Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 6

บทที่ 6

Published by 6032040029, 2018-09-04 03:21:52

Description: บทที่ 6

Search

Read the Text Version

อุปกรณ์สาหรับเช่ือมต่อเครือข่ายประเภท LAN จดั ทาโดย นายภาณุวฒั น์ มากมลู เลขที่ 29 ปวส.2 คอมพวิ เตอร์ธุรกิจ หอ้ ง 1

การเช่ือมโยงเครือข่าย• จุดประสงคก์ ารเช่ือมโยงคอมพิวเตอร์เขา้ เป็ นเครือขา่ ย คือ ตอ้ งการให้ คอมพิวเตอร์สามรถสื่อสารและแลกเปลี่ยนขอ้ มลู ระหวา่ งกนั ได้• เครือข่ายคอมพิวเตอร์เร่ิมจากเครือข่ายขนาดเลก็ ภายในองคก์ รท่ีเช่ือมโยงกนั ภายใตส้ ภาพพ้นื ที่จากดั ซ่ึงเรียกวา่ เครือข่ายเฉพาะที่ (LAN : Local Area Network)• เครือข่ายที่ครอบคลมุ พ้นื ที่ระดบั เมือง เรียกวา่ MAN (Metropolitan Area Network)• เม่ือเช่ือมเครือข่ายยอ่ ยเขา้ ดว้ ยกนั และขยายขอบเขตครอบคลุมพ้นื ท่ีระดบั เมือง หรือระหวา่ งประเทศ กจ็ ะเรียกวา่ เครือขา่ ยพ้ืนที่กวา้ ง (WAN: Wide Area Network)

Local Area Network : LAN• เครือขายเฉพาะที่หรือแลนมีลกั ษณะโดยทวั่ ไปคือ มีอตั ราการส่ง ขอ้ มูลสูงและมกั มีรัศมีเครือข่ายครอบคลุมระยะทางประมาณ 5 กิโลเมตร• ตอ่ ไปน้ีจะกล่าวถึงแลนตามมาตรฐานท่ีกาหนดโดย IEEE (Institute of Electrical and Electronics Engineers)

LAN ตามข้อกาหนดของ IEEE• IEEE กาหนดเครือข่ายเฉพาะที่โดยใชต้ วั เลข 802 ตามดว้ ยตวั เลข ยอ่ ยเป็นรหสั ประจาแต่ละมาตรฐาน ตวั อยา่ งมาตรฐานท่ีเป็นท่ีรู้จกั แพร่หลาย เช่น – IEEE 802.3 หรืออีเทอร์เน็ต – IEEE 802.4 หรือโทเคน็ บสั – IEEE 802.5 หรือโทเคน็ ริง – FDDI : Fiber Distributed Data Interface

IEEE 802.3• IEEE 802.3 หรืออีเทอร์เน็ต (Ethernet) เป็นเครือข่ายที่ สถานีในเครือข่ายอาจมีโทโปโลยแี บบบสั หรือแบบดาว• IEEE ไดก้ าหนดมาตรฐานอีเทอร์เน็ตซ่ึงทางานที่ความเร็วท่ี 10 เมกะบิตตอ่ วนิ าทีไวห้ ลายประเภทตามชนิดสายสัญญาณ เช่น 10Base5, 10 Base2, 10BaseT, 100BaseTX, 100BaseFX, 1000BaseT เป็นตน้

การเลอื กใช้ระบบ LAN (Selection Issues)• การตดั สินใจท่ีจะเลือกใชร้ ะบบ LAN ของแต่ละหน่วยงาน นบั เป็นส่ิงหน่ึงท่ีมีความสาคญั ซ่ึงผใู้ ชจ้ าเป็นตอ้ งพิจารณาอยา่ ง รอบคอบถึงปัญหาของระบบเดิม และความจาเป็นที่จะตอ้ งเชื่อมตอ่ เป็นระบบ LAN ตลอดจนประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ• พจิ ารณาวา่ จะเลือกใช้ LAN แบบใดจึงจะเหมาะสมกบั หน่วยงาน โดยพิจารณาต้งั แต่ระดบั ฮาร์ดแวร์คือตวั กลางที่จาเป็ นตอ้ งใช้ ไป จนถึงระดบั ของซอฟทแ์ วร์ของระบบ

การเลอื กใช้ระบบ LAN (Selection Issues)• อยา่ งไรก็ตาม การเลือกใชร้ ะบบ LAN อาจจะไม่ใช่คาตอบ หรือ เป็นวธิ ีการแกป้ ัญหาที่ดีท่ีสุดสาหรับทุกหน่วยงาน เน่ืองจากส่ิง ที่ ตามมาของการเลือกใชร้ ะบบ LAN คือคา่ ใชจ้ ่าย• ค่าใชจ้ ่ายในท่ีน้ีหมายถึงคา่ ใชจ้ ่ายสาหรับอุปกรณ์ต่าง ๆ และรวมไป ถึงคา่ ใชจ้ า่ ยใจการดูแลรักษาอีกดว้ ย• ดงั น้นั ผใู้ ชจ้ าเป็นตอ้ งมีการพจิ ารณาอยา่ งรอบคอบถึงความตอ้ งการที่ แทจ้ ริง ตลอดจนการขยายตวั ในอนาคต

Protocol• การเช่ือมเครือข่ายต่างฮาร์ดแวร์จาเป็นตอ้ งกาหนดขอ้ ตกลง ร่วม หรือโปรโตคอล เพือ่ ใหค้ อมพิวเตอร์ส่ือสารกนั ตาม ขอ้ กาหนด• โปรโตคอลในความหมายของระบบเครือข่าย คือ ขอ้ กาหนดการสื่อสาร คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์เครือข่ายจะมี ซอฟตแ์ วร์ที่ปฏิบตั ิงานตามโปรโตคอลที่กาหนดพร้อมท้งั มี กรรมวธิ ีแกไ้ ขปัญหาท่ีเกิดข้ึน

Protocol• เช่น หากขอ้ มูลท่ีขนถ่ายมีขอ้ ผดิ พลาด คอมพวิ เตอร์จะ ดาเนินการตามแบบแผนในโปรโตคอล เช่นส่งขอ้ มูลซ้าใหม่• หรือในระบบเครือข่ายขนาดใหญ่อาจมีเสน้ ทางเชื่อมโยง ระหวา่ งกนั ไดเ้ ป็นจานวนมาก ขอ้ มูลที่ส่งออกไปอาจไม่ได้ ใชเ้ สน้ ทางเดียวกนั ตลอด ขอ้ มลู ที่ส่งออกไปก่อนอาจไปถึง ปลายทางชา้ กวา่ กรณีน้ีเครื่องปลายทางจาเป็นตอ้ งจดั ลาดบั ขอ้ มลู ใหม่

7 Layers of OSI Model

OSI Model 7 layers ISO ได้กาหนดรูปแบบโครงสร้างมาตรฐานสากลสาหรับการติดต่อส่ือสารระหว่างเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ไว้ เรียกว่าOpen SystemsInterconnectionซึ่งมาอยู่ 7 ช้ันสื่อสาร

Physical Layer• เป็ นช้ันระดับล่างสุด• ทาหน้าทกี่ าหนดวธิ ีควบคุมการรับและส่งข้อมูลระหว่าง เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ในระดบั บติ เช่น การส่งบิต 0 จะแทน ด้วยกระแสไฟฟ้ ากโ่ี วลต์ สายส่ือสัญญาณมกี เี่ ส้น แต่ละเส้น ใช้เพอื่ อะไร เป็ นต้น

Data Link Layer• หน้าทห่ี ลกั คอื รวบรวมข้อมูลจากช้ัน Physical มา ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล โดยการเพมิ่ ข้อมูลสาหรับ การตรวจสอบติดไว้กบั ข้อมูล• ตรวจสอบข้อมูลทเี่ สียหายหรือสูญหาย แล้วแจ้งให้ฝั่งผู้ส่งมี การส่งข้อมูลชุดเดิมกลบั มาใหม่• ตรวจสอบข้อมูลทซ่ี ้าและกาจัดออกไป

Network Layer• ควบคุมการติดต่อรับ-ส่งข้อมูลระหว่างเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ ต่างๆ ในระบบเครือข่ายให้เป็ นไปด้วยความเรียบร้อย• กาหนดเส้นทางเดนิ ของข้อมูลจากผู้ส่งไปยงั เคร่ืองปลายทาง

Transport Layer• รับข้อมูลจากช้ัน Session โดยถ้าข้อมูลมปี ริมาณมากก็ จะทาการแบ่งข้อมูลออกเป็ นแพก็ เกต็ หลายๆแพก็ เกต็ แล้วจึง ส่งข้อมูลท้งั ชุดต่อไปให้โปรแกรมในช้ัน Network• ควบคุมการไหลของข้อมูล (flow control) เพอ่ื ทจี่ ะ ควบคุมการรับและส่งข้อมูล เช่นในกรณที ผี่ ู้ส่งจัดการส่ง ข้อมูลเร็วเกนิ กว่าผู้รับจะทางานได้ทนั

Session Layer• เป็ นผู้กาหนดวธิ กี ารควบคุมการเชื่อมต่อระหว่างผู้รับและผู้ส่ง• บริหารการแลกเปลย่ี นข่าวสาร ได้แก่ การกาหนดให้การแลกเปลย่ี น เป็ นไปแบบสองทางในเวลาเดยี วกนั (full duplex) หรือถ้าเป็ น การสื่อสารแบบทางเดียวแต่สลบั ทศิ ได้ (half duplex) ก็ จะต้องเป็ นผู้จัดลาดับให้ท้งั ผู้รับและผู้ส่งทาการส่งข้อมูลได้คล้ายกบั การควบคุมสับหลกี รถไฟ

Presentation Layer• การใช้รหัสแทนข้อมูล เช่น รหสั ASCII หรือ Unicode• เข้ารหสั และ ถอดรหสั

Application Layer• เป็ นตวั กลาง หรือ ส่วนตดิ ต่อระหว่างผู้ใช้โปรแกรม ประยุกต์กบั โปรแกรมใน 6 ช้ันท่ีเหลอื

OSI Model 7 layers



Topology

Topology หมายถึงรูปแบบการเช่ือมตอ่ เครือข่าย ในท่ีน้ีหมายถึงการนาเอาคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อ่ืน ๆ มาเช่ือมต่อกนั โดยพยายามลดจานวนสายท่ีตอ้ งใชใ้ หม้ ากที่สุด วธิ ีท่ีนิยมใชไ้ ดแ้ ก่ โทโปโลยีรูปแบบดาว (Star), บสั (Bus), ตน้ ไม(้ Tree), และวงแหวน(Ring)



อปุ กรณ์เครือข่าย

HUB Hub เป็นอุปกรณ์เชื่อมสถานีเครือข่ายที่ใชโ้ ทโปโลยแี บบดาว เช่น อีเทอร์เนต็ 10BaseT ฮบั มีพอร์ตไดห้ ลายแบบ เช่น พอร์ต RJ-45 ใชก้ บั สายคู่ตีเกลียวในเครือข่าย 10BaseT หรือพอร์ตไฟเบอร์ใชก้ บั เสน้ ใยนาแสงในเครือข่าย 10BaseF

หนา้ ท่ีของฮบั คือขยายสัญญาณและกระจายแพก็เกต็ ไปทุกพอร์ต ฮบั ใชเ้ ช่ือมต่อเครือข่ายประเภทเดียวกนัเท่าน้นั เครือข่ายท่ีเชื่อมดว้ ยฮบั จะรวมเป็นเครือข่ายเดียวกนั ดงั น้นั แพก็ เกต็ ที่สร้างจากเครือข่ายหน่ึงจะผา่ นฮบั ไปอีกเครือข่ายหน่ึง

SWITCH เป็ นอุปกรณ์กระจายและรวมสัญญาณที่มาจากอุปกรณ์รับส่ง หลายสถานีเช่นเดียวกบั ฮบั แต่ จะไม่กระจายไปยงั ทุกสถานี เหมือนกบั ฮบั โดยสวติ ชจ์ ะรับกลุ่มขอ้ มลู มาตรวจสอบก่อนแลว้ ดูวา่ แอดเดรสของสถานี(คอมพิวเตอร์)ปลายทางไปท่ีใด

ROUTER เราเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ทางานในระดบั ช้นั Networkเราเตอร์ทางานร่วมกบั ฮาร์ดแวร์ในระดบั Data link ไดห้ ลายรูปแบบ หนา้ ที่ของเราเตอร์คือจดั แบ่งเครือข่ายและเลือกเส้นทางท่ีเหมาะสมเพ่ือนาส่งแพก็ เกต็ เราเตอร์จะป้ องกนั การบรอดคาสต์แพก็ เกต็ จากเครือข่ายหน่ึงไม่ใหข้ า้ มมายงั อีกเครือข่ายหน่ึง

เราเตอร์ทาหนา้ ที่เลือกเส้นทางโดยสร้างแผนท่ีเครือขา่ ยและเก็บอยใู่ นรูปตารางเส้นทาง เมื่อเราเตอร์ไดร้ ับแพก็ เก็ตก็จะตรวจสอบแอดเดรสปลายทางและส่งแพก็ เก็ตไปยงั อินเทอร์เฟสท่ีเป็นช่องทางไปสู่เครือข่ายปลายทาง



เราเตอร์ประกอบดว้ ยหลายอินเทอร์เฟสเพอื่ เชื่อมต่อกบัเครือข่ายต่างชนิดเขา้ ดว้ ยกนั ได้ ตวั อยา่ งเช่น อินเทอร์เฟสอีเทอร์เนต็โทเคน็ ริง เอฟดีดีไอ เอทีเอม็ เป็นตน้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook