชาด ทาให้ไม่มีประสบการณ์ เช่น รอ้ งเพลงไม่ถูก ท่องคาปฏิญาณตนไม่ได้ โดยได้รับความรู้พ้ืนฐานจากการอา่ นหนังสอื คู่มือการอบรม และเปิดดูไฟล์นาเสนอจากแผน่ ซีดเี ท่าน้ัน อีกทั้งผู้เข้าอบรมอาสายุวกาชาดต้องเป็นผู้ที่มีอายุระหว่าง 15 – 25 ปี จึงจะเรียกว่าอาสา ยุวกาชาด (ตามคุณสมบัติ ระเบียบการจัดต้ังชมรมอาสายุวกาชาด) ซ่ึงทาให้นักศึกษาที่เข้าร่วม กจิ กรรมส่วนมากเป็นเด็กท่ีออกกลางคันมาจากในระบบ และส่วนใหญป่ ระสบปญั หาระหวา่ งการเรยี น ในระบบ เช่น การต้งั ครรภ์ ยาเสพตดิ ติดเกม และติดเพื่อน จนต้องออกมาเรียนต่อกบั กศน. จากการอบรมพบว่านักศึกษาเมื่อมาเข้ารับการอบรมอาสายุวกาชาด หลักสูตรพ้ืนฐาน เป็นลักษณะค่ายค้างแรม 3 วัน 2 คืน ทาให้ต้องปรับตัวเข้ากับเพื่อน สถานท่ีอบรมและ ครู หรือ วทิ ยากรที่ให้ความรู้ อาจจะยังไม่กล้าแสดงออกบ้างในวันแรก ๆ ข้ึนอยู่กับความสามารถของวิทยากร ในการละลายพฤติกรรมและการสร้างความรู้จัก คุ้นเคย และปรับตัวของนักศึกษาให้กล้าแสดงออก และเข้าร่วมกิจกรรมมากข้ึน ด้วยการร่วมกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์หรือกิจกรรมสัมพันธภาพ ซ่ึงจะจัดข้ึน ในวันแรกเพ่ือเปน็ การต้อนรบั สมาชิกอาสายุวกาชาด ซึ่งเปรียบเสมือนพ่ีนอ้ งท่ีจะร่วมใจกันพัฒนาและ ดารงไว้ซง่ึ กิจกรรมกาชาดใหค้ งอยูด่ ว้ ยความร่วมใจกันดาเนินการตามหลักการกาชาด 7 ข้อ ในวนั ที่ 2 และ 3 ของการจัดอบรมจะเปน็ ช่วงของการให้ความรู้ เพ่ือสร้างอุดมการณ์และให้ ความรู้ประวัติความเป็นมา หลักการกาชาดท่ีก่อกาเนิดข้ึนทั่วโลก และกาชาดในประเทศไทย ให้กับ สมาชิกอาสายุวกาชาดทุกคน และพร้อมท้ังจัดฐานการเรียนรู้ต่าง ๆ ท่ีมีความรู้ด้านทักษะชีวิตเพ่ือ พัฒนาคุณภาพชีวิต ที่เป็นประโยชน์ต่างๆ เช่น ด้านการป้องกันยาเสพติด ด้านการดาเนินชีวิตตาม แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง การอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม การปฐมพยาบาลเบ้ืองต้น และเรื่องเพศศึกษา สาหรบั วยั รุ่น การดแู ลผู้สงู อายุ เปน็ ต้น ตลอดการอบรมจะมีกิจกรรมท่ีเน้นให้ผู้เข้ารับการอบรมได้กล้าแสดงออก มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นเพื่อฝึกการอยู่ร่วมกัน การทางานร่วมกับผู้อ่ืน รู้จักการวางแผน ฝึกการแก้ปัญหา การทางานเป็นทีม การยึดกฎกติการ่วมกัน ทุกอย่างผ่านกิจกรรมแต่ละช่วงเวลา และที่สาคัญนักศกึ ษาได้ฝึกการทาตนให้เป็นประโยชน์ตอ่ ตนเอง ครอบครวั และชมุ ชนมากขน้ึ มีความรัก สามัคคีในหมู่คณะและสถานศึกษา เช่น รว่ มกันปลูกต้นไม้ในชุมชน ร่วมกันรกั ษาความสะอาดบริเวณวัด โรงเรียนและสวนสาธารณะ
78 สรุป ครูได้รบั การยอมรับมีสมั พันธ์ภาพกับนักศึกษาต่างตาบลมากข้นึ อยากใหม้ ีการอบรมทา กิจกรรมร่วมกับสถานศึกษาและชุมชนอย่างต่อเน่ือง ผู้ปกครองอยากให้ลูกหลานมีพฤติกรรมท่ีดี มีความต้ังใจศึกษา นักศึกษาได้รับความรู้ประสบการณ์ที่หลากหลายใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ไมย่ งุ่ เกย่ี วกบั ยาเสพตดิ หลังการอบรมพบว่ามีนักศึกษาพบปะพูดคุย ส่ือสาร และชักชวนกันทากิจกรรมรว่ มกับเพ่ือน ในตาบลและต่างตาบลมากข้ึน เข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อศาสนา สถานศึกษาและ ชุมชนมากขึ้น เช่น ชมรมอาสายุวกาชาด อาสาพัฒนาวัด/ชุมชน การแห่เทียนพรรษา การอบรมค่ายลูกเสือ โครงการพัฒนาคุณภาพผเู้ รียนสู่ค่านยิ ม 12 ประการ
79 บทที่ 5 สรุปผล อภปิ ราย และข้อเสนอแนะ แนวทางการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต กรณีศึกษา อาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอปง จงั หวัดพะเยา ผู้วจิ ยั นาเสนอข้อมูลดังนี้ 1. วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจยั 2. สรปุ ผลการวจิ ยั 3. อภปิ รายผล 4. ขอ้ เสนอแนะ ๑. วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพและการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต กรณีศึกษาอาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอปง จังหวัดพะเยา 2. เพอ่ื เสนอแนวทางการพฒั นาการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น ดา้ นกิจกรรมพัฒนา ทักษะชีวิต กรณีศึกษาอาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั อาเภอปง จงั หวัดพะเยา ๒. สรปุ ผลการวิจัย ผลการศึกษาและการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต กรณีศึกษาอาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอปง จงั หวัดพะเยา 1. ผลแนวทางการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต ด้านบริบท สาหรับครูและบุคลากรทางการศึกษา พบว่า ผลการดาเนินงานในภาพรวม อยู่ในระดับ มากที่สุด เมื่อพิจารณาโดยเรียงจากค่าเฉลี่ยระดับความเหมาะสมสูงสุด 3 อันดับ พบว่า อันดับแรก คือ ข้อที่ 7 กิจกรรมสอดคล้องกับความต้องการจาเป็นในการพัฒนาการจัดการศึกษาของอาสา ยุวกาชาดนอกโรงเรียน อยู่ในระดับ มากที่สุด รองลงมาคือ ข้อท่ี 5 การดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต ของอาสายุวกาชาดนอกโรงเรียนเหมาะสมกับ สภาพ ปัญหา อยู่ใน ระดับ มากท่ีสุด และข้อท่ี 9 ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา รวมถึงผู้เก่ียวข้องในการ ดาเนินงานให้การยอมรับว่ากิจกรรมมีความเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย อยู่ในระดับ มากท่ีสุด ตามลาดับ ส่วนข้อท่ีมีค่าเฉล่ียต่าสุด คือ ข้อที่ 8 กิจกรรมสนองความต้องการของชุมชนในการ แก้ปัญหาและพฒั นาพฤติกรรมของผูเ้ รียน อยูใ่ นระดับ มาก
80 2. ผลแนวทางการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต ด้านปัจจัยนาเข้า สาหรับครูและบุคลากรทางการศึกษา พบว่า ผลการดาเนินงานในภาพรวม อยู่ใน ระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาโดยเรียงจากค่าเฉล่ียระดับความเหมาะสมสูงสุด 3 ระดับ พบว่า อันดับแรก คือ ข้อที่ 1 ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ เห็นความสาคัญและให้การสนับสนุนกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตของอาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน อยู่ในระดับ มากที่สุด รองลงมาคือ ขอ้ ท่ี 3 วิทยากรมีความรู้ ความสามารถในการจดั กจิ กรรม อยู่ในระดบั มากท่ีสุด และข้อ ท่ี 20 สถานศึกษามีเครือข่ายในการวางแผน สนับสนุนและพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านทักษะชีวิต อยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุด คือ ข้อที่ 2 จานวนครูผู้สอนเพียงพอใน การจัดกิจกรรมอยใู่ นระดับมาก 3. ผลแนวทางการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต ด้าน กระบวนการ สาหรับครูและบุคลากรทางการศึกษา พบว่าผลการดาเนินงานในภาพรวม อยู่ในระดับ มากท่ีสุด เมื่อพิจารณาโดยเรียงค่าเฉล่ียระดับ ความเหมาะสมสูงสุด 3 อันดับ พบว่า อันดับ พบว่า อันดับแรก คือ ข้อท่ี 4 สถานศึกษากาหนดเน้ือหาในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต สอดคล้องกับสภาพผู้เรียนและท้องถ่ิน อยู่ในระดับ มากท่ีสุด รองลงมา คือ ข้อท่ี 3 สถานศึกษา กาหนดผู้รับผิดชอบในการพัฒนากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต อยู่ในระดับ มากที่สุด และข้อที่ 6 วิทยากรนากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต ของอาสา ยุวกาชาดนอกโรงเรียน ไปพัฒนาและปรับใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ อยู่ในระดับ มากท่ีสุด ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุด คือ ข้อท่ี 8 สถานศึกษาเตรียมพร้อมการจัดกิจกรรมอย่างครบถ้วน ทงั้ ด้านพัฒนาผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศกึ ษา นักศึกษารวมถงึ สื่อ วสั ดอุ ปุ กรณ์ อยใู่ นระดบั มาก 4. แนวทางการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต ด้านผลผลติ สามารถจาแนกได้ดงั นี้ 4.1 ผลแนวทางการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต ด้านผลผลิต สาหรับครูและบุคลากรทางการศึกษา พบว่า ผลการดาเนินงานในภาพรวม อยู่ในระดับ มากที่สุด เม่ือพิจารณาโดยเรียงจากค่าเฉลี่ยระดับความเหมาะสมสูงสุด 3 อันดับ พบว่า อันดับแรก คือ ข้อที่ 13 อาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน ได้นาทักษะชีวิตและความรู้ไปใช้ในการร่วมกิจกรรมของ ชุมชน อยู่ในระดับ มากที่สุด รองลงมาคือ ข้อท่ี 3 ครูมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถจัดกิจกรรม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ อยู่ในระดับ มากที่สุด และข้อท่ี 12 อาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน มีความรู้ ทักษะและเจตคตทิ ่ีดี ด้านทักษะชีวิตในการเรียนรู้และร่วมกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน ด้านกิจกรรมพัฒนา ทักษะชีวิต อยู่ในระดับ มากท่ีสุด ส่วนข้อท่ีมีค่าเฉล่ียต่าสุด คือ ข้อที่ 2 สถานศึกษาสามารถ จัดกิจกรรม และมีเครื่องมือ สื่อ ครุภัณฑ์ อุปกรณ์ แหล่งเรียนรู้ เพ่ือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ อยู่ใน ระดับ มาก 4.2 ผลแนวทางการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต ด้านผลผลิต สาหรับอาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน พบว่า ผลการดาเนินงานในภาพรวม อยู่ในระดับ มากท่ีสุด เม่ือพิจารณาโดยเรียงจากค่าเฉล่ียระดับความเหมาะสมสูงสุด 3 อันดับ พบว่า อันดับแรก คือ ข้อท่ี 15 อาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน ได้นากิจกรรมเสรมิ สร้างทักษะชีวิตไปใช้ในชีวิตประจาวัน
81 อย่ใู นระดับ มากท่ีสดุ รองลงมาคอื ข้อท่ี 10 ผลการเสรมิ สรา้ งทักษะชวี ิตสามารถส่งเสรมิ สุขภาพกาย – จติ ของผู้เรียนได้ อยใู่ นระดับมากท่ีสุด และ ขอ้ ท่ี 18 ผู้เรยี นภูมิใจว่าตนเองเป็นผู้มีทกั ษะชวี ิตดี สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข อยู่ในระดับ มากที่สุด ตามลาดับ ส่วนข้อท่ีมีค่าเฉล่ียต่าสุด คือ ข้อที่ 2 สถานศึกษาสามารถจัดกิจกรรมและ มเี ครือ่ งมือ ส่อื ครุภณั ฑ์ อุปกรณ์ แหลง่ เรยี นรู้ เพอ่ื จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ อย่ใู นระดับมากท่ีสุด สรุปผลแนวทางการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต ในภาพรวมทั้ง 4 ด้าน พบว่า ผลการดาเนินงานโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด เมื่อพิจารณาโดย เรียงจากค่าเฉลี่ยระดับความเหมาะสมสูงสุด 3 อันดับพบว่า อันดับแรก คือ ด้านผลผลิตโดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา คือ ปัจจัยนาเจ้าโดยรวม อยู่ในระดับมากท่ีสุด และด้านกระบวนการ โดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด ตามลาดับ ส่วนรายข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุด คือ ด้านบริบทโดยรวมอยู่ใน ระดบั มากทสี่ ดุ อภิปรายผล 1. ผลแนวทางการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต ด้านสภาวะแวดล้อม สาหรับครูและบุคลากรทางการศึกษา พบว่า ผลการดาเนินงานในภาพรวม อยู่ในระดับ มากท่ีสุด ท้ังนี้เน่ืองมาจากผู้วิจัยได้ศึกษาหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน แนวทางการจดั กิจกรรม อาสายุวกาชาด หลักการจัดกิจกรรมอาสายุวกาชาด จุดหมายการจัดกิจกรรมอาสายุวกาชาด แนวทางการพัฒนาอาสายุวกาชาด บริบทของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอปง ประวัติความเป็นมาของสถานศึกษา และทิศทางการดาเนินงานของสถานศึกษา ตามวิสัยทัศน์ “กศน.อาเภอปง เป็นองค์กรให้บริการ จัดการศึกษานอกระบบทุกรูปแบบ โดยเน้น ชุมชนมีส่วนร่วมตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างท่ัวถึงทุกพื้นท่ี” พันธกิจ 1) จัดและส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย บนพ้ืนที่สูงและพื้นท่ีปกติให้มีคุณภาพ 2) ส่งเสริม สนบั สนุนการจัดการศึกษาดา้ นอาชพี และพัฒนาทักษะชวี ิตตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3) ส่งเสริมสนับสนุนนโยบายของรัฐบาล/จังหวดั /อาเภอ ในการให้ความรู้เพือ่ พัฒนาสังคมและชุมชน ให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 4) ส่งเสริม สนับสนุน ประสานภาคีเครือข่าย เพ่ือจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย 5) จัดและส่งเสริมให้มีระบบประกันคุณภาพภายในตามมาตรฐาน กศน. อาเภอ ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกของสานักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์กรมหาชน) และมาตรฐานกระทรวงศึกษาธิการ 6) งานอ่ืน ๆ ตามที่ ไดร้ ับมอบหมาย ส่งผลให้แนวทางการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้านกจิ กรรมพัฒนาทักษะชีวิต ด้านสภาวะแวดล้อมสอดคล้องกับบริบทและนโยบายจากต้นสังกัด มีผลการดาเนินงานในภาพรวม อยู่ในระดับ มากท่ีสุด สอดคล้องกับงานวิจัยของดวงละพา กุดนอก (2551 : 92 – 95 ) ได้ศึกษา ยุทธศาสตร์การพัฒนากิจกรรมค่ายเยาวชนเพ่ือเสริมสร้างทักษะชีวิตของนักเรียนตาบลโนนหอม อาเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร มี 3 ยุทธศาสตร์ คือ ยุทธศาสตร์เชิงรุก ประกอบด้วย 5 กิจกรรม ดงั นี้ 1) การใชก้ ระบวนการแบบมีส่วนรว่ มของชมุ ชน 2) การดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียนทงั้ ใน โรงเรียนและชุมชน 3) การอบรมและการศึกษาดูงาน 4) สร้างเครือข่าย แกนนาเยาวชน
82 เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิต และ 5) การพัฒนานักเรียนครอบครัว โรงเรียน หมู่บ้านต้นแบบเพ่ือเป็น แบบอยา่ งในการพฒั นาตนเอง ยทุ ธศาสตรก์ ารพลิกฟื้น ประกอบดว้ ย 2 กิจกรรม ดังนี้ 1) พัฒนากิจกรรมค่ายเยาวชน 2) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมวันแมแ่ ละวันสาคัญต่าง ๆ ในกลุ่มเยาวชน และยุทธศาสตร์การป้องกัน ประกอบด้วย 2 กิจกรรม ดังน้ี 1) ส่งเสริมแผนงานพัฒนาเยาวชน เข้าสู่ แผนงานองค์การบริหารส่วนตาบลและ 2) พัฒนาการประเมินและสรุปผลการดาเนินงานให้เป็น รูปธรรม และสอดคล้องกับงานวิจัยของสุรกิจ โพธ์ิศิรกิ ุล (2553 : 157 – 160) ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง การพัฒนาตัวบ่งชี้ทักษะในการดาเนินชีวิตของนักเรียนโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาตัวบ่งช้ี การพัฒนาทักษะในการ ดาเนินชีวิตของนักเรียนโรงเรียนมัธยมศึกษา และเพ่ือทดสอบความสอดคล้องของโมเดลโครงสร้างตัวบ่งช้ี การพัฒนาทักษะในการดาเนินชีวิต และนักเรียนโรงเรียนมัธยมศึกษากับข้อมูลเชิงประจักษ์ พลการวิจัย พบว่า ตัวแปรที่เป็นองค์ประกอบหลักที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาทักษะชีวิต ของนักเรียนโรงเรียน มัธยมศึกษาประกอบด้วย 3 องคป์ ระกอบหลัก ได้แก่ องค์ประกอบด้านมนุษย์สัมพนั ธ์และการสื่อสาร องค์ประกอบทักษะด้านการตัดสินใจ และ องค์ประกอบด้านการเลือกดาเนินชีวิตและผลการ ตรวจสอบความเทย่ี งตรงเชงิ โครงสรา้ งพบว่า โมเดลมคี วามสอดคลอ้ งกับข้อมลู เชิงประจกั ษ์ 2. ผลแนวทางการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต ดา้ นปัจจัยนาเข้า สาหรับครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา พบวา่ ผลการดาเนนิ งานในภาพรวม อยู่ในระดบั มาก ทั้งน้ีอาจเนื่องมาจากผู้วิจัยได้ศึกษาขอบข่ายของกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตตามนโยบายการจัด การศึกษานอกระบบ จากสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (2556 : 1 – 4) สรุปได้ว่า กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตมีขอบข่ายเน้ือหาท่ีเป็นจุดเน้น 8 เร่ือง คือ 1) ทักษะชีวิตเพ่ือ สร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพติด 2) ทักษะชีวิตเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้เพศศึกษาแก้ปัญหาเอดส์ 3) ทักษะชวี ิตเพ่อื ส่งเสริมคณุ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 4) ทกั ษะชีวิตเพือ่ ส่งเสริม อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม 5) ทักษะชีวิตเพื่อส่งเสริมความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สิน 6) ทักษะชีวิตเพ่ือส่งเสริมสุขภาพกาย – จิต 7) ทักษะชีวิตเพ่ือส่งเสริมประชาธิปไตยและ ความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และ 8) ทักษะชีวิตอ่ืน ๆ ส่งผลให้การดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต ด้านปัจจัยนาเข้า มีกระบวนการในการบริหารปัจจัยนาเข้าตามขอบข่ายของกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตตามนโยบาย การจัดการศึกษานอกระบบ จากสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และมีผลการดาเนินงานในภาพรวม อยู่ในระดับมาก สอดคล้องกับงานวิจัยของ สกล วรเจริญศรี (2550 : 193 – 200 ) ได้ศกึ ษาทกั ษะชวี ิต และสร้างโมเดลกลุ่มเพื่อพฒั นา ทักษะชวี ติ ของนักเรียน วัยรุ่น มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบของทักษะชีวติ และสร้างโมเดลกลุ่ม ฝึกอบรมเพื่อพัฒนา ทักษะชีวิตของนักเรียนวัยรุ่น ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบทักษะด้านสังคม องค์ประกอบด้านความคิด และองค์ประกอบทักษะด้านการเผชิญทางอารมณ์ โมเดลกลุ่มฝึกอบรม เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต ประกอบด้วย 3 ข้นั ตอน คือ ขั้นเริ่มต้น ขั้นดาเนินการ และข้ันยุติการฝึกอบรม และสอดคล้องกับงานวิจัยของดิฐภัทร บวรชัย (255 : 237 – 242) ศึกษาเก่ียวกับการพัฒนา หลักสูตรเสริมสร้างทักษะชีวิตเพื่อป้องกันยาเสพติดสาหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพบวา่ ทักษะชีวิตทีต่ ้องการพัฒนามากท่ีสดุ คือ การควบคุมตนเอง
83 โดยหลักสตู รเสริมมี 3 ข้ัน คือ ขั้นที่ 1 การนาหลักสูตรเสรมิ ไปใช้ในโรงเรียน ขน้ั ที่ 2 การประเมินผล การใช้หลักสูตรเสริม ข้ันท่ี 3 การประเมนิ ความพงึ พอใจต่อการใช้หลักสตู รเสรมิ จากการตรวจสอบประสิทธิภาพของหลักสูตรเสริม พบว่าในระดับความรู้ด้านเจตคติ ด้านความพึงพอใจ ของนักเรยี นที่มตี ่อการใชห้ ลักสตู รเสริม มีค่าเฉล่ียสูง และสอดคลอ้ งกับงานวิจยั ของ ปิยาภรณ์ พุ่มแก้ว (2555 : 173 – 174) ศึกษาเกี่ยวกับ การพัฒนาหลักสูตรทักษะชีวิต โดยใช้การคิด เป็นฐาน การเรียนรู้สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ผลการวิจัยพบว่า ได้องค์ประกอบของ ทักษะชีวิต 5 ด้านเรียกว่า “ Five Smarts” ได้แก่ 1) ความสามารถในกาคิด (Thinking Smart : T - Smart) 2) ความสามารถในการตัดสินใจ (Decision Making and Problem Solving Smart : D - Smart) 3) ความสามรถในการส่ือสารและทักษะทางสังคม C – Smart (Communication and Social Smart : C - Smart) 4) ความสามารถในการควบคุมอารมณ์และจัดการกับความเครียด (Emotional Control and Coping Stress Smart : E - Smart) 5) ความสามารถในการรู้จักและเข้าใจตนเอง (Self Smart : S - Smart) และพบว่าคะแนนประเมินทักษะชีวิตของกลุ่มทดลองหลังการใช้หลักสูตร กับก่อนการใช้ หลักสูตรที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และสอดคล้องกับ งานวิจัยของ สวัสด์ิ นาปองสี (2557 : ก – ข) ได้ศึกษาเก่ียวกับการพัฒนาหลักสูตรทักษะชีวิตเพื่อ เสริมสร้างการตระหนักรู้และเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่น สาหรับนักเรียนประถมศึกษา ผลการวิจัย พบว่า 1) หลักสูตรทักษะชีวิตเพื่อเสริมสร้างการตระหนักรู้และเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่น สาหรับ นักเรียนประถมศึกษา มอี งค์ประกอบ 14 องค์ประกอบ โดยมีการขับเคล่ือนผ่านกจิ กรรมการจัดการเรยี นรู้ 5 ข้ัน ได้แก่ (1) สร้างแรงจูงใจในการเรียน (2) แลกเปลี่ยนประสบการณ์ (3) ประสานพลังคิด (4) ผลิตผลงานนาเสนอ (5) สรุปประเมินสู่การประยุกต์ใช้ หลักสูตรมีความเหมาะสม โดยรวมอยู่ใน ระดับมากท่ีสุด 2) ผลการศกึ ษาประสิทธิผลของหลักสูตาทักษะชีวติ เพ่ือเสรมิ สร้างการตระหนักรแู้ ละ เห็นคุณค่าในตนเอง และผู้อ่ืน สาหรับนักเรียนประถมศึกษา โดยคะแนนการประเมินจากแบบวัด ทักษะชีวิตของกลุ่มเป้าหมาย เปรียบเทียบหลังการใช้หลักสูตรกับก่อนการใช้หลักสูตรต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ความคิดเห็นของผู้มีส่วนเก่ียวข้องท่ีมีต่อพฤติกรรมทักษะชีวิต ของนักเรียน ประเมินโดยครูผู้สอนมีระดับความคิดเห็นโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และ ความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อหลักสูตรทักษะชีวิตเพ่ือเสริมสร้างการตระหนักรู้และเห็นคุณค่าใน ตัวเองและผู้อื่นสาหรับนักเรียนชั้นประถม ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากท่ีสุด และสอดคล้องกับ งานวิจัยของเดย์ (Kay.1998 : Online) ได้ศึกษาการออกแบบหลักสูตรท่ีเอ้ือต่อการพัฒนาทักษะชีวิต ของนักเรียนในโรงเรียนมัธยม โดยกลุ่มเป้าหมายของการศึกษาเป็นนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ที่อาศัยอยู่ในเมือง โดยแบ่งเป็น 3 ระดับช้ัน ได้แก่ เกรด 10 เกรด 11 และเกรด 12 โดยมี วัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อออกแบบหลักสูตรท่ีเอ้ือต่อการพัฒนาทักษะชีวิตของเด็กนักเรียน ประกอบด้วย ทักษะการตระหนักรู้ในตนเอง ทักษะการสร้างการตัดสินใจ ทักษะการติดต่อส่ือสาร และทกั ษะการแกป้ ัญหา 3. ผลแนวทางการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกระบวนการสาหรับครูและ บุคลากรทางการศึกษา พบว่า ผลการดาเนินงานในภาพรวม อยู่ในระดับ มากท่ีสุด ทั้งน้ี อาจเนื่องมาจากผู้วิจัยได้ศึกษาการดาเนินกิจกรรมอาสายุวกาชาด ของชมรมอาสายุวกาชาด ในสถานศึกษาท้ังในระบบและนอกระบบท่ัวประเทศที่อยู่ภายใต้การกากับดูแล สนับสนุน ช่วยเหลือ
84 ของสานักงานยุวกาชาดสภากาชาดไทย มีวัตถปุ ระสงค์ในการดาเนินงานตามข้อบังคบั สภากาชาดไทย โดยการฝกึ อบรมให้แก่อาสายุวกาชาด (สภากาชาดไทย.2551 : 194) การพฒั นาอาสายุวกาชาดให้มคี วามสามารถ มพี ฤติกรรมการทางานที่เกิดจากแรงจูงใจ ภายในภายใต้ หลักปรัชญาที่ว่า “ยุวกาชาดดี เก่ง รอบรู้ สุขภาพดี” (นันทวัฒน์ ภัทรกรนันท์. 2548 : 14) ด้วยหลักปรัชญานี้นาไปสู่หลักการที่ต้องการพัฒนาอาสายุวกาชาดให้เป็นผู้มีอุดมคติในศานติสุข มีความรู้ ความชานาญในการรักษาอนามัยของตนเองและส่งเสริมอนามัยของผู้อื่น รู้จักบาเบ็ญตน ใหเ้ ป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมและรจู้ ักการสร้างสัมพันธภาพอนั ดตี ่อผู้อ่นื เพือ่ ให้เปน็ ไปตามหลักกาชาด คอื มนษุ ยธรรม (Humanity) ความไม่ลาเอียง (Impartiality) ความเป็นกลาง (Neutrality) ความเป็นอิสระ (Independence) บริการอาสาสมัคร (Voluntary Service) ความเป็นเอกภาพ (Unity) และ ความเป็นสากล (Universality) (พินิจ กุลละวนิชย์.2547 : 4) ส่งผลให้กระบวนการดาเนินงาน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมีผลการดาเนินงาน ในภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด สอดคล้องกับงานวิจัยของศุภรัตน์ อิ่มวัฒนกุล (2552 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาเร่ืองผลของการประยุกต์ใช้โปแกรมทักษะชีวิตร่วมกับการสนับสนุนจากผู้ปกครอง (5A’s) เพื่อป้องกันการสูบบุหรี่ในวัยรุ่น ชุมชนแออัด ผลการศึกษาพบว่า หลังการทดลอง กลุ่มทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมป้องกันการสูบบุหร่ีสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ 0.5 เมื่อเปรียบเทียบภายในกลุ่มทดลองพบว่า หลังการทดลองมีคะแนนเฉลี่ยการจัดการกับความเครียด และพฤติกรรมป้องกันการสูบบุหร่ีกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนระยะติดตามผลมีเพียงคะแนนเฉล่ียพฤติกรรมในการป้องกัน การสูบบุหร่ีสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิตที่ .05 ส่วนทัศนคติและทักษะการตัดสินใจ พบว่าหลังการทดสอบมคี ะแนน เฉล่ียสูงกว่าระยะติดตามผลอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ส่วนคะแนนเฉลี่ยด้านอ่ืน ๆ ไม่แตกต่างกับก่อนการทดลองและไม่แตกต่างกับกลุ่มเปรียบเทียบ และสอดคล้องกับงานวิจัยของ มณฑนา บรรพสุทธิ์ (2553 : ง) ได้วิจัยเรื่องการพัฒนาความสามารถในการคิดแก้ปัญหาทักษะชีวิต ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) ความสามารถในการคดิ แก้ปัญหาทักษะชีวิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ก่อนและหลังการจัดการ เรียนรู้ แบบใช้ปัญหาเป็นฐานแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 โดยค่าเฉล่ียของ คะแนน การคิดแก้ปัญหาทักษะชีวิตของนักเรียนหลังการจัดการเรียนรู้มีค่าเฉลี่ยของคะแนนสูงกว่า กอ่ นการจัดการเรียนรู้ 2) ความสามารถในการคดิ แกป้ ัญหาทักษะชีวติ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2 ที่จัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน มีค่าเฉลี่ยของคะแนนอยู่ในระดับปานกลาง และพัฒนาการของความสามารถในการคิดแก้ปัญหาทักษะชีวิตด้วยการจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็น ฐานของนักเรียนเพิ่มสูงข้ึนในแต่ละแผนกิจกรรมแนะแนว โดยนักเรียนมีพัฒนาการอยู่ในระดับปาน กลางเป็นอันดับที่ 1 คือ พิจารณาแนวทางแก้ไขปัญหาโดยกาหนดเกณฑ์ เพ่ือประเมินแนวทาง แก้ปัญหา และเสนอแนวทางแก้ปัญหาและพัฒนาแผนปฏิบัติงานอยู่ในระดับต่าเป็นฐานอยู่อันดับ สุดท้าย 3) ความคิดของนกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 ที่มีตอ่ การจดั การเรียนร้แู บบปัญหาเป็นฐานอยู่ ในระดับเห็นด้วยมากท้ัง 3 ด้าน โดยนักเรียนเห็นด้วยมากเป็นอันดับท่ี 1 คือ ด้านบ รรยากาศ การเรยี นรู้ รองลงมาคือ ด้านการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้และด้านประโยชน์ที่ไดร้ บั ตามลาดับและสอดคลอ้ ง การงานวิจัยของ ประกอบ สุขบันเทิง (2554 : บทคัดย่อ) ศึกษาเกี่ยวกับผลของการประยุกต์
85 ทักษะชีวิต และการมีส่วนร่วมในการป้องกันอุบัติเหตุจากการขับขี่รถจักรยานยนต์ของวัยรุ่น อาเภอท่าตมู จังหวดั สรุ ินทร์ ผลการศึกษาพบว่า หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีทักษะชีวิตและการมีส่วนร่วมในการป้องกันอุบัติเหตุจากการขับข่ี รถจักรยานยนต์สงู กว่าก่อนการทดลองอยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถติ ิที่ระดับ .05 และเมื่อเปรียบเทียบกับ กลมุ่ เปรยี บเทยี บพบวา่ กลมุ่ ทดลองมที ักษะชีวติ และการมสี ่วนร่วมในการป้องกนั อุบัตเิ หตุ จากการขับ ข่ีรถจักรยานยนต์สูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และสอดคล้องกับ งานวจิ ัยของ ณัฐพงศ์ สิงห์สาธร (2555 : 119 – 122) ได้ศึกษาของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพจิต โดย ประยุกต์ใช้ทักษะชีวิตร่วมกับกระบวนการกลุ่มในนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 3 อาเภอปง จังหวัดพะเยา ผลการวิจัยพบว่า ก่อนการทดลองกลุ่มเปรียบเทียบมีทักษะชีวิตด้านการตัดสินใจ และ การแก้ไขปัญหาสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .001 โดยหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนการตัดสินใจและการแก้ปัญหาเฉล่ียเพิ่มขึ้น 18.31 คะแนน และสูงกว่ากลุ่ม เปรียบเทียบอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .001เม่ือเปรียบเทียบค่าเฉล่ียผลต่างคะแนนการ ตัดสินใจและการแก้ปัญหา ระกว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มเปรียบเทียบ พบว่าแตกต่างกันอย่าง มนี ัยสาคัญทางสถิตทิ ่ีระดับ .001 โดยกลุ่มทดลอง มีคา่ เฉล่ียของผลต่างคะแนนการตัดสินใจและการ แก้ไขปัญหาสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ 20.26 คะแนน และสอดคล้องกับงานวิจัยของศักดิ์นคร สีหอแก้ว (2557: 153 – 165) ได้ศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบการสอนเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต สาหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการศึกษา ข้อมูลพื้นฐาน การปฏิบัติพฤติกรรมทักษะชีวิตสาหรับนักเรียน โดยสัมภาษณ์ครูผู้สอนและนักเรียน พบว่า นักเรียน ยังมีการปฏิบัติทักษะชีวิตระดับน้อยทุกทักษะ ได้แก่ ทักษะการตระหนักรู้และเห็น คุณค่าในตนเอง และผู้อื่น ทักษะการคิดวิเคราะห์ตัดสินใจ และแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ทักษะ การจัดการกับ อารมณ์และความเครียดและทักษะการสร้างสัมพันธ์ภาพท่ีดีกับผู้อื่น 2) ผลการศึกษา ข้อมูลพื้นฐาน จากแบบสารวจครูผสู้ อนในโรงเรยี นขยายโอกาสทางการศึกษา พบว่า นกั เรียนสว่ นมากยังมีพฤตกิ รรม ทักษะชีวิตที่ยังต้องพัฒนา มีการปฏิบัติพฤติกรรมทักษะชีวิตอยู่ในระดับน้อย ครูและนักเรียน มีความต้องการพัฒนาทักษะชีวิตทุกทักษะ ได้แก่ ทักษะการตระหนักรู้และเห็นคุณค่าในตนเองและ ผอู้ ่ืน พบวา่ นักเรียนส่วนใหญม่ ักจะมองข้ามตนเองขาดความเชอื่ มั่นในตัวเอง ทกั ษะ การคิดวิเคราะห์ ตัดสินใจและแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ พบว่านักเรียนส่วนใหญ่ไม่กล้าตัดสินใจด้วยตนเอง มักจะ ตัดสินใจตามพวกพ้องหรือไม่ก็เกิดจากการขอร้องขาดกระบวนการไตร่ตรอง ส่วนใหญ่จะแก้ปัญหา ด้วยอารมณ์หรือกาลังไม่ย้ังคิด ไม่มีเหตุผล ไม่นึกถึงผลเสียที่จะเกิดขึ้นภายหลัง ส่วนใหญ่ไม่นาข้อมูล ขา่ วสารมาแก้ปัญหา กลับใช้ข้อมูลข่าวสารในทางเส่ือม ทักษะการจัดการกับอารมณ์และความเครียด พบว่า นักเรียนส่วนมากจะมีคามกังวลในเรื่องปัญหาครอบครัวมาเป็นอันดับหน่ึง รองลงมา ไดแ้ ก้ปญั หาส่วนตัว โดยเฉพาะปัญหาทางเพศและปัญหาความไม่พรอ้ มทางการเรยี น ขาดการควบคุม อารมณ์ของตนเอง เป็นคนเอาแต่ใจตนเอง ส่วนมากแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว ชอบทาตัวเป็นจุดเด่น ของสังคมในทางท่ีเส่ือมเสีย ใช้วิธีผ่อนคลายความเครียดด้วยส่ืออิเล็กทรอนิกส์ และ ทักษะการสร้าง สมั พันธภาพท่ีดีกับผู้อ่ืน พบว่า นักเรียนส่วนมากมีการสรา้ งสัมพนั ธภาพที่ดีกับเพศตรงข้าม แต่เพศเดียวกัน ยังถือว่าน้อย การใช้ภาษาในการส่ือสารยังเป็นภาษาท่ีไม่ค่อยสุภาพเท่าที่ควร การวางตัวในสังคม
86 ยังไม่เหมาะสม การส่ือสารจะเลือกใช้เทคโนโลยีส่ือสารกันแล้วเก็บความลับรู้เฉพาะวงการเดียวกัน การให้ความร่วมมอื ยังมนี อ้ ย 3) รูปแบบการสอนเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตมีลักษณะเป็นแบบแผนจาลอง ที่เป็นเอกสารประกอบด้วย คาชี้แจง หลักการ แนวคิดทฤษฎี โครงสร้างเน้ือหา มาตรฐาน/ตัวชี้วัด หน่วยการเรียนรู้กิจกรรม การเรียนการสอน การวัดประเมินผล มีความสอดคล้องเชิงโครงสร้าง มีคุณภาพด้านความเหมาะสม อยู่ในระดับมาก 4) ผลการประเมิน การทดลองใช้รูปแบบการสอนเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตสาหรับ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา พบว่า นักเรียนมีทักษะชีวิตหลังการ ทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และผลการประเมินทักษะชีวิต ของนักเรียนหลังการทดลองกับระยะติดตามผล ไม่แตกต่างกันและสอดคล้องกับงานวิจัยของ อาลซิ าเบธ (Elizabeth.2001 : Online) ได้ศึกษาผลกระทบของโปรแกรมการพัฒนาทักษะชีวติ ของ วัยรุ่น โดยโปรแกรมของการพัฒนาทักษะชีวิตประกอบด้วยดังน้ี ทักษะการต้ังเป้าหมาย ทกั ษะการแก้ปัญหา และทักษะการสนบั สนุนทางสังคมโดยมีวตั ถุประสงค์ของการศกึ ษา คอื การสอน ให้วัยรุ่นรู้จักควบคุมตนเอง และมีความเชื่อม่ันในตนเองเก่ียวกับการตัดสินใจที่ดีในอนาคตซ่ึงผล การศึกษาพบว่า วัยรุ่นมีทักษะชีวิตท่ีดีข้ึนหลังจากการเข้ารับโปรแกรมการพัฒนาทักษะชีวิต และ สอดคล้องกับงานวิจัยของ เบนเดอร์ (Bender.2002: Online) ได้สร้างโปรแกรมทักษะชีวิตเพื่อใช้ ในการพัฒนาทักษะชีวิตด้านส่วนตัว และด้านสัมพันธภาพระหว่างบุคคลกับผู้เรียน (เกรด 7 อายุ 12 – 16 ปี) โดยใช้รูปแบบของโปรแกรมการวิจยั แบบกลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียวโดยมีการทดสอบ ก่อนและหลังการทดลอง (One Group Pre-test Post-test Experiment Desingn)ซ่ึงโปรแกรม ทกั ษะชีวิตมีจานวนครัง้ ในการทดลองทง้ั หมด 12 ครัง้ และใช้เวลาครั้งละ 1.30 ช่ัวโมง ผลการศึกษา พบว่า กลมุ่ ตวั อย่างมีทักษะชวี ติ เพ่ิมขึน้ หลงั เข้ารว่ มการอบรม อยา่ งมนี ัยสาคญั ทางสถิติท่รี ะดับ .01 4. แนวทางการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต ด้านผลผลิต สาหรับครูและบุคลากรทางการศึกษา พบว่าผลการดาเนินงานในภาพรวม อยู่ในระดับ มาก และด้านผลผลิต สาหรบั อาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน พบว่า ผลการดาเนินงานในภาพรวมอยใู่ น ระดับมากท่ีสุด ทั้งน้ีอาจเนื่องมาจากผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิดเก่ียวกับการเสริมสร้างทักษะชีวิต ความหมายของทกั ษะชวี ิต ความสาคัญของการพัฒนาทักษะชีวติ องค์ประกอบของทกั ษะชวี ิต วธิ ีการ พัฒนาทักษะชวี ิต และกิจกรรมพัฒนาทักษะชวี ิตตามนโยบายการจัดการศึกษานอกระบบ ตามแนวคิด ข อ ง ปิ ย พ ง ษ์ ไ ส ย โ ส ภ ณ (2 5 5 0 :27) ป ณิ ช ภ า จี ร พ ร ชั ย (2 5 5 2 :40) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2553:27) และสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึกษา (องค์กรมหาชน) (2553: 47) ที่กล่าวว่า ทักษะชีวิตเป็นความสามรถของบุคคลที่ ประกอบด้วย ความรู้ เจตคติ และทักษะที่จะจัดการกับปัญหารอบตัวในสภาพสังคมปัจจุบัน การจัดการ กับปัญหา และความขัดแย้งต่างๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัว การรู้จักหลีกเล่ียงพฤติกรรมไม่พึง ประสงค์และการเตรียมความพร้อมสาหรบั การปรับตัวในอนาคต สามารถเผชญิ กับสงิ่ ต่าง ๆ ทเี่ กดิ ข้ึน ในชีวิตอย่างมีประสิทธิภาพ และเตรียมพร้อมในการปรับตัวและเลือกทางเดือนชีวิตท่ีเหมาะสม และ แน ว คิ ด ขอ งก รม สุ ขภ าพ จิ ต ก ระท รว งส าธ ารณ สุ ข (2 5 4 3 :2 5 -2 6 ) ก รม วิช าก าร กระทรวงศึกษาธิการ (2543: 6) ยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานต์ และสุวรรณา เรืองกาญจรเศรษฐ์ (2551:5) องค์กรอนามัยโลก (WHO.1997: 1-3) องค์กรช่วยเหลือเด็กแห่งสหประชาชาติ
87 (UNICEF.2001:Online) และองค์กรศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO.2001:Online) ท่ีกล่าวว่า ทักษะชีวติ มจี านวนมาก ธรรมชาติและคาจากัดความของทักษะ ชีวิตมีความแตกต่างกันตามวัฒนธรรม องค์ประกอบของทักษะชีวิตตามพฤติกรรมการเรียนรู้ไว้ 3 ด้าน คือ ด้านพุทธพิสัย (ด้านสติปัญญาและความคิด) ด้านจิตพิสัย (ด้านจิตใจ) และด้านพิสัย (ด้านการกระทา) ส่งผลให้การดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต ดา้ นผลผลิต สาหรับครูและบุคลากรทางการศึกษา และสาหรับอาสายุวกาชาดนอกโรงเรยี นมีผลผลิต ท่ีมีคุณภาพ โดยเฉพาะผลการประเมินด้านผลผลิตด้านทักษะชีวิตของอาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน อยู่ในระดับมากที่สุด สอดคล้องกับงานวิจัยของเฉลียว ผลพิกุล (2554: 84-88) ได้วิจัยเก่ียวกับ ประสทิ ธภิ าพของโปรแกรมสุขศกึ ษาโดยประยุกต์ใชก้ ารเสรมิ สร้างทักษะชวี ติ เพ่ือป้องกันโรคเอดส์ของ นักเรียนระดับช่วงชั้นท่ี 3 ในเขตอาเภอลาดบัวหลวง จงั หวัดนครศรีอยุธยา โดยมีองคป์ ระกอบ ได้แก่ ความตระหนักในตนเอง การเห็นคุณค่าในตนเอง การตัดสินใจและการแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผลการ ส่ือสารและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนกลุ่มทดลองท่ีได้รับโปรแกรมการ เสริมสร้างทักษะชีวิตเพื่อการป้องกันโรคเอดส์ในด้านความตระหนักในตนเอง การเห็นคุณค่าในตนเอง การตัดสินใจและแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผลมากกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และสอดคล้องกับงานวิจัยของ กริฟฟิน และบอทวิน (Griffin ; & Botvin. 2003 : Abstract) ได้ศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการป้องกันในโรงเรียนกับวัยรุ่นกลุ่มเส่ียงในการใช้ยา เสพติดในระยะต้นโดยการศึกษานี้ได้ใช้โปรแกรมการฝึกทักษะชีวิต (Life Skills Program Training) โดยมีโรงเรียนเป็นพื้นฐาน (School - Based) โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนในเมืองใน 29 โรงเรียน ในนิวยอร์กท่ีมีผลการเรียนต่าตลอดจนมี กลุ่มเพื่อนที่ใช้ยาเสพติด ผลจากการศึกษาพบว่า หลังจากกลุ่มตัวอย่างที่ได้เข้ารับการฝึกทักษะชีวิต จะมีความสัมพันธ์ในระดับต่ากับการใช้ยาเสพติด และได้มีการติดตามผลการทดลองในระยะยาว 1 ปี พบว่า กลุ่มตัวอย่างท่ีเข้ารับโปรแกรมการฝึก ทกั ษะชีวติ ที่เป็นกลุ่มเส่ียง มีอัตราการใช้ยาเสพติดในระดับต่ามากกวา่ กลุ่มทไี่ ม่ได้เข้ารับการฝึกทักษะ ชีวิต และสอดคล้องกับงานวิจัยของ สลิกเกอร์ และคนอ่ืน ๆ (Slicker ; et al. 2005 : Online) ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการเล้ียงดูของพ่อแม่ต่อการพัฒนาทักษะชีวิตของวัยรุ่นตอน ปลาย ในประเทศสหรัฐอเมริกาโดยกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาเป็นนักเรียนในระดับปริญญาตรีช้ันปีที่ 1 ในมหาวิทยาลัยมิทเซาท์ จานวน 660 คน แบ่งเป็นเพศหญิงร้อยละ 68.2 และเพศชายร้อยละ 22.7 มีค่าเฉล่ียอายุ 17.9 ปี โดยการสารวจการรับรู้ในพฤติกรรมการเล้ียงดูของพ่อแม่และการรับรู้ ของทักษะชีวิตของกลุ่มตัวอย่าง ซ่ึงแบ่งออกเป็น 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการสื่อสารระหว่างบุคคล ด้านการตัดสินใจ ด้านการดูแลรักษาสุขภาพ และด้านการพัฒนาเอกลักษณ์ของตนเอง ผลจาก การศึกษาพบว่า การพัฒนาทักษะชีวติ ของวัยรุ่นท้ัง 4 ด้าน มีความสัมพันธ์กับรูปแบบการเล้ียงดูของ พ่อแม่ในระดับสูง
88 ขอ้ เสนอแนะ จากการศึกษาแนวทางการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนา ทักษะชีวิต กรณีศึกษาอาสายุวกาชาด ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอปง จงั หวดั พะเยา ผู้วิจัยมขี ้อเสนอแนะดังต่อไปน้ี 1. ขอ้ เสนอแนะในการวจิ ยั คร้งั นี้ 1.1 ควรมีการนาผลการวิจัยคร้ังน้ีไปวางแผนและกาหนดนโยบายการดาเนินงาน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต ในกิจกรรมอาสายุวกาชาดหรือกิจกรรมอ่ืน ๆ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอปง จังหวัดพะเยา ซึ่งข้อมูลและ สารสนเทศจากการวิจัยที่มีผลการดาเนินงานในระดับมากสามารถนาไปปรับปรุงการดาเนินงาน สว่ นด้านทมี่ ผี ลการดาเนนิ การมากทีส่ ดุ ยังสามารถพฒั นาให้ดีย่งิ ข้นึ หรอื ทาให้เกิดความยั่งยนื ต่อไป 1.2 เป็นแนวทางการดาเนินการขับเคล่ือนการดาเนินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมทักษะชีวิต กรณีศึกษาอาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน ให้กับศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอาเภออื่น ๆ ในสังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบอบและการศึกษา ตามอธั ยาศัยจงั หวดั พะเยา หรอื สถานศกึ ษาอ่ืนท่ีมบี ริบทใกล้เคยี งกนั 1.3 ควรมีการนาผลการศึกษาแนวทางการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต กรณีศึกษาอาสายุวกาชาดโรงเรียน ศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอปง จังหวดั พะเยา ไปออกแบบเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ และข้อเสนอ ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับช้ันเรียน รวมถึงการบูรณาการจัดการเรียนรู้ในสาระวิชาท่ีมี ความเก่ียวขอ้ งกับการพัฒนาทกั ษะชวี ติ ของผูเ้ รียน 2. ขอ้ เสนอแนะในการดาเนนิ การครงั้ ต่อไป 2.1 การศึกษาแนวทางการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ด้านกิจกรรม พัฒนาทักษะชีวิต กรณีศึกษาอาสายุวกาชาด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอปง จังหวัดพะเยา ในภาพรวมทั้ง 4 ด้าน โดยรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด การดาเนินการวิจัย คร้ังต่อไปควรนาผลการศึกษามาใช้ในการออกแบบโดยใช้กระบวนการวิจัยเป็นฐานเพื่อบูรณาการ การดาเนนิ กจิ กรรม วางแผน และกาหนดนโยบายในการดาเนนิ กจิ กรรมในคร้ังต่อไป 2.2 จากการศึกษาปญั หา อุปสรรคการดาเนินงานตามกิจกรรมพบว่า ยังขาดเทคนิค วิธีการท่ีจะนานโยบายเก่ียวกับการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต สู่การปฏิบัติ การบริหารจัดการหลักสูตร การบูรณาการการจัดกิจกรรม การนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินผล ในการประเมินโครงการครั้งต่อไปควรมีวิจัยและพัฒนา เพ่ือหารูปแบบการดาเนินงาน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต กรณีศึกษาอาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน ทเ่ี ป็นรปู ธรรม 2.3 แนวทางการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต กรณีศึกษาอาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอปง จังหวัดพะเยา พบว่าสถานศึกษาต้องวิเคราะห์บริบท ความพร้อม จุดแข็ง และทรัพยากร และควรมี การสารวจความต้องการของผู้เรียนในด้านความรู้ ความสามารถ ความถนัด วิเคราะห์ ทาความรู้จัก ผูเ้ รียนรายบุคคล
89 การประเมินโครงการคร้ังต่อไปควรมีการต้ังคณะกรรมการดาเนินงานศึกษาข้อมูลพ้ืนฐาน สารวจ ความต้องการของผ้เู รียนและครูก่อนการดาเนินการเพื่อให้การดาเนนิ การเกดิ ประสทิ ธิภาพสูงสุด 2.4 จากผลการศึกษาแนวทางการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ด้าน กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต กรณีศึกษาอาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอาเภ อปง จังหวัดพ ะเยา โดยใช้ CIPP Model ของสตัฟเฟิ ลบีม (Btufflebeam) ประกอบด้วย 4 ด้าน คือ ด้านบริบท (Context) ด้านปัจจัยนาเข้า (Input) ด้านกระบวนการ (Process) และด้านผลผลติ (Product) พบวา่ ผลการประเมินในภาพรวมท้ัง 4 ด้าน อยู่ในระดับมากท่ีสุด ในการดาเนินการครั้งต่อไปควรมีการนารูปแบบการศึกษาหรือการประเมิน ดว้ ยวิธีการประเมินแบบใหม่ ๆ เช่น เทคนิคการประเมินแบบ 360 องศา เทคนิคการประเมินโดยยึด วตั ถปุ ระสงค์ หรือเทคนคิ การประเมินอนื่ ๆ เพื่อศกึ ษาผลการดาเนินการ เป็นต้น
93 ภาคผนวก
94 ภาคผนวก ก แบบสอบถามฉบับที่ 1 แนวทางการดาเนนิ งานกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ดา้ นกจิ กรรมพัฒนาทักษะชีวิต กรณีศึกษาอาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอปง (สาหรับครูและบุคลากรทางการศึกษา)
95 แบบสอบถาม ฉบับท่ี 1 แนวทางการดาเนนิ งานกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น ดา้ นกิจกรรมพฒั นาทักษะชีวติ กรณีศึกษาอาสายุวกาชาดนอกโรงเรยี น ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบอบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอปง (สาหรบั ครูและบุคลากรทางการศึกษา) คาชแี้ จง 1. โปรดใส่เครอ่ื งหมาย ใน และเขียนข้อความตามสภาพความเป็นจรงิ 2. ผู้ตอบแบบสอบถามฉบับน้คี อื ผู้บรหิ าร จา้ ราชการครู ลูกจ้างประจา พนักงานราชการ ครูศูนย์การเรยี นชมุ ชน ครูสอนคนพกิ าร ลกู จา้ งชั่วคราว 3. แบบสอบถามฉบับนี้แบ่งออกเปน็ 2 ตอน ตอนท่ี 1 ข้อมูลทว่ั ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม ตอนท่ี 2 ข้อมูลสภาพและการดาเนนิ งานกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น ดา้ นกิจกรรมพฒั นาทกั ษะชวี ิต แบบสอบถามนี้ เป็นการรวบรวมข้อมูลแนวทางการดาเนินงาน กิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต กรณีศึกษาอาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน ศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอปง เพื่อนาไปพัฒนาเป็นองค์ความรู้ ข้อเสนอแนะและ แบบแผนในการพัฒนากิจกรรมของสถานศึกษาในสังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวดั พะเยา ขอให้ท่านตอบคาถามทุกข้อตามความเป็นจริงทุกรายการ รัฐวัฒ นุธรรม นายรฐั วฒั นธุ รรม ตาแหนง่ ผู้อานวยการ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอปง
96 ตอนที่ 1 ข้อมูลทวั่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม 1) เพศ หญงิ ชาย 2) สถานภาพ สมรส อน่ื ๆ ระบุ.................. โสด 3) ปัจจุบนั ดารงตาแหนง่ ครศู นู ย์การเรียนชมุ ชน ผู้บรหิ าร ครูผู้สอนคนพิการ ข้าราชการครู ลูกจา้ งชว่ั คราว ลกู จา้ งประจา พนักงานราชการ 4) อายุ 40 – 49 ปี น้อยกว่า 30 ปี มากกว่า 49 ปี 30 – 39 ปี 5) วุฒกิ ารศกึ ษา ตา่ กว่าปริญญาตรี ปรญิ ญาโท ปรญิ ญาตรีหรอื เทียบเท่า ปรญิ ญาเอก อ่ืน ๆ ระบุ............................................ 6) ประสบการณ์ทางาน 16 – 20 ปี นอ้ ยกว่า 5 ปี 21 – 25 ปี 5 – 10 ปี มากกวา่ 25 ปี 11 – 15 ปี 7) ประสบการณ์การมีสว่ นร่วมในการจดั กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น นอ้ ยกว่า 3 ปี 3 – 5 ปี 6 – 8 ปี มากกว่า 8 ปี 8) ประสบการณ์เขา้ ร่วมประชุม อบรม สัมมนา เก่ยี วกับกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น น้อยกวา่ 20 ชว่ั โมง/ปี ไม่เคยเข้าร่วมประชุม 20 ชว่ั โมง/ปี ขึน้ ไป
97 ตอนท่ี 2 ข้อมลู เกี่ยวกับแนวทางการดาเนนิ งานกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะ ชวี ิต กรณศี ึกษาอาสายวุ กาชาดนอกโรงเรยี นศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอปง คาชีแ้ จง เปน็ แบบสอบถามเกยี่ วกบั ระดบั ความคิดเห็น มเี กณฑ์ระดบั ความคิดเห็น 5 ระดบั ดงั น้ี 5 หมายถงึ มคี วามคิดเหน็ ในระดบั มากทส่ี ดุ 4 หมายถงึ มีความคดิ เหน็ ในระดบั มาก 3 หมายถงึ มคี วามคดิ เหน็ ในระดบั ปานกลาง 2 หมายถงึ มคี วามคิดเห็น ในระดับน้อย 1 หมายถงึ มคี วามคดิ เหน็ ในระดับน้อยท่ีสดุ โปรดอ่านรายละเอียดแต่ละข้อ แล้วพิจารณาถึงคุณภาพและประสิทธิภาพของแนวการ ดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต กรณีศึกษาอาสายุวกาชาดนอก โรงเรียนศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอปง ในดา้ นต่าง ๆ ตอ่ ไปนี้วา่ มาก น้อยเพียงใดแลว้ ทาเคร่ืองหมาย ลงในช่องระดบั ความคดิ เหน็ แต่ละขอ้ ขอ้ รายการ ระดบั ความเหมาะสมหรือ รหสั กรอก ที่ ความสอดคล้อง ขอ้ มูล ดา้ นสภาวะแวดล้อม (C) 12345 C1 1 การกาหนดกจิ กรรมสอดคล้องกับการขับเคล่ือน C2 ยทุ ธศาสตร์การศึกษาชาติ พ.ศ.2560 – 2579 C3 2 วตั ถปุ ระสงค์ของการดาเนินงานกจิ กรรมพัฒนา C4 ผู้เรียนด้านกิจกรรมพฒั นาทักษะชวี ติ ของยุวการ C5 ชาดนอกโรงเรยี น สอดคลอ้ งกับนโยบายของรัฐบาล C6 และต้นสังกดั 3 วตั ถปุ ระสงค์ทก่ี าหนดไวม้ ีความชัดเจน สามารถ นาไปปฏิบตั ิได้จริง 4 กิจกรรมการดาเนินงานตอบสนองต่อนโยบายของ สานักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวดั พะเยา 5 การดาเนนิ งานกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น ดา้ นกจิ กรรม พฒั นาทกั ษะชีวติ ของอาสายุวกาชาดนอกโรงเรยี น เหมาะสมกับ สภาพ ปญั หา 6 กิจกรรมท่ีกาหนดสามารถส่งเสรมิ การพฒั นาทักษะ ชีวิตของอาสายุวกาชาดนอกโรงเรยี นได้
98 ขอ้ รายการ ระดบั ความเหมาะสมหรือ รหัสกรอก ที่ ความสอดคล้อง ขอ้ มูล ดา้ นสภาวะแวดล้อม (C) 12345 C7 7 กจิ กรรมสอดคลอ้ งกับความต้องการจาเป็นในการ C8 พฒั นาการจัดการศึกษาของอาสายุวกาชาดนอก C9 โรงเรยี น C10 8 กิจกรรมสนองความต้องการของชุมชนในการ แก้ปญั หาและพฒั นาพฤติกรรมของผเู้ รยี น 9 ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา รวมถึง ผเู้ กีย่ วขอ้ งในการดาเนินงานใหก้ ารยอมรับวา่ กิจกรรมมีความเหมาะสมกบั กลมุ่ เปา้ หมาย 10 ชุมชน ท้องถน่ิ และผปู้ กครองเหน็ ความสาคญั และ ยอมรบั ในกจิ กรรม ข้อเสนอแนะ ................................................................................................. ............................................. .................. ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................................................. ... ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ...................................
99 ขอ้ รายการ ระดบั ความเหมาะสม รหัสกรอก ที่ หรอื ความเพียงพอ ขอ้ มูล ดา้ นปจั จัยนาเข้า (I) 12345 I1 1 ผบู้ ริหารมีวิสยั ทัศน์ เหน็ ความสาคัญและให้การ I2 สนบั สนนุ กิจกรรมพฒั นผู้เรียนดา้ นกิจกรรมพัฒนา I3 ทกั ษะชีวติ ของอาสายุวกาชาดนอกโรงเรียน I4 I5 2 จานวนวทิ ยากรเพียงพอในการจดั กจิ กรรม I6 I7 3 วิทยากรมีความรู้ความสามารถในการจดั กิจกรรม I8 4 ครูเสยี สละและอทุ ศิ เวลาในการดาเนินงาน I9 5 ครูมเี จตคติที่ดตี ่อการจดั กิจกรรม I10 6 ครมู ีความสามารถในการผลติ พัฒนา และใชส้ อ่ื I11 7 ครูมกี ารวางแผนในการจัดกิจกรรมให้กับผ้เู รียน I12 8 ครศู ึกษาหาความรู้และพัฒนาตนเอง I13 9 ครมู คี วามรู้และทักษะการทาวจิ ยั เพ่ือพฒั นาการจดั I14 กิจกรรมการเรยี นรู้ I15 10 อาสายวุ กาชาดนอกโรงเรยี นมีส่วนรว่ มในการ วางแผน การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ และการ I16 ประเมนิ ผล I17 11 ผู้บริหาร ครู ผู้เรียนและผปู้ กครองมสี ว่ นรว่ ม ตดั สนิ ใจวางแผน และพัฒนาการจดั กจิ กรรมการ I18 เรยี นรู้ I19 12 สถานศึกษามีความพร้อมในด้าน วสั ดอุ ปุ กรณ์ สอ่ื ส่งิ อานวยความสะดวกท่จี าเป็นตอ่ การจัดกิจกรรม 13 สถานศกึ ษาวางแผนการใช้งบประมาณ เพื่อจัด กิจกรรมให้เพยี งพอ 14 สถานศึกษาระดมทรัพยากร และแหลง่ ทนุ จากชมุ ชน ในการพัฒนาการจดั การจัดกิจกรรม 15 สถานศึกษาบรหิ ารจดั การงบประมาณโดยมสี ว่ นรว่ ม จากผู้เก่ยี วข้อง มีความโปรง่ ใส และตรวจสอบได้ 16 สถานศึกษามีความคล่องตวั ในการนางบประมาณที่ ไดม้ าใชใ้ นโครงการ ดา้ นหมวดรายจา่ ย 17 สถานศึกษามีความคล่องตวั ในการนางบประมาณท่ี ได้มาใช้ในโครงการ ดา้ นระยะเวลา 18 สถานศกึ ษาไดร้ ับจัดสรรงบประมาณอย่างเพยี งพอใน การดาเนินโครงการ 19 สถานทส่ี ะดวกและเหมาะสมกับการจัดกจิ กรรม
100 ขอ้ รายการ ระดบั ความเหมาะสม รหสั กรอก ที่ หรือความเพียงพอ ข้อมูล I20 ดา้ นปจั จยั นาเข้า (I) 12345 I21 I22 20 สถานศึกษามีเครือขา่ ยในการวางแผน สนับสนนุ และ I23 พฒั นาการจัดกิจกรรมการเรยี นรูด้ ้านทักษะชีวติ I24 I๒5 21 คณุ ภาพของสื่อ วัสดุ อปุ กรณ์มีความเหมาะสมใน การจดั กิจกรรม 22 สถานศกึ ษามีแหลง่ เรยี นรู้ทง้ั ภายในและภายนอกท่ี สอดคลอ้ งกับการดาเนนิ การจัดกจิ กรรม 23 สถานศึกษากาหนดใหม้ ีการวดั และประเมนิ ผล ครอบคลุมการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 24 สถานศกึ ษากาหนดให้มกี ารวดั และประเมนิ ผลตรง ตามสภาพจรงิ ของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 25 สถานศึกษามีการวางแผน นเิ ทศ กากับ ติดตาม ส่งเสริมสนบั สนุน และประเมินการจัดกจิ กรรม ขอ้ เสนอแนะ .......................................................................................................................... ...................................... .............................................................................................. .................................................................. ............................................................................................................................. ................................... ........................................................................................................................................................... ..... .............................................................................................................................. .................................. ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122