ก บทสรปุ สำหรบั ผบู้ ริหำร ผ้จู ัดทำ : นำยอำนำจ นำคแกว้ ผ้อู ำนวยกำรสถำนศกึ ษำ บทนำ โรงเรยี นมัธยมเทศบำล ๔ ท่ีตง้ั ถนนสำยอ่ำงทอง-ชัยนำท (สำยเกำ่ ) หมูท่ ่ี 2 ตำบลบำงพุทรำ อำเภอเมืองสิงห์บรุ ี จังหวดั สิงหบ์ ุรี รหสั ไปรษณีย์ 16000 โทรศัพท/์ โทรสำร 0 3652 0663 E-mail : [email protected] Website : www.mt4.ac.th สงั กดั เทศบำลเมืองสิงหบ์ ุรี อำเภอเมอื งสิงหบ์ รุ ี จงั หวดั สิงหบ์ ุรี เปดิ สอนระดบั ช้ันมธั ยมศึกษำปที ่ี 1-6 จำนวน 9 หอ้ งเรียน โรงเรยี นมีเน้อื ที่ 5 ไร่ ผ้อู ำนวยกำรสถำนศกึ ษำ นำยอำนำจ นำคแกว้ วุฒิกำรศึกษำสูงสุด ครุศำสตรมหำบัณฑิต สำขำวิชำกำรบรหิ ำรกำรศึกษำ โทรศัพท์ 08 1150 8549 E-mail : [email protected] ดำรงตำแหน่งทีโ่ รงเรียนนี้ตัง้ แต่ 8 สงิ หำคม พ.ศ. 2560 จนถงึ ปัจจบุ นั เป็นเวลำ 2 ปี 7 เดอื น จำนวนพนกั งำนครู 14 คน พนักงำนจำ้ งจำมภำรกิจ 1 คน พนักงำนจ้ำงสอน 5 คน และ พนักงำนจ้ำงทัว่ ไป 3 คน นักเรยี นทัง้ สิ้น 228 คน แยกเป็น ชำย 140 คน หญงิ 88 คน สภำพบริบทของโรงเรียนเป็นที่อยู่อำศัยของประชำชน และเป็นแหล่งชุมชนใหญ่ในเขต เทศบำลเมืองสิงห์บุรี มีจำนวนประชำกรชำย 8,098 คน จำนวนประชำกรหญิง 9,323 คน มีจำนวน ครัวเรือน 9,027 ครัวเรือน บริเวณใกล้เคียงโดยรอบของโรงเรียนติดกับสำนักงำนเขตพื้นท่ีกำรศึกษำ ประถมศึกษำสิงห์บรุ ี และวัดพรหมสำคร โดยมสี ถำนศกึ ษำทีอ่ ยู่ติดกันไดแ้ ก่ โรงเรียนอนุบำลเทศบำล ๓ (พรหมรวมมิตร) โรงเรียนวัดพรหมสำคร และวิทยำลับเทคนิคสิงห์บุรี อำชีพหลักของชุมชนคือ กสิกรรม ประชำชนส่วนใหญ่นับถือศำสนำพุทธ ประเพณี/วัฒนธรรมท้องถิ่นเป็นที่รู้จักโดนทั่วไปคือ เทศกำลกินปลำ โรงเรยี นมีจดุ เนน้ กำรพัฒนำผูเ้ รียนตำมอตั ลกั ษณ์ท่กี ำหนด คือ ควำมมีมำนะ – วินัย เพอื่ หล่อ หลอมให้เป็นบุคคลที่พึงประสงค์ของสังคมปัจจุบันและอนำคต นอกจำกนี้ผลกำรพัฒนำผู้เรียนที่มี ควำมเป็นเลิศที่เกิดจำกกำรส่งเสริมและพัฒนำผู้เรียนให้เต็มตำมศักยภำพของตนเอง คือ กำรเป็น “ผู้นำกฬี ำเปตองท้องถ่นิ ” ซ่ึงปรำกฏผลเป็นทย่ี อมรับตำมเอกลกั ษณ์ในระดับประเทศ
ข ผลกำรประเมินตนเอง 1. กำรจัดกำรศึกษำ สถำนศกึ ษำกำหนดเป้ำหมำย วิสัยทศั น์ พันธกจิ เป้ำประสงค์ ยทุ ธศำสตร์กำรพฒั นำและ กลยุทธ์กำรจัดกำรศึกษำของสถำนศึกษำ สอดคล้องกับสภำพปัญหำ ควำมต้องกำรพัฒนำของ สถำนศึกษำ นโยบำยกำรปฏิรูปกำรศึกษำ ควำมต้องกำรของชุมชนท้องถ่ิน และสอดคล้องกับแนว ทำงกำรปฏิรูปตำมแผนกำรศึกษำ แผนพัฒนำกำรศึกษำห้ำปี (พ.ศ. 2561-2565) แผนปฏิบัติกำร ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 และแผนปฏิบัติกำรประจำปีกำรศึกษำ 2563 สอดคล้องกับกำร พฒั นำผูเ้ รียนทกุ กล่มุ เปำ้ หมำย มกี ำรพฒั นำครูและบคุ ลำกรทำงกำรศกึ ษำให้มีควำมรู้ ควำมเชยี่ วชำญ ตำมมำตรฐำนตำแหน่ง ข้อมูลสำรสนเทศมีควำมถูกต้องครบถ้วน ทันสมัย นำไปประยุกต์ใช้ได้ ดำเนนิ กำรอย่ำงเป็นระบบ และมีกิจกรรมจัดสภำพแวดล้อมทำงกำยภำพและสงั คมท่ีกระตุ้นผู้เรียนให้ ใฝ่เรียนรู้ ส่งเสริมให้ทุกฝ่ำยที่เก่ียวข้องเข้ำมำมีส่วนร่วมในกำรจัดกำรศึกษำ เน้นรูปแบบกำรบริหำร และกำรจัดกำรเชิงระบบ โดยทุกฝ่ำยมีส่วนร่วมยึดหลักธรรมภิบำลและแนวคิดหลักปรัชญำของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง กำรระดมทรพั ยำกรเพอื่ กำรพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำจำกเครือข่ำยอปุ ถัมภ์ ผู้เรียนมีควำมสำมำรถในกำรอ่ำน กำรเขียน กำรสื่อสำรและกำรคิดคำนวณ ควำมสำมำรถในกำรคิดวิเครำะห์อย่ำงมีวิจำรณญำณ มีกำรอภิปรำยแลกเปลี่ยนควำมคิดเห็น รวมถึง กำรแก้ไขปัญหำ มีควำมสำมำรถในกำรสืบค้นและเข้ำถึงแหล่งข้อมูลได้ด้วยตนเองเป็นไปตำม เป้ำหมำยท่ีกำหนด ส่งผลให้ผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนเพิ่มข้ึน รวมถึงสำมำรถพัฒนำผลคะแนนกำร ทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดับชำติขั้นพน้ื ฐำน (O-NET) ประจำปกี ำรศึกษำ 2563 สูงกวำ่ ปีทผี่ ่ำนมำ ดังน้ี ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษำปีท่ี 3 ทกุ รำยวชิ ำ ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษำปีท่ี 6 ได้แก่ วิชำภำษำต่ำงประเทศ ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่ำนิยมท่ีดี ตำมอัตลักษณ์ของโรงเรียน คือ ควำมมี “มำนะ- วินัย” ในตนเอง มีควำมภำคภูมิใจในสถำนศึกษำ และเป็นส่วนหนึ่งของกำรพัฒนำชุมชนของตนเอง ส่งผลให้โรงเรียนมนี ักเรียนได้รบั รำงวัล “คนดีศรี ท.๔” เป็นแบบอย่ำงที่ดตี ่อเพ่ือนนักเรียน ผ้ปู กครอง และชุมชน มีกำรร่วมและดำเนินกิจกรรมกับเพื่อนๆ คุณครูตำม “โครงกำรบ้ำนเล็กในโรงเรียนของ เรำ” ที่มุ่งปลูกฝงั ควำมรักควำมสำมัคคี กำรยึดในข้อตกลง กฎกตกิ ำกำรอยู่รว่ มกันในสังคม รู้และเห็น คุณค่ำต่อกำรดำเนินชีวิต รู้จักใช้เวลำว่ำงให้เกิดประโยชน์ ส่งผลให้มีสุขภำวะทำงร่ำงกำย จิตใจท่ี เขม้ แข็ง มีจิตสำธำรณะที่ดี มีกำรพัฒนำแหล่งเรียนรู้ภำยในโรงเรียนเพิ่มขึ้น เช่น ศูนย์กำรเรียนรู้เฉลิมพระเกียรติ แหล่งเรียนรู้ 8 หมู่บ้ำนตำมโครงกำรบ้ำนเล็กในโรงเรียนของเรำ โครงกำรเปิดโลกวิชำกำรมัธยม เทศบำล ๔ มกี ำรตรวจสอบและประเมนิ ผลอยำ่ งเปน็ ระบบ 2. หลกั ฐำนสนับสนนุ ภำพควำมสำเร็จด้ำนคุณภำพผเู้ รยี นท่ีสนับสนุนผลกำรประเมินตนเอง ได้แก่ 1) โครงกำรพฒั นำผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรยี นของนักเรยี น 2) โครงกำรพัฒนำงำนวดั ประเมินผล
ค 3) โครงกำรพัฒนำงำนวิชำกำร 4) โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำคุณภำพกำรเรียนกำรสอนกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ทั้ง 8 กล่มุ สำระ 5) โครงกำรสง่ เสริมและพฒั นำกีฬำเปตองสู่ควำมเป็นเลิศ 6) โครงกำรเปดิ โลกวิชำกำรมธั ยมเทศบำล ๔ 7) โครงกำรบำ้ นเลก็ ในโรงเรยี นของเรำ 8) โครงกำรนิเทศกำรศกึ ษำ 3. แผนพัฒนำให้ได้มำตรฐำนท่สี ูงกว่ำเดมิ 1) ปรับปรุง/พัฒนำหลกั สตู รสถำนศกึ ษำให้สอดคล้องกับมำตรฐำนกำรเรียนรู้ให้ดียิ่งข้ึน เนน้ กำรพัฒนำนวัตกรรมเพ่ือกำรเรยี นรู้ เพือ่ ผลสัมฤทธทิ์ ำงกำรเรียนของนกั เรียนท่ีสูงขึน้ 2) ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมท่ีดีงำมแก่นักเรียนให้ตรงตำมอัตลักษณ์และเอกลักษณ์ ของโรงเรยี น 3) พฒั นำศกั ยภำพผเู้ รยี นใหไ้ ปสู่ควำมเปน็ เลศิ ตำมควำมถนัดของตนเอง 4) พัฒนำครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำให้เพิ่มขีดควำมสำมำรถในกำรสอนและกำร ปฏิบัติงำน 5) พฒั นำสถำนศกึ ษำเพอื่ เปน็ สงั คมแห่งกำรเรยี นรู้ของนกั เรียน ผู้ปกครองและชมุ ชน วิธกี ำรหรอื แนวทำงกำรปฏิบัติท่ีเปน็ เลิศ (Best Practices) ของสถำนศกึ ษำ 1. ช่อื ผลงำน ผนู้ ำกฬี ำเปตองท้องถิ่น (โครงกำรส่งเสรมิ และพฒั นำกฬี ำเปตองสคู่ วำมเปน็ เลศิ ) 2. วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพือ่ จดั ทำหลักสูตรวชิ ำเปตองเพ่ือจัดกำรเรียนกำรสอนทุกระดับชนั้ 2. เพ่ือส่งเสรมิ และพัฒนำนักกีฬำส่คู วำมเป็นเลศิ ทำงด้ำนกีฬำเปตอง 3. เพื่อพฒั นำครูผู้สอนใหไ้ ด้รับกำรพฒั นำด้ำนควำมรู้ ทักษะกฬี ำเปตองที่สูงขึ้น 4. เพื่อเปน็ ศูนยก์ ลำงกำรพัฒนำกีฬำเปตองในจงั หวดั สิงหบ์ รุ ี 3. แนวทำง/ขน้ั ตอนกำรดำเนนิ งำน 1. วิเครำะห์สภำพปัจจุบันปัญหำและควำมต้องกำรของนักเรียนและชุมชนตลอดจน ผบู้ ริหำรทอ้ งถน่ิ 2. จดั ทำแผนพัฒนำกฬี ำเปตองสู่ควำมเปน็ เลศิ 3. จัดปัจจยั ท่ีเอือ้ ตอ่ กำรพัฒนำให้เอือ้ ต่อกำรดำเนนิ กำร 4. ส่งเสรมิ และพฒั นำขีดควำมสำมำรถของนกั กีฬำ และครผู ฝู้ ึกสอน 5. เผยแพร่ประชำสัมพนั ธ์ผลงำนที่ปรำกฏตอ่ สำธำรณชน 6. ประเมินผลกำรพัฒนำสคู่ วำมเปน็ เลศิ และนำกลับมำปรบั ปรงุ พัฒนำโดยใชร้ ะบบ PDCA
ง 4. ผลลพั ธ/์ ผลกำรดำเนนิ กำร 1) กำรพัฒนำหลักสูตรกีฬำเปตอง มีกำรจัดทำหลักสูตรรำยวิชำเพ่ิมเติม (กีฬำเปตอง) สำหรับ นักเรียนทุกระดับชั้น และสำมำรถเป็นต้นแบบให้กับสถำนศึกษำต่ำงๆ ในกำรนำไปใช้ในกำรจัดกำร เรยี นกำรสอน 2) ควำมเป็นเลิศจำกกำรแข่งขัน ได้จัดส่งนักเรียนเข้ำร่วมกำรแข่งขันทุกระดับอย่ำงต่อเน่ือง และมีผลงำนจำกกำรแขง่ ขนั อย่ำงมำกมำกท้ังระดับประเทศไปจนถึงระดับโลก 3) กำรพัฒนำครผู ้ฝู กึ สอน ได้ดำเนินกำรอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ำรให้กบั ครูและบคุ ลำกรทำงกำรศกึ ษำ จำนวน 4 เร่ือง ประกอบด้วย กำรพัฒนำหลักสตู ร กำรจัดทำแผนพัฒนำ กำรวิเครำะห์และจัดทำคลัง ข้อสอบ และ กำรจัดทำมำตรฐำนของชมรม 4) เป็นศูนย์กลำงกำรพฒั นำกีฬำเปตองในจังหวดั โดยได้รับควำมร่วมมือจำกสมำคมกีฬำจังหวัด สิงห์บุรี สำนักงำนกำรกีฬำแห่งประเทศไทยจังหวัดสิงห์บุรี และสำนักงำนกำรท่องเท่ียวและกีฬำ จังหวัดสิงห์บุรี ให้เป็นเจ้ำภำพจัดกำรแข่งขันชิงชะเลิศแห่งจังหวัด รวมถึงกำรจัดแข่งขันกีฬำเปตอง ชำยหำดให้กับชุมชน นอกจำกน้ียังได้รับดำเนินกำรจัดแข่งขันตำมท่ีหน่วยงำนต่ำงๆ ขอควำมร่วมมือ รวมถงึ ดำ้ นกำรใหค้ วำมรดู้ ำ้ นวิทยำกรและกำรจดั ทำหลกั สตู ร 5. ปจั จยั ทีเ่ ก้อื หนนุ หรอื ปัจจยั แหง่ ควำมสำเรจ็ จำกผลของกำรดำเนนิ กำรดงั กลำ่ ว พบวำ่ ปจั จยั ท่ีเก้อื หนุนนำไปสู่ควำมสำเรจ็ ประกอบดว้ ย 1) ปัจจยั ดำ้ นกำรบริหำรจัดกำร 2) ปัจจยั ดำ้ นบุคลำกร 3) ปัจจยั ดำ้ นงบประมำณ 4) ปจั จัยด้ำนโครงกำรของชมรมกีฬำ 5) ปจั จยั ด้ำนกำรสนบั สนนุ 6) ปจั จัยดำ้ นวทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี 7) ปจั จยั ด้ำนกระบวนกำรจัดกำรแขง่ ขัน 8) ปัจจยั ด้ำนกฎระเบียบขอ้ ตกลง 9) ปัจจัยด้ำนสถำนท่ีและสง่ิ อำนวยควำมสะดวก 10) ปจั จยั ด้ำนกำรพัฒนำนกั กีฬำ 6. แนวทำงกำรพฒั นำให้ยงั่ ยืน แนวทำงกำรส่งเสริมและพัฒนำกีฬำเปตองสู่ควำมเป็นเลิศของโรงเรียนมัธยมเทศบำล ๔ ยึด หลกั กำรพัฒนำส่คู วำมยงั่ ยืน ดังน้ี 1) เข้ำใจ มี 4 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) สำรวจสภำพที่แท้จริง โดยกำรศึกษำสภำพปัจจุบัน ปญั หำและควำมต้องกำรของนักเรียน ผู้ปกครองและชุมชนต่อกำรสง่ เสรมิ และพัฒนำ 2) กำรวำงแผน กำรจัดกำร โรงเรียนกำหนดแนวทำงกำรบริหำรจัดกำร เช่น บุคลำกร งบประมำณ สถำนท่ี วัสดุ อุปกรณ์ สิ่งอำนวยควำมสะดวก และอื่นๆ ท่ีเกี่ยวข้อง 3) ศึกษำเรียนรู้จัดกำรเรียนกำรสอนตำม
จ หลักสูตรกลุ่มสำระกำรเรียนรู้สุขศึกษำและพลศึกษำ รำยวิชำเพ่ิมเติม 4) ฝึกฝนเพ่ือพัฒนำ วำง แผนกำรเรยี นรู้และฝึกซ้อมใหก้ ับนักกฬี ำ 2) เข้ำถึง มี 3 องค์ประกอบ คือ 1) สร้ำงวิสยั ทัศน์ร่วมกัน สรำ้ งกรอบควำมคิดของกำรที่จะ ก้ำวไปให้ถึงควำมเป็นเลิศด้ำนกีฬำเปตอง 2) กำหนดเป้ำหมำยเดียวกันสร้ำงปัญหำ สรุปทัศนคติท่ีดี ร่วมกันเพ่ือไปสเู่ ป้ำหมำยและควำมสำเรจ็ 3) พัฒนำ ยึดหลักกำรสำคัญคือ 1) เมล็ดพันธุ์ที่ดี กำรพัฒนำตนเองให้เต็มตำมศักยภำพ 2) ฟำร์มสำเร็จ กำรพัฒนำชมรมและโรงเรียนให้ไปสู่ควำมสำเร็จจำกกำรมีส่วนร่วมของทุกภำคส่วน 3) ต้นแบบของควำมเปน็ เลศิ แบบอย่ำงทดี่ งี ำมตอ่ กำรพัฒนำส่คู วำมเปน็ เลศิ อีกดำ้ นหนึง่ 7. กำรเปน็ ตน้ แบบให้กบั หนว่ ยงำนอื่น/กำรขยำยผล และ/หรอื รำงวลั ทีไ่ ด้รับ โรงเรียนได้นำเสนอผลงำนควำมสำเร็จผ่ำนหลำกหลำยชอ่ งทำงของกำรสอ่ื สำร รวมไปถึงกำร ให้ควำมรู้แก้ชุมชนด้ำนกีฬำเปตอง เพ่ือให้ได้รับกำรปลูกฝังในทุกวัน นอกจำกน้ียังได้รับเชิญจำก หน่วยงำนต่ำงๆ ทั้งภำยใน ภำยนอกจังหวัด และต่ำงสังกัดในกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่ำงสม่ำเสมอ และตอ่ เน่ือง
ฉ สรุปผลกำรประเมินคณุ ภำพภำยในสถำนศกึ ษำ โรงเรยี นมัธยมเทศบำล ๔ ประจำปี 2563 ตำมที่โรงเรียนมัธยมเทศบำล ๔ ได้ดำเนินกำรประเมินคุณภำพภำยในสถำนศึกษำ ประจำปี กำรศึกษำ 2563 ตำมระบบกำรประกันคุณภำพภำยในสถำนศึกษำ ประกำศของกระทรวงมหำดไทย โดยจัดทำรำยงำนประจำปีเสนอต่อหน่วยงำนตน้ สงั กัด หน่วยงำนที่เกย่ี วข้อง และเสนอต่อสำธำรณชน เพอื่ นำไปสกู่ ำรพัฒนำคุณภำพตำมมำตรฐำนกำรศึกษำ และเพอ่ื รองรบั กำรประเมินคุณภำพภำยนอก บัดนี้กำรดำเนินกำรประเมนิ คุณภำพภำยในสถำนศึกษำเสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงขอนำเสนอผล กำรประเมนิ คณุ ภำพภำยในสถำนศกึ ษำ แสดงในตำรำง สรุปผลได้ดังน้ี ระดบั กำรศึกษำขน้ั พ้ืนฐำน สรุปผลกำรประเมนิ ภำพรวม กำลงั พัฒนำ ปำนกลำง ดี ดเี ลิศ ยอดเย่ียม มำตรฐำน/ตวั บ่งชี้ ระดับคณุ ภำพ มำตรฐำนท่ี 1 คณุ ภำพของผู้เรียน ดีเลิศ มำตรฐำนที่ 2 กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจัดกำร ดีเลิศ มำตรฐำนที่ 3 กระบวนกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนทเ่ี น้นผเู้ รียนเป็นสำคัญ ดีเลิศ
ช คำนำ รำยงำนกำรประเมินตนเองของสถำนศึกษำ (Self-Assessment Report : SAR) ปีกำรศกึ ษำ 2563 ของโรงเรียนมัธยมเทศบำล ๔ สังกัดกองกำรศึกษำ เทศบำลเมืองสิงห์บุรี ฉบับน้ี จัดทำขึ้นเพ่ือ สรุปผลกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำภำยในสถำนศึกษำ (Self-Assessment Report : SAR) ปีกำรศึกษำ 2563 ของสถำนศึกษำ เพื่อเป็นข้อมูลในกำรพัฒนำและยกระดับคุณภำพมำตรฐำน กำรศกึ ษำของสถำนศกึ ษำใหส้ ูงขน้ึ เนอ้ื หำสำระของเอกสำรประกอบดว้ ย บทสรุปสำหรบั ผู้บรหิ ำร ขอ้ มลู พ้ืนฐำนของสถำนศกึ ษำ ผลกำรประเมินตนเองของสถำนศึกษำ สรุปผล แนวทำงกำรพัฒนำ และควำมต้องกำรกำรช่วยเหลือ กำรปฏบิ ตั ทิ เ่ี ป็นเลิศของสถำนศึกษำ ภำคผนวก ของทงั้ 3 มำตรฐำน โรงเรียนมัธยมเทศบำล ๔ ขอขอบคุณผู้อำนวยกำรโรงเรียน คณะกรรมกำรสถำนศึกษำขั้น พน้ื ฐำนของโรงเรียน คณะครู ผูป้ กครอง ชุมชน และผเู้ กีย่ วข้องทกุ ภำคส่วน ทร่ี ่วมพัฒนำ รว่ มประเมิน คุณภำพ และร่วมจัดทำรำยงำนกำรประเมินตนเองของสถำนศึกษำ (Self-Assessment Report : SAR) ให้สมบูรณ์ครบถ้วน และหวังเปน็ อย่ำงยิง่ ว่ำขอ้ มลู สำรสนเทศและข้อเสนอแนะในรำยงำนฉบบั นี้ จะเป็นประโยชนใ์ นกำรพัฒนำเพื่อยกระดบั คณุ ภำพมำตรฐำนกำรศกึ ษำของสถำนศึกษำให้สูงขน้ึ ต่อไป โรงเรยี นมธั ยมเทศบำล ๔ พฤษภำคม 2564
ซ สำรบญั หน้ำ บทสรปุ สำหรับผบู้ รหิ ำร ........................................................................................................ ก คำนำ ........................................................................................................................ ............. ช สำรบญั .................................................................................................................................. ซ สว่ นท่ี 1 ข้อมลู พ้นื ฐำน ................................................................................................. ......... 1 สว่ นที่ 2 ผลกำรประเมนิ ตนเองของสถำนศกึ ษำ .................................................................... 27 สว่ นที่ 3 สรุปผล แนวทำงกำรพฒั นำ และควำมตอ้ งกำรกำรชว่ ยเหลอื ................................ 35 ส่วนที่ 4 วิธปี ฏบิ ัตทิ เี่ ปน็ เลิศของสถำนศึกษำ ........................................................................ 38 ภำคผนวก ..................................................................................................................... ........ 44
ส่วนที่ 1 ข้อมลู พืน้ ฐาน 1. ขอ้ มูลทั่วไป โรงเรยี นมธั ยมเทศบาล ๔ ตง้ั อยู่ถนนสายอา่ งทอง-ชัยนาท (สายเก่า) หมู่ท่ี 1 ตาบลบางพุทรา อาเภอเมอื งสงิ ห์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี รหสั ไปรษณีย์ 16000 โทรศพั ท/์ โทรสาร 0 3652 0663 E-mail : [email protected] Website : www.mt4.ac.th สังกดั เทศบาลเมอื งสิงห์บุรี อาเภอเมืองสิงห์บุรี จังหวดั สิงห์บุรี เปิดสอนระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 ถงึ ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 6 จานวน 9 หอ้ งเรยี น โรงเรยี นมีเนอ้ื ท่ี 5 ไร่ 1 งาน 92 ตารางวา ประวัตคิ วามเป็นมาโรงเรยี น(โดยสังเขป) โรงเรียนมัธยมเทศบาล ๔ เดิมช่ือ โรงเรียนเทศบาล ๔ (รักษ์เมืองสิงห์) ซ่ึงแยกการจัดการ เรียนการสอนระดับมัธยมศึกษามาจากโรงเรียนอนุบาลเทศบาล ๓ (พรหมรวมมิตร) ตามมติสภาสมัย สามญั ประจาปี 2548 คร้ังท่ี 1/2548 ลงวันท่ี 5 มกราคม 2548 โดยมปี ระกาศจัดต้ังอยา่ งเป็นทางการ เมื่อวันท่ี 1 พฤษภาคม 2549 เพ่ือจัดการเรียนการสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ซึ่งในปี การศึกษา 2549 เร่ิมจัดการเรียนการสอนในระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 จากน้ันในปีการศึกษา 2550 ไดโ้ อนยา้ ยนกั เรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 - 3 จากโรงเรยี นเทศบาล ๑ วัดโพธิ์แกว้ นพคุณมา โรงเรียนมัธยมเทศบาล ๔ ตั้งอยู่ในท่ีดินเลขที่ 466 ระวาง 18 น. 6 ฎ ตาบลบางพุทรา อาเภอเมือง จังหวัดสิงห์บุรี 16000 มีเนื้อที่ประมาณ 2 ไร่ 40 ตร.วา มีอาคารเรียน คสล. 4/12 จานวน 2 หลัง และเมื่อวันท่ี 12 พฤษภาคม 2553 เทศบาลเมืองสิงห์บุรีได้ทาหนังสือสัญญาซ้ือท่ีดิน เลขท่ี 31 ระวาง 503815044-7 มีเนื้อที่ประมาณ 3 ไร่ 1 งาน 52 ตร.วา ได้อาคารเรียน คสล. 4/12 เพิม่ จานวน 1 หลัง ซึ่งมหี อประชุมพรอ้ มครภุ ณั ฑภ์ ายในอาคาร เมื่อปี พ.ศ. 2554 รวมโรงเรยี นมเี นื้อที่ ท้ังหมด 5 ไร่ 1 งาน 92 ตร.วา ปีการศึกษา 2551 ได้รับมอบอาคารเรียน 4 ช้ัน ใต้ถุนโล่ง จากโรงเรียนอนุบาลเทศบาล ๓ (พรหมรวมมิตร) ห้องเรียน 5 ห้อง ห้องพิเศษ 7 ห้อง รวม 12 ห้อง จานวน 1 หลัง สร้างจาก งบประมาณของสานักบริหารการศกึ ษาสว่ นท้องถ่นิ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ปีการศึกษา 2552 ได้รับมอบอาคารเรียน 4 ชั้น ใต้ถุนโล่ง ห้องเรียน 10 ห้อง ห้องพิเศษ 2 ห้อง รวม 12 ห้อง จานวน 1 หลัง สร้างจากงบประมาณของสานักงานบริหารการศึกษาส่วนท้องถิ่น กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ปีการศึกษา 2555 ได้รับงบประมาณจัดทาห้องศูนย์การเรียนรู้การท่องเที่ยว จานวน 100,000 บาท จากการท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย ได้รับงบประมาณจากกรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่นให้จัดทาห้องปฏิบัติการฟิสิกส์ และห้องโสตทัศนูปกรณ์ ซึ่งจัดตั้งอยู่ในอาคารญาณสัมปัน โน โรงเรียนเทศบาล ๔ (รักษเ์ มืองสิงห)์ ปกี ารศึกษา 2557 ได้รับมอบอาคารอเนกประสงค์ (ตอกเสาเข็ม) ตามแบบ สน.ศท. ช้ันลอย สร้างจากงบประมาณขอ งสานักงานบริหารการศึกษาส่วนท้องถ่ิน กรมการปกครอง 1
กระทรวงมหาดไทย จานวน 7,710,000 บาท เม่อื วนั ท่ี 9 ธันวาคม 2557 แลว้ เสร็จตามกาหนดสัญญา เมื่อวนั ท่ี 6 สิงหาคม 2558 และทาพิธีเปดิ อาคารอเนกประสงคเ์ มือ่ วันที่ 8 มกราคม 2559 วันท่ี 29 กันยายน 2551 นายเฉลิมศักด์ิ ศรีชานิ ได้รับคาสั่งเทศบาลเมืองสิงห์บุรีที่ 608/2549 ให้ดารงตาแหน่งรักษาการในตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษาโรงเรียนเทศบาล ๔ (รักษ์ เมืองสิงห)์ ดแู ลรบั ผดิ ชอบทรพั ยส์ นิ ของโรงเรยี น วันท่ี 28 พฤศจิกายน 2551 นายสุรพล แทนเต ตาแหน่งรองผู้อานวยการสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลเทศบาล ๓ (พรหมรวมมิตร) ได้รับคาส่ังเทศบาลเมืองสิงห์บุรีที่ 621/2551 ให้ดารง ตาแหนง่ รักษาการในตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษาโรงเรยี นเทศบาล ๔ (รักษเ์ มอื งสงิ ห)์ วันท่ี 20 พฤษภาคม 2552 นายอมั พร ชนะกลุ ตาแหนง่ รองผ้อู านวยการสถานศกึ ษาโรงเรยี น อนุบาลเทศบาล ๓ (พรหมรวมมิตร) ได้รับคาสั่งเทศบาลเมืองสิงห์บุรี 219/2552 ให้ดารงตาแหน่ง รักษาการตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษาโรงเรียนเทศบาล ๔ (รักษ์เมืองสิงห์) และเมื่อวันที่ 8 มกราคม 2553 นายอัมพร ชนะกุล ได้รับคาสั่งเทศบาลเมืองสิงห์บุรีที่ 632/2553 ให้ดารงตาแหน่ง ผู้อานวยการสถานศึกษาโรงเรียนเทศบาล ๔ (รักษ์เมืองสงิ ห์) วันที่ 1 ตุลาคม 2554 นายธีรพงศ์ ศรีประเสริฐ ตาแหน่งรองผู้อานวยการสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลเทศบาล ๓ (พรหมรวมมิตร) ได้รับคาสั่งเทศบาลเมืองสิงห์บุรีท่ี 439/2554 ให้ดารง ตาแหน่งรักษาการตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษาโรงเรียนเทศบาล ๔ (รักษ์เมืองสิงห์) ซ่ึงในปีนี้ได้ ขอขยายเพิม่ ชน้ั เรียนเพือ่ จดั การเรยี นการสอนในระดบั มัธยมศึกษาปีที่ 4-6 วันท่ี 12 เมษายน 2555 นายธีรพงศ์ ศรีประเสริฐ ตาแหน่งรองผู้อานวยการสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลเทศบาล ๓ (พรหมรวมมิตร) ได้รับคาส่ังเทศบาลเมืองสิงห์บุรีที่ 150/2555 ให้ดารง ตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษาโรงเรียนเทศบาล ๔ (รักษ์เมืองสิงห์) ทั้งนี้ ต้ังแต่วันท่ี 8 มีนาคม 2555 วันท่ี 26 กันยายน 2556 เทศบาลเมืองสิงห์บุรี ในสมัยนายณรงค์ศกั ดิ์ วิงวอน ดารงตาแหน่ง นายกเทศมนตรีเมืองสิงห์บุรี ได้มีมติในที่ประชุมสภาเทศบาลสมัยสามัญสมัยท่ีสี่ คร้ังที่ 1 ประจาปี พ.ศ.2556 ให้เปลี่ยนช่ือสถานศึกษาจากโรงเรียนเทศบาล ๔ (รักษ์เมืองสิงห์) เป็น “โรงเรียนมัธยม เทศบาล ๔” ตามประกาศเทศบาลเมอื งสิงห์บุรี ลงประกาศวนั ที่ 20 พฤศจิกายน 2556 เมื่อวันท่ี ๘ สิงาคม ๒๕๖๐ เทศบาลเมืองสิงห์บุรี ได้รับโอน/ย้าย นายอานาจ นาคแก้ว ผู้อานวยการโรงเรียนเสนาบดี สังกัดเทศบาลเมืองเสนา ให้มาดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียน มัธยมเทศบาล ๔ จนถึงปัจจุบนั 2
2. ข้อมูลผ้บู รหิ าร 1) ผู้อานวยการสถานศกึ ษา : นายอานาจ นาคแก้ว วฒุ กิ ารศึกษาสงู สุด : ค.ม. (ครุศาสตรมหาบัณฑิต) สาขา : การบริหารการศึกษา โทรศพั ท์ : 01 1150 8549 e-mail : [email protected] ดารงตาแหน่งที่โรงเรยี นน้ีต้ังแต่ วันท่ี 8 สิงหาคม พ.ศ. 2560 จนถงึ ปจั จุบัน เปน็ เวลา 3 ปี 9 เดือน 3. ขอ้ มูลครูและบุคลากรสนับสนุนการสอน 3.1 ข้าราชการครู/พนักงานครู จานวน ที่ ช่ือ – ช่ือสกลุ อายุ วฒุ ิ สาขาวชิ สอนกลุ่ม ภาระ ชั่วโมง อายุราชการ า สาระ งานสอน ที่เข้ารบั ตาแหน่ง/ ิวทยฐานะ การ (ชั่วโมง/ เรียนร/ู้ สัปดาห์) การ ชน้ั พฒั นา (ปี ปัจจุบนั ) 1 น.ส.ณชิ าภา หอมกรนุ่ 47 21 ครูคศ. 3 ศษ.ม. การบรหิ าร วิทยาศาสตร์ 17 44 การศกึ ษา 2 นายจามร นาคประสม 45 16 ครคู ศ. 3 ศษ.ม. การบรหิ าร สขุ ศกึ ษา 14 44 การศึกษา 3 นางจันทร์นภิ า เย็นทรวง 54 25 ครูคศ. 3 คบ. คหกรรม การงาน 17 44 4 นางบุญตา แก้วเกิด 55 28 ครูคศ. 3 ศษ.ม. การบริหาร คณิตศาสตร์ 16 44 การศกึ ษา 5 นางบญุ นา เชือ้ ปุย 58 28 ครูคศ. 3 คบ. ภาษา ภาษา 20 44 อังกฤษ องั กฤษ 6 นางวาสนา แทนเต 57 34 ครคู ศ. 3 กศ.บ. ภาษา ภาษาไทย 20 44 ไทย 7 นายไพศาล จรุงพันธ์ 55 28 ครูคศ. 3 ค.บ. สงั คม สังคมศกึ ษา 20 44 ศึกษา 8 น.ส.สายฝน บษุ บรรณ์ 52 24 ครคู ศ. 3 ศษ.ม. ภาษา ภาษา 18 44 องั กฤษ อังกฤษ 9 นางหยาดรงุ้ จงรกั พงศเ์ ผ่า 52 28 ครคู ศ. 3 คบ. วทิ ยา วทิ ยาศาสตร์ 18 44 ศาสตร์ 10 น.ส.พจนารถ เอมน้อย 45 15 ครคู ศ. 2 ศษ.ม. บริหาร คณิตศาสตร์ 18 44 การศึกษา 11 นายพสิ ุทธิศักดิ์ มามเี จรญิ ภัช 43 14 ครคู ศ. 2 คบ. วทิ ยา วิทยาศาสตร์ 18 44 ศาสตร์ 12 นายมณู ออ่ นแป้น 43 20 ครคู ศ. 3 ศษ.ม. บริหาร วทิ ยาศาสตร์ 18 44 การศึกษา 13 นายเดชาชยั สจุ รติ จนั ทร์ 43 18 ครคู ศ. 3 คม. หลักสูตร ศิลปะ 18 44 การสอน 3
3.2 พนกั งานจา้ ง(ปฏบิ ัติหนา้ ทสี่ อน) จานวน ท่ี ช่อื – ชือ่ สกุล อายุ วุฒิ สอนกลมุ่ จา้ งดว้ ย ภาระ ชั่วโมง อายุงาน สาระ เงิน งานสอน ทเ่ี ข้ารบั 1 นางอนรรฆวี ขาเจริญ สาขา ิวชา การเรยี นรู/้ (ชว่ั โมง/ 2 นายจริ ะญดา โตงาม ชน้ั สัปดาห)์ การ 3 นายธรี วุฒิ แก้วทอง พฒั นา 4 น.ส.ยิษฐา จนิ ะเทศ 5 นายโสภณ ทองมี (ปี ปัจจบุ นั ) 58 21 คบ. ภาษาไทย ภาษาไทย เทศบาล 21 44 35 9 ศศ.บ. สังคมศกึ ษา สังคมศึกษา เทศบาล 21 44 33 5 ศศ.บ. วศิ วประยกุ ต์ ศลิ ปะ/การงาน เทศบาล 11 44 32 3 วศ.บ. วศิ วกรรมเคมี วิทยาศาสตร์ เทศบาล 17 44 31 6 คบ. พลศึกษา พลศึกษา เทศบาล 20 44 3.3 ขา้ ราชการ/พนกั งานจา้ ง/ลกู จา้ ง (สนับสนนุ การสอน) ท่ี ชอ่ื – ชอ่ื สกลุ อายุ ตาแหน่ง วุฒิ สาขา ปฏิบัติหน้าที่ จา้ งดว้ ยเงนิ 1 นายทรงคุณ วิลยั เกษ 51 พนง.ภารกิจ ปวส. บัญชี จนท.การเงิน กรมส่งเสริมฯ 2 น.ส.ดุษฎี พวงเงิน 38 พนง.ท่ัวไป บธ.บ. การจัดการทว่ั ไป จนท.ธุรการ เทศบาล 3 นายพชิ ิต สุคนธภกั ดี 56 พนง.ทว่ั ไป ป.4 - นกั การฯ เทศบาล 4 นายนพดล ดว้ งวงษ์ 36 พนง.ทวั่ ไป ปวส. นกั การฯ เทศบาล 3.4 สรุปจานวนบคุ ลากร 3.4.1 จานวนบคุ ลากรจาแนกตามประเภท/ตาแหนง่ และวฒุ กิ ารศกึ ษา จานวนบคุ ลากร (คน) ประเภท/ตาแหน่ง ต่ากวา่ ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก รวม ปริญญาตรี 1. ผบู้ ริหารสถานศึกษา - ผู้อานวยการ - - 1 -1 - รองผ้อู านวยการ -- - -- รวม - - 1 -1 2. สายงานการสอน - ข้าราชการ/พนักงานครู - 6 7 - 13 - พนักงานจา้ ง(สอน) -5 - -5 - อนื่ ๆ (ระบ)ุ - 11 - - รวม - 11 7 - 18 3. สายงานสนับสนนุ การสอน - พนักงานจ้างตามภารกจิ 1 - - -1 - พนกั งานจ้างทัว่ ไป 21 - -3 - ลูกจา้ งประจา -- - - - อนื่ ๆ (ระบ)ุ -- - - รวม 3 1 - -4 รวมทง้ั ส้ิน 3 12 8 - 23 4
แผนภูมแิ สดงร้อยละของวุฒิการศกึ ษาสูงสดุ ของบุคลากร 0 3 8 12 ต่ากวา่ ปรญิ ญาตรี ปริญญาตรี ปรญิ ญาโท ปริญญาเอก แผนภูมิแสดงร้อยละของบคุ ลากรจาแนกตามประเภทตาแหนง่ 41 18 ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา สายงานการสอน สายงานสนับสนุนการสอน 5
3.4.2 จานวนครูจาแนกตามกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ จานวน คิดเป็น จานวนช่ัวโมงสอนเฉล่ยี รอ้ ยละ ชัว่ โมง/สัปดาห์ ภาษาไทย 2 คณติ ศาสตร์ 2 11.11 ของครูภายในกลมุ่ สาระฯ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4 11.11 21 สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2 22.22 17 สขุ ศึกษาและพลศึกษา 2 11.11 18 ศิลปะ 2 11.11 21 การงานอาชพี 1 11.11 17 ภาษาต่างประเทศ 2 5.88 15 กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี น 1 11.11 17 18 5.55 19 รวมครูผู้สอนทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ 100.00 18 แผนภูมิแสดงร้อยละของครูจาแนกตามกลมุ่ สสาระการเรียนรู้ กจิ กรรมพฒั นาฯ 5.55 22.22 ภาษาตา่ งประเทศ 11.11 25 การงานอาชีพ 5.88 ศิลปะ 11.11 11.11 สุขศึกษาฯ 11.11 สงั คมศึกษาฯ วทิ ยาศาสตรฯ์ 11.11 คณิตศาสตร์ 11.11 ภาษาไทย 0 5 10 15 20 6
4. ขอ้ มูลนกั เรยี น (ณ วันท่ี ๑๐ มิถุนายน ของปกี ารศกึ ษาทร่ี ายงาน) 4.1 จานวนนักเรียนในโรงเรียน ปีการศึกษา 2563 ทั้งสิ้น 243 คน จาแนกตามระดับช้ันที่ เปิดสอน ระดบั ช้ันเรยี น เพศ รวม จานวนเฉลยี่ จานวนหอ้ ง ตอ่ หอ้ ง ชาย หญงิ ม. 1 2 29 34 63 31.50 ม. 2 2 25 13 38 19.00 ม. 3 2 37 24 61 30.50 ม. 4 1 22 14 36 36.00 ม. 5 1 16 12 28 28.00 ม. 6 1 11 6 17 17.00 รวมทง้ั สิ้น 9 138 102 243 27.00 จานวนเด็กพิเศษในโรงเรยี น ชาย....-.....คน หญิง......-......คน รวม จานวน......-......คน อัตราสว่ นนกั เรยี น : ครู = 13.50 : 1 เป็นไปตามเกณฑ์ ไมเ่ ปน็ ไปตามเกณฑ์ 4.2 จานวนนกั เรียน เปรียบเทียบ 3 ปีการศึกษาย้อนหลัง ปีการศกึ ษา 2561 - 2563 เปรียบเทยี บจานวนนกั เรียนระดบั ช้นั มัธยมศึกษาตอนตน้ ปีการศึกษา 2561 – 2563 เปรยี บเทยี บจานวนนักเรียนระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ปกี ารศึกษา 2561-2563 ม.3 54 5961 ม.2 38 58 67 ม.1 42 63 62 0 10 20 30 40 50 60 70 80 2561 2562 2563 7
เปรียบเทียบจานวนนักเรียนระดับชน้ั มัธยมศึกษาตอนปลาย ปีการศกึ ษา 2561 - 2563 เปรยี บเทยี บจานวนนักเรยี นระดับช้นั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ปกี ารศกึ ษา 2561-2563 ม.3 17 19 22 ม.2 18 28 28 ม.1 21 32 38 0 5 10 15 20 25 30 35 40 2561 2562 2563 8
5. ขอ้ มูลผลสัมฤทธ์ิทางกรเรยี นในระดับสถานศกึ ษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5.1 สรปุ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นระดับมธั ยมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 25 กล่มุ สาระการเรียนรู้ จานวน จานวนนักเรยี นท่ไี ดร้ บั ผ นกั เรียน 4 3 2.5 2 3.5 ภาษาไทย 212 10 21 30 29 24 คณติ ศาสตร์ 212 12 12 24 25 24 วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 212 9 7 9 16 44 สังคมศึกษา ศาสนาและ 212 59 41 44 24 28 วัฒนธรรม สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 212 48 34 11 8 1 ศิลปะ 212 49 30 24 8 23 การงานอาชีพ 212 62 60 43 20 24 ภาษาตา่ งประเทศ 212 24 15 13 21 23 รวม 1696 273 220 198 151 191 รอ้ ยละ 16.10 12.97 11.67 8.90 11.26
563 ผลการเรียน ผลการ จานวน จานวนนักเรียนท่ี 1.5 1 เรยี น เฉลีย่ S.D. นกั เรยี น ได้ “3” ข้ึนไป 0 รวม ทไ่ี ด้ จานวน ร้อยละ “ร” 21 4 0 139 2.59 0.60 73 61 28.77 22 20 0 139 2.34 0.77 73 48 22.64 49 28 0 162 1.96 0.72 50 25 11.79 10 2 0 208 3.10 0.70 4 144 67.92 102 3.59 0.37 110 93 43.87 9 1 0 144 3.15 0.80 68 103 48.58 2 211 3.26 0.60 1 165 77.83 15 61 0 172 2.15 1.03 40 52 24.53 126 118 0 1277 2.76 0.91 419 691 40.74 7.43 6.96 24.71 100.00 9
5.2 สรปุ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนระดบั มธั ยมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 25 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ จานวน จานวนนักเรียนทไี่ ดร้ ับผ นักเรียน 4 3 2.5 2 3.5 ภาษาไทย 243 18 13 45 28 33 คณิตศาสตร์ 243 11 20 22 39 50 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 243 1 2 13 33 61 สงั คมศกึ ษา ศาสนาและ 243 36 39 65 39 22 วัฒนธรรม สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 243 61 54 35 33 32 ศลิ ปะ 243 63 44 33 56 18 การงานอาชพี 243 18 97 57 26 16 ภาษาตา่ งประเทศ 243 24 16 16 30 44 รวม 1944 232 285 286 284 276 รอ้ ยละ 11.93 14.66 14.71 14.61 14.20
563 ผลการเรียน ผลการ จานวน จานวนนกั เรยี นที่ 1.5 1 เรียน เฉล่ีย S.D. นักเรียน ได้ “3” ขนึ้ ไป 0 รวม ทีไ่ ด้ จานวน รอ้ ยละ “ร” 51 17 0 205 2.35 0.77 38 76 31.28 29 22 0 193 2.30 0.66 50 53 21.81 32 37 0 179 1.90 0.42 64 16 6.58 8 28 0 237 2.77 0.79 6 140 57.61 11 1 0 227 3.09 0.66 16 150 61.73 8 7 0 229 3.06 0.60 14 140 57.61 5 6 0 225 3.08 0.54 18 172 70.78 39 44 0 213 2.19 0.88 30 56 23.05 183 162 0 1708 2.62 0.81 236 803 41.31 9.41 8.33 0.00 87.86 12.14 10
11 6. ข้อมูลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ (O-NET) 6.1 ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ปกี ารศึกษา 2563 6.1.1 คะแนนเฉลี่ยร้อยละ จาแนกตามระดบั ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ 26.70 31.57 ระดับโรงเรยี น 45.74 20.74 29.90 34.16 27.99 30.72 ระดับจงั หวดั 54.84 25.80 30.12 35.19 29.89 34.38 ระดับสังกัด (รร.สังกดั อปท.) 50.38 22.03 ระดับภาค 54.64 25.81 ระดบั ประเทศ 54.29 25.46 คะแนนเฉลีย่ ร้อยละผลการประเมนิ การทดสอบระดบั ชาติ (O-NET) ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 60 54.84 50.38 54.64 54.29 50 45.74 40 31.57 25.829.394.16 27.9390.72 35.19 25.4269.8394.38 30 26.7 22.03 25.8310.12 20.74 20 10 0 ระดับจังหวัด ระดับสงั กัด (รร.สังกัด ระดบั ภาค ระดับประเทศ อปท.) ระดบั โรงเรียน ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ 11
12 6.1.2 เปรียบเทียบผลการทดสอบระดบั ชาติขน้ั พน้ื ฐาน (O-NET) ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ระหว่างปีการศึกษา 2562 – 2563 รายวิชา/ปกี ารศกึ ษา ปกี ารศึกษา ปีการศกึ ษา ผลตา่ งของร้อยละ 2562 2563 ระหวา่ งปกี ารศกึ ษา ภาษาไทย 48.00 45.74 -2.26 คณิตศาสตร์ 22.41 20.74 -1.67 วิทยาศาสตร์ 28.39 26.70 -1.69 ภาษาอังกฤษ 27.14 31.57 +4.43 เปรียบเทยี บผลการทดสอบระดับชาติข้ันพน้ื ฐาน (O-NET) ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ระหวา่ งปกี ารศกึ ษา 2562 – 2563 60 50 48 45.74 40 31.57 27.14 30 22.41 20.74 28.39 26.7 20 10 คณิตศาสตร-์1.67 วิทยาศาสตร-1์ .69 4.43 0 -10 ภาษาไทย-2.26 ภาษาอังกฤษ ปกี ารศกึ ษา 2562 ปกี ารศึกษา 2563 ผลต่างของรอ้ ยละ ระหว่างปกี ารศึกษา 12
13 6.2 ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา 2563 6.2.1 คะแนนเฉลีย่ รอ้ ยละ จาแนกตามระดับ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ สังคม ศึกษา ระดบั โรงเรยี น 28.37 17.08 24.46 20.17 28.60 34.13 ระดับจังหวดั 44.88 26.00 32.01 11.01 33.54 35.87 ระดับสงั กัด (รร.สังกดั อปท.) 38.79 20.86 28.94 8.89 35.93 ระดับภาค 44.72 26.33 32.76 13.99 ระดบั ประเทศ 44.36 26.04 32.68 29.94 คะแนนเฉลี่ยร้อยละผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถของผเู้ รยี นระดับชาติ จาแนกตามระดับ 50 45 44.88 44.7424.36 40 38.79 26 26.3236.04 32.01 32.7362.68 29.94 34.1333.5345.8375.93 35 28.94 28.6 30 28.37 20.86 20.17 25 17.08 24.46 13.99 20 15 11.01 10 8.89 5 0 คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ สงั คมศึกษา ภาษาไทย ระดับโรงเรียน ระดบั จงั หวัด ระดับสังกัด (รร.สังกัด อปท.) ระดับภาค ระดับประเทศ 13
14 6.2.2 เปรยี บเทียบผลการทดสอบระดับชาติข้นั พน้ื ฐาน (O-NET) ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 6 ระหวา่ งปกี ารศึกษา 2562 – 2563 รายวิชา/ปีการศกึ ษา ปีการศึกษา ปีการศกึ ษา ผลตา่ งของร้อยละ 2562 2563 ระหวา่ งปกี ารศกึ ษา ภาษาไทย 25.39 28.37 +2.98 คณิตศาสตร์ 15.53 17.08 +1.55 วิทยาศาสตร์ 23.42 24.46 +1.04 สังคมศกึ ษา 28.58 20.17 -8.41 ภาษาอังกฤษ 20.76 28.60 +7.84 เปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาติขนั้ พนื้ ฐาน (O-NET) ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 ระหว่างปกี ารศกึ ษา 2562 – 2563 35 23.4224.46 28.58 28.6 30 28.37 20.17 20.76 25.39 15.5317.08 25 20 15 10 7.84 5 2.98 1.55 1.04 0 -5 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ภาษาองั กฤษ -10 -8.41 -15 ปกี ารศกึ ษา 2562 ปีการศึกษา 2563 ผลตา่ งของรอ้ ยละ ระหวา่ งปกี ารศึกษา 14
15 7. ข้อมูลนักเรียนด้านอนื่ ๆ ท่ี รายการ จานวน คิดเปน็ (คน) ร้อยละ* ๑. จานวนนักเรยี นมนี ้าหนัก ส่วนสูง และสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ รวมทั้ง 243 100.00 รจู้ กั ดูแลตนเองให้มีความปลอดภยั 243 100.00 ๒. จานวนนักเรียนท่ีปลอดจากปัญหาทางเพศ ยาเสพติด และสิ่งมอมเมา เช่น 3 1.24 4 1.65 สุรา บหุ ร่ี เครื่องดม่ื แอลกอฮอล์ เกม ฯลฯ 0 0.00 25 10.29 ๓. จานวนนกั เรยี นท่ีมคี วามบกพรอ่ งทางร่างกาย/เรยี นร่วม 1 0.41 31 12.76 ๔. จานวนนกั เรยี นมีภาวะทุพโภชนาการ 5 2.06 49 87.5 ๕. จานวนนักเรียนท่มี ีปัญญาเลศิ 15 93.75 ๖. จานวนนกั เรยี นที่ต้องการความชว่ ยเหลือเป็นพเิ ศษ ๗. จานวนนักเรียนทอ่ี อกกลางคัน (ปีการศกึ ษาปัจจบุ ัน) ๘. จานวนนักเรยี นทม่ี เี วลาเรยี นไม่ถึงรอ้ ยละ ๘๐ ๙. จานวนนกั เรยี นทเ่ี รยี นซ้าชั้น ๑๐. จานวนนักเรียนที่จบหลกั สตู ร มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศกึ ษาตอนปลาย หมายเหตุ: รอ้ ยละของนักเรียนทงั้ หมด 8. ข้อมูลอาคารสถานท่ี รายการ จานวน ท่ี 3 หลัง ๑. อาคารเรยี น 1 หลงั ๒. อาคารประกอบ 1 ห้อง ๓. หอ้ งนา้ /ห้องส้วม 1 สนาม ๔. สนามกีฬา 30 สนาม ๕. สนามกีฬาเปตอง 9. ขอ้ มูลสภาพชุมชนโดยรวม 9.1 สภาพชมุ ชนรอบบริเวณโรงเรียน เทศบาลเมอื งสงิ หบ์ ุรี เปน็ เทศบาลเมอื งแหง่ หน่ึงอยใู่ นอาเภอเมอื งสิงห์บุรี จงั หวัดสิงหบ์ ุรี เป็น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นท่ีต้ังศาลากลางจังหวัดสิงห์บุรี และเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและการ ขนส่งของจังหวัด มีพื้นท่ี 7.81 ตารางกโิ ลเมตร ครอบคลุมตาบลบางพุทราทง้ั ตาบล และบางส่วนของ ตาบลบางมัญ ตาบลม่วงหมู่ ตาบลต้นโพธิ์ และตาบลบางกระบือ มีประชากรในปี พ.ศ. 2563 จานวน 17,421 คน ตัวเทศบาลเป็นที่ราบริมฝ่ังน้า ย่านเศรษฐกิจอยู่ฝ่ังขวาของแม่น้าเจ้าพระยาเทศบาลเมือง สิงห์บุรี ต้ังอยู่ในอาเภอเมืองสิงห์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครโดยทางรถยนต์ ประมาณ 142 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัดลพบุรีประมาณ 26 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัดอ่างทอง 15
16 ประมาณ 41 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัดชัยนาทประมาณ 55 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัดสุพรรณบุรี ประมาณ 90 กิโลเมตร และห่างจากจังหวัดนครสวรรค์ประมาณ 95 กิโลเมตร มีพ้ืนที่ 7.81 ตาราง กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกบั พนื้ ทใ่ี กลเ้ คยี ง ดังนี้ ทศิ เหนอื ติดตอ่ กบั องค์การบริหารส่วนตาบลบางกระบือ อาเภอเมือง จงั หวัดสงิ หบ์ ุรี ทศิ ใต้ ติดตอ่ กับองค์การบรหิ ารสว่ นตาบลตน้ โพธิ์ อาเภอเมือง จังหวดั สงิ ห์บุรี ทิศตะวนั ออก ติดต่อกบั องค์การบริหารสว่ นตาบลบางมัญ อาเภอเมอื ง จังหวัดสิงหบ์ ุรี ทศิ ตะวันตก ตดิ ตอ่ กับองคก์ ารบริหารส่วนตาบลต้นโพธิ์ อาเภอเมือง จังหวัดสิงห์บุรี ในเขตเทศบาลมีจานวนประชากรชาย 8,098 คน จานวนประชากรหญิง 9,323 คน รวม จานวนประชากรทั้งสิ้น 17,421 คน มีจานวนครัวเรือน 9,027 ครัวเรือน จานวนชุมชน 13 ชุมชน ได้แก่ 1. ชุมชนวัดเสฐียรวฒั นดษิ ฐ์ 8. ชมุ ชนวัดโพธแิ์ ก้วนพคณุ 2. ชุมชนวัดตึกราชา 9. ชุมชนชาวตลาดสงิ ห์บุรี 3. ชุมชนวดั สังฆราชาวาส 10. ชุมชนวิทยาลยั เทคนิค 4. ชมุ ชนวดั โพธิข์ า้ วผอก 11. ชมุ ชนบ้านบางแคใน 5. ชมุ ชนวัดหัววา่ ว 12. ชมุ ชนบ้านบางแคนอก 6. ชุมชนวดั สว่างอารมณ์ 13. ชมุ ชนบ้านบางกระบือ 7. ชมุ ชนวดั พรหมสาคร 9.2 ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับต่ากว่าปริญญาตรี มีอาชีพหลักคือภาคเกษตรกรรม และรับจ้างในสถานประกอบการ ส่วนใหญ่นบั ถอื ศาสนาพุทธ ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายได้โดยเฉลยี่ ต่อ ครอบครัว ต่อปี 313,344 บาท 9.3 โอกาสและข้อจากัดของโรงเรียน โอกาส โรงเรียนมัธยมเทศบาล ๔ มีคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานที่เข้มแข็ง ให้การ ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา รวมทั้งต้นสังกัด คือเทศบาลเมืองสิงห์บุรี ให้การ สนับสนุนสถานศึกษาเป็นอย่างดีท้ังด้านงบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ ยานพาหนะและบุคลากร สถานศกึ ษามีทาเลท่ีตง้ั เหมาะสม การคมนาคมสะดวกและใกลแ้ หล่งเรยี นรู้ ขอ้ จากดั เน่อื งจากสถานศึกษาเป็นโรงเรียนมธั ยมศกึ ษาขนาดเล็ก ผปู้ กครองและนักเรียนมัก นิยมไปศึกษาในสถานศึกษาที่เป็นที่นิยมและมีชื่อเสียง ทาให้นักเรียนท่ีเข้ามาศึกษาจานวนหน่ึงมีพ้ืน ฐานความรู้ค่อนข้างต่า และส่งผลต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ทาให้โรงเรียนมีข้อจากัดและต้องใช้ ความพยายามในการพัฒนายกระดับคุณภาพของผู้เรียน ด้านสถานที่มีความคับแคบไม่สามารถเพิ่ม หรือขยายสิง่ กอ่ สร้างได้ รวมไปถึงสนามกีฬามีคอ่ นข้างจากัด 16
17 10. โครงสร้างหลักสตู รสถานศึกษา โรงเรียนมัธยมเทศบาล ๔ จัดสอนตามหลักสูตรสถานศึกษาตามแกนกลางการศึกษาขั้น พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยโรงเรียนได้จัดสัดส่วนสาระการเรียนรู้และเวลาเรียน ดังแสดงใน ตาราง ดงั น้ี กลุ่มสาระการเรยี นรู้ จานวนชัว่ โมง / ภาคเรยี น ม. 1 ม. 2 ม. 3 ม. 4 ม. 5 ม. 6 ภาษาไทย 60 60 60 40 40 40 คณติ ศาสตร์ 60 60 60 40 40 40 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 60 60 60 40 40 40 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 60 60 60 40 40 40 ประวตั ศิ าสตร์ 20 20 20 - 20 20 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 40 40 40 20 20 20 ศลิ ปะ 40 40 40 20 20 20 การงานอาชีพ 40 40 40 20 20 20 ภาษาตา่ งประเทศ 60 60 60 40 40 40 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 60 60 60 60 60 60 รวมชัว่ โมง 420 420 420 320 340 340 จานวนชัว่ โมงทีจ่ ดั ให้กับนักเรียน เรียนทัง้ ปี เทา่ กับ ชัว่ ใง แผนการเรียน/จุดเน้นการพัฒนาผู้เรียนท่ีโรงเรียนเน้นเป็นพิเศษ ได้แก่ หลักสูตรเปตองสู่ ความเปน็ เลิศ การเรยี นร้ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 11. แหลง่ เรยี นรู้ ภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่น 11.1 ห้องสมุด มีพ้ืนท่ีขนาด 198 ตารางเมตร หนังสือในห้องสมุดมีจานวน 12,147 เล่ม มี วารสาร/หนังสือพิมพ์ให้บริการจานวน 2 ฉบับ/วัน/สัปดาห์/เดือน การสืบค้นหนังสือและการยืม-คืน มีจานวนนักเรียนท่ีใชห้ ้องสมุด (ในปีการศึกษาทีร่ ายงาน) เฉลี่ย 120 คน ต่อวัน คดิ เป็นร้อยละ 47.05 ของนกั เรียนทัง้ หมด มีการใช้บรกิ ารสบื คน้ ขอ้ มลู ทางอินเตอร์เนต็ แกน่ กั เรียนและชุมชน 11.2 ห้องปฏบิ ตั ิการ มีทั้งหมด 2 ห้อง จาแนกเปน็ 1) ห้องปฏบิ ตั ิการวทิ ยาศาสตร์ จานวน 2 หอ้ ง 2) ห้องปฏบิ ตั ิการคอมพวิ เตอร์ จานวน 1 ห้อง 11.3 เครอื่ งคอมพิวเตอร์ มีทั้งหมด 1) ใชเ้ พอ่ื การเรยี นการสอน จานวน 28 เครื่อง 2) ใชเ้ พือ่ ใหบ้ ริการสืบคน้ ขอ้ มูลทางอินเตอรเ์ น็ต จานวน 5 เครอ่ื ง โดยมีจานวนนักเรียนท่ีใช้บริการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต (ในปีการศึกษาที่ รายงาน) เฉลยี่ 200 คน ตอ่ วนั คิดเป็นร้อยละ 78.43 ของนกั เรียนทัง้ หมด 3) ใชเ้ พอื่ สนบั สนนุ การบริหารสถานศกึ ษา (สานักงาน) จานวน 7 เคร่ือง 17
18 11.4 แหล่งเรียนรภู้ ายในโรงเรยี น สถิตกิ ารใช้ จานวนครงั้ / ปี ชอ่ื แหล่งเรยี นรู้ 200 ศูนยก์ ารเรียนรู้ดา้ นการท่องเท่ียว 200 ศูนย์การเรยี นร้อู าเซยี นศึกษา 200 ศูนยก์ ารเรียนรเู้ ฉลิมพระเกยี รตฯิ 200 ห้องพิพิธภณั ฑโ์ รงเรียนมธั ยมเทศบาล ๔ 200 สวนเกษตรพอเพยี ง 11.5 แหล่งเรียนร้ภู ายนอกโรงเรยี น สถติ ิการใช้ ชอ่ื แหล่งเรยี นรู้ จานวนครง้ั / ปี พิพิธภัณฑ์หนงั ใหญ่ วดั สวา่ งอารมณ์ 2 11.6 ภูมิปัญญาท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้ทรงคุณวุฒิ วิทยากร ท่ีสถานศึกษาเชิญมาให้ ความรูแ้ กค่ รู นักเรยี น (ในปีการศกึ ษาท่ีรายงาน) ชอื่ – สกลุ ใหค้ วามรเู้ ร่ือง จานวนคร้งั /ปี คณุ บุญชู นัดพา ภมู ปิ ัญญทอ้ งถิน่ เรอื่ ง การทากระยา 1 สารทข้าวไรซเ์ บอรร์ ี 12. ผลงานดเี ดน่ ในรอบปที ่ีผา่ นมา 12.1 ผลงานดีเด่น ประเภท ระดบั รางวลั /ชื่อรางวัลท่ี หนว่ ยงานที่ให้ ได้รับ/วนั ทไ่ี ดร้ บั นางบุญนา เชอิ้ ปยุ ครูผู้พัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการ เทศบาลเมอื งสิงห์บุรี เรยี นสงู ข้นึ นางบญุ ตา แก้วเกดิ ครูผู้อุทิศตนปฏิบตั ิงานโดยไม่มี เทศบาลเมอื งสิงหบ์ ุรี วนั ลา นางจันทร์นิภา เยน็ ทรวง ครูผอู้ ุทศิ ตนปฏิบตั งิ านโดยไม่มี เทศบาลเมืองสงิ หบ์ ุรี วนั ลา นางหยาดรุ้ง จงรกั พงศ์เผ่า ครผู อู้ ุทิศตนปฏบิ ตั ิงานโดยไม่มี เทศบาลเมืองสงิ ห์บรุ ี วันลา นายรัชตะ คาดี เหรียญทองแดง เปตองชิง สมาพนั ธเ์ ปตองโลก แชมป์โลก 18
19 12.2 งาน/โครงการ/กิจกรรม/ผลงานท่ีประสบผลสาเรจ็ จนได้รับการยอมรับ หรอื เป็นตัวอยา่ ง การปฏิบตั ิ ชอ่ื งาน/โครงการ/กิจกรรม ฯลฯ อธบิ ายตวั บ่งช้คี วามสาเรจ็ หรือระดับความสาเร็จ โครงการส่งเสริมและพัฒนากีฬาเปตองสู่ความ โรงเรียนได้นาผลจากการวิจัยการส่งเสริมความ เป็นเลิศ เป็นเลศิ ด้านกีฬาเปตอง พบวา่ มีปจั จัยทีน่ าไปสู่ ความสาเร็จทั้งหมด 10 ด้าน จึงนาผลการวิจัย ม า ใ ช้ ใ น ก า ร ว า ง แ ผ น พั ฒ น า จ น ป ร ะ ส บ ความสาเรจ็ โครงการบ้านเล็กในโรงเรยี นของเรา นักเรียนและครูพ่อครูแม่ทุกหมู่บ้านตระหนัก และเห็นความสาคัญต่อการส่งเสริมพฤติกรรมที่ พึงประสงค์ของนักเรียน จึงได้ร่วมมือกันดาเนิน กิจกรรมในหมู่บ้าน เช่น การร่วมกันดูแลรักษา ความสะอาดในพ้ืนที่ของหมู่บ้าน การร่วมกัน พัฒนาแหล่งเรียนรู้ ตลอดจนการร่วมกิจกรรม ทางวชิ าการ ฯลฯ โครงการเปดิ โลกวิชาการมธั ยมเทศบาล ๔ นักเรียนและครูได้แสดงผลงาน นวัตกรรมและ เข้าร่วมแข่งขันทักษะตามความถนัดและสนใจ นอกจากนี้ผูป้ กครองและชุมชนยงั มีโอกาสได้เข้า ร่วมชมและร่วมแสดงความยินดีต่อผลงานของ นกั เรยี น ครแู ละโรงเรียน โครงการเรยี นรู้สู่โลกกวา้ ง นักเรียนมีพฤติกรรมของการเป็นบุคคลแห่งการ เรียนรู้พรอ้ มที่จะเผชญิ ต่อบทเรียนทที่ ้าทายและ ร่วมกันวางแผน ตลอดจนสามารถสังเคราะห์ ความรู้ทีไ่ ด้รับผา่ นกระบวนการเขียนเพอ่ื สื่อสาร ได้ โครงการโรงเรยี นพอเพียงท้องถิ่น ผลจากการจดทาแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนที่ ส น อ ง ต่ อ ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ผู้ เ รี ย น ถึ ง ค ว า ม พอเพียง ปรากฏผลต่อการได้รับการรับรองจา กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นคัดเลือกให้เป็น สถานศกึ ษาพอเพียง โครงการประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนจัดระบบการบริหารแบบ PDCA ท่ี ร่วมกันรับผิดชอบต่อการดาเนินงานทุกด้าน ควบคู่กับการดาเนินตามหลักธรรมาภิบาล เน้น การมสี ว่ นร่วมและความพอเพียง 19
20 13. ผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษาในปที ผี่ า่ นมา ปกี ารศกึ ษา 2562 (ปีทแ่ี ลว้ ) ระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน มาตรฐาน / ประเดน็ การพิจารณา สรปุ ผล การประเมนิ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผ้เู รยี น ดีเลศิ 1.1 ผลสมั ฤทธิท์ างวิชาการของผู้เรยี น ดี 1) มคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน การสือ่ สารและการคดิ คานวณ ดี 2) มีความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย ดี แลกเปลย่ี นความคิดเหน็ และแก้ปญั หา 3) มีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม ดี 4) มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร ดเี ลิศ 5) มผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา ดี 6) มีความรู้ ทกั ษะพ้ืนฐานและเจตคติท่ดี ีต่องานอาชีพ ดเี ลศิ 1.2 คุณลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ของนกั เรยี น ดีเลิศ 1) การมีคุณลกั ษณะและคา่ นิยมท่ดี ีตามที่สถานศกึ ษากาหนด ดีเลิศ 2) ความภมู ิใจในท้องถ่ินและความเป็นไทย ยอดเยย่ี ม 3) การยอมรบั ทจี่ ะอยู่ร่วมกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย ดเี ลิศ 4) สขุ ภาวะทางร่างกายและลักษณะจติ สงั คม ดีเลิศ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ดเี ลิศ 2.1 การมีเปา้ หมาย วสิ ัยทัศน์และพนั ธกจิ ท่สี ถานศึกษากาหนดชัดเจน ดเี ลิศ 2.2 มีระบบบริหารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษา ดเี ลิศ 2.3 ดาเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตร ดี สถานศกึ ษาและทกุ กล่มุ เป้าหมาย 2.4 พัฒนาครแู ละบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชพี ดี 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมี ดเี ลิศ คุณภาพ 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการ ดีเลศิ เรียนรู้ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่เี น้นผู้เรยี นเปน็ สาคัญ ดเี ลศิ 3.1 จดั การเรยี นรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ตั ิจริง และสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ ดีเลิศ ในชีวิตประจาวนั 3.2 ใชส้ ่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหลง่ เรยี นรทู้ ีเ่ อ้อื ต่อการเรียนรู้ ดีเลิศ 3.3 มีการบริหารจดั การช้ันเรียนเชงิ บวก ดีเลศิ 3.4 ตรวจสอบและประเมินผูเ้ รยี นอย่างเปน็ ระบบและนาผลมาพัฒนาผเู้ รียน ดเี ลศิ 3.5 มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการ ดีเลศิ จดั การสอน สรปุ ผลการประเมินในภาพรวมของสถานศกึ ษา ดีเลศิ 20
21 จุดเด่น ด้านผลการจัดการศึกษา ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม และ ค่านิยมที่พึงประสงค์ มีสัมมาคารวะ มีความโดดเด่นด้านการร้องเพลงลูกทุ่ง นาฏศิลป์ ดนตรี ศิลปะ และกีฬา ด้านการบริหารจัดการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษามีความรู้ เป็นผู้นาในการพัฒนางาน วิชาการ มีความสามารถในการบริหารงบประมาณ งานบุคคล และงานบริหารทั่วไป สนับสนุนให้ ผูเ้ กี่ยวข้องมีสว่ นร่วมในการพัฒนาคณุ ภาพสถานศึกษา มีคณะกรรมการสถานศกึ ษาใหค้ วามเห็นชอบ ในการพฒั นาสถานศึกษา สถานศกึ ษาไดร้ บั การยอมรบั และมีผลงานพร้อมรางวัลต่างๆ มากมาย ดา้ นการจัดการเรียนการสอนที่เนน้ ผู้เรียนเปน็ สาคญั ครูมีความรูค้ วามสามารถ สว่ นมากสอน ตรงตามวชิ าเอก-โท ครหู มน่ั ขยันศึกษาหาความรแู้ ละพฒั นาตนเองอยู่เสมอ จดุ ท่คี วรพัฒนา ผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 และ 6 อยู่ในระดับ ปรับปรุง นักเรยี นบางส่วนยังไม่ให้ความสาคัญกับการสอบ O-NET ขาดทกั ษะในการคิดวิเคราะห์ คิด สังเคราะห์ สรุปความคิดรวบยอด สถานศึกษาควรเร่งดาเนินการทบทวน ปรับแผนการเรียนการสอน พัฒนาความรู้ให้บุคลากรครู ให้สามารถใช้สื่อการสอนสมัยใหม่มาช่วยในการจัดการเรียนการสอน และการออกขอ้ สอบประเมนิ ผลตามแนว O-NET จากเว็บไซท์ สทศ. ข้อเสนอแนะ ผเู้ รยี นควรได้รบั การส่งเสริมด้านการค้นคว้าจากการอา่ น โดยสถานศกึ ษาควรพฒั นาห้องสมุด ให้เป็นห้องสมุดไอที (E-Library) จัดให้ผู้เรียนทกุ ห้องเรยี นเข้าใช้ห้องสมุด 1 คาบ/สปั ดาห์ และเข้าใช้ ห้องสมุดโดยเสรีทุกวัน วันละอย่างน้อย 30 นาที/คน จัดให้มีแหล่งสืบค้นข้อมูลผ่านระบบเครือข่าย อินเตอร์เน็ต จัดให้มีเคร่ืองคอมพิวเตอร์อย่างน้อย 10 เคร่ือง เพ่ือให้เพียงพอต่อการใช้งาน ควรให้ คณะกรรมการนักเรียนเป็นผู้ดาเนินการห้องสมุดอย่างเป็นระบบ และมีการศึกษานอกสถานที่ให้มาก ข้ึน ควรมีการบันทึกประโยชนท่ีได้จากการไปศึกษาท้ังในและนอกสถานศึกษา ทั้งน้ีควรมีการ ตรวจสอบอย่างสมา่ เสมอ ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนาทักษะการคิดอย่างหลากหลาย ฝึกทักษะการสังเกต ฝึกให้ผู้เรียน คิดต่าง โดยครูใช้คาถามปลายเปิด เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีโอกาสค้นคว้าต่อ คิดต่อ อ่านต่อและเน้น คาถามเชงิ อนาคต เชน่ จะเกิดอะไรข้นึ ? จะเป็นเช่นไรไดบ้ ้าง ทาไม? มีผลกระทบอยา่ งไร เปน็ ต้น และ ผู้เรียนควรได้รับการฝึกทักษะด้านการส่ือสาร เช่น ฝึกทักษะการพูดในท่ีชุมชนหรือการพุดหน้าชั้น เรียน เปน็ ตน้ 21
22 14. ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสาม นาหนกั คะแนน ระดบั 14.1 ระดบั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน คะแนน ทไ่ี ด้ คุณภาพ ระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน (ประถมศึกษา และมธั ยมศกึ ษา) 10.00 9.07 ดมี าก 10.00 9.24 ดีมาก กลมุ่ ตวั บ่งช้ีพ้นื ฐาน 10.00 9.13 ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๑ ผเู้ รียนมสี ุขภาพกายและสขุ ภาพจิตทีด่ ี 10.00 8.70 ดี ตัวบ่งชที้ ่ี ๒ ผู้เรียนมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมท่ีพงึ ประสงค์ 20.00 7.17 ต้องปรบั ปรงุ ตัวบง่ ชี้ท่ี ๓ ผู้เรยี นมคี วามใฝร่ ู้ และเรียนรอู้ ย่างตอ่ เนือ่ ง 10.00 8.00 ดี ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๔ ผูเ้ รยี นคดิ เปน็ ทาเปน็ ตวั บ่งช้ีที่ ๕ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของผู้เรยี น 5.00 4.80 ดมี าก ตัวบ่งช้ที ี่ ๖ ประสิทธิผลของการจดั การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน 5.00 4.62 ดีมาก เป็นสาคญั ตัวบ่งช้ีท่ี ๗ ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนา 5.00 5.00 ดมี าก สถานศกึ ษา 5.00 5.00 ดีมาก ตัวบง่ ชท้ี ี่ ๘ พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดย 5.00 5.00 ดมี าก สถานศกึ ษาและตน้ สงั กัด 5.00 5.00 ดีมาก กล่มุ ตวั บง่ ชี้อัตลกั ษณ์ 100.00 80.73 ดี ตวั บง่ ชี้ท่ี ๙ ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน วสิ ัยทัศน์ พนั ธกจิ และวัตถปุ ระสงค์ของการจัดตง้ั สถานศึกษา ตวั บ่งชท้ี ี่ ๑๐ ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อน เปน็ เอกลกั ษณข์ องสถานศกึ ษา กลมุ่ ตัวบง่ ชีม้ าตรการสง่ เสริม ตวั บ่งชท้ี ่ี ๑๑ ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาท ของสถานศกึ ษา ตัวบง่ ชีท้ ี่ ๑๒ ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพ่ือยกระดับ มาตรฐาน รกั ษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ ท่สี อดคลอ้ งกบั แนวทางการปฏริ ปู การศึกษา คะแนนรวม ผลรวมคะแนนประเมินสถานศึกษา 80.73 คะแนน มคี ุณภาพระดบั ดี ผลการรบั รองมาตรฐานคุณภาพ รับรอง ไม่รบั รอง กรณีที่ไม่ไดร้ บั การรบั รอง เน่ืองจาก ..............................................-...................................................... ข้อเสนอแนะ ด้านผู้เรียน ด้านทักษะกระบวยการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดแก้ปัญหา คิดริเร่ิม สร้างสรรค์ โดยผู้เรียนยังขาดการฝึกฝนด้านกระบวนกรคิดท่ีหลากหลายและต่อเนื่อง อีกท้ังสภาพ ครอบครวั ผู้เรียนบาส่วนยังขาดการเอาใจใสด่ แู ล จงึ ขาดการพฒั นากระบวนการคดิ อย่างตอ่ เน่ือง 22
23 ด้านครู ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูทาการวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอน พัฒนาครูมีความรู้ และทักษะการวัดและประเมินผล ส่งเสรมิ การปฏบิ ัติงาน ปฏิบตั ติ นตามจรรยาบรรณวชิ าชีพ 15. การนาผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษามาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนา คณุ ภาพการศกึ ษาอย่างตอ่ เน่ือง 1. ด้านผูเ้ รียน 1.1 ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีสุขนิสัยสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีความรู้สติปัญญา มี คุณธรรมจริยธรรม และค่านยิ มอันพงึ ประสงคส์ ามารถอยูใ่ นสังคมได้อยา่ งเปน็ สขุ ผเู้ รียนมสี นุ ทรียภาพ มลี กั ษณะนิสัยรักศลิ ปะ ดนตรี และกฬี า 1.2 ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร ได้แก่ ทักษะในการคิด วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ วจิ ารณญาณ ริเร่ิมสร้างสรรค์ มเี หตผุ ลและวิสยั ทัศนใ์ นการดารงชีวิต 1.3 ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนมีการแสวงหาความรู้ รกั การเรียนรู้ และพฒั นาตนเองอย่างตอ่ เนือ่ ง 1.4 สง่ เสรมิ ใหผ้ ้เู รียนมที ักษะการทางาน สามารถทางานร่วมกับผ้อู ่นื ได้ 2. ดา้ นครผู ู้สอน 2.1 ส่งเสริมให้ครูได้รับการพัฒนา เข้ารับการอบรมให้มีความรู้อย่างสม่าเสมอให้มี ประสทิ ธิภาพในการสอนและจัดการเรยี นสอนโยเน้นผูเ้ รียนเป็นสาคัญผ่านกระบวนการคดิ 2.2 จัดหาสือ่ วัสดอุ ปุ กรณใ์ ห้เพียงพอในการปฏิบตั งิ าน 2.3 ส่งเสริมสวัสดิการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาและบารุงขวญั ในการปฏิบตั ิงาน 3. ดา้ นการบรหิ ารจดั การ 3.1 พัฒนาหลักสูตรและกระบวนการจัดการสอนท่ีมีประสิทธิภาพโดยพัฒนาให้ผู้เรียนมี ความรู้และทกั ษะทีจ่ าเป็นตามหลกั สูตร 3.2 พัฒนาระบบบริหารการจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานเพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพใน การจัดการศึกษา 3.3 พัฒนาแหล่งเรียนรู้ จัดหาเทคโนโลยี วัสดุอุปกรณ์ทาให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ อยา่ งมรี ะบบ 3.4 พัฒนาครูผู้สอนและบุคลากร ด้านการผลิต การใช้ส่ืออุปกรณ์และเทคโนโลยีเพ่ือ การศกึ ษา 3.5 พัฒนาระบบเทคโนโลยีและสารสนเทศทางการศึกษาให้มีความทันสมัยและมีสภาพ ท่ีพรอ้ มใชใ้ นการจดั การเรียนการสอน 3.6 จัดส่ิงอานวยความสะดวกและบริการท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนตลอดทั้งการ จัดระบบสาธารณปู โภค ภมู ทิ ศั นแ์ ละอาคารสถานทใี่ หม้ ีความเพียงพอ 3.7 จดั ใหโ้ รงเรยี นเป็นแหลง่ วิทยาการในการแสวงหาความรแู้ ละบริการชมุ ชน 3.8 ประสานความร่วมมอื กับชุมชนองค์กรทอ้ งถ่ินพฒั นาการศกึ ษาอย่างตอ่ เนื่อง 23
24 16. การพัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษาตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีของสถานศกึ ษา 16.1 การบริหารจดั การศึกษา โรงเรียนมัธยมเทศบาล ๔ ได้แบ่งโครงสร้างการบริหารงานเป็น 4 ฝ่าย ประกอบด้วย ฝา่ ยบริการงานวิชาการ ฝ่ายบริหารงานบุคคล ฝ่ายบริหารงานงบประมาณ และฝ่ายบริหารงานทั่วไป ภายใต้การกากับ ติดตามและพิจารณาให้ความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน รวมถึงการใหอ้ านาจหนา้ ท่ีดา้ นการจดั กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียนต่อคณะกรรมการสภานกั เรียน 16.2 วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ จุดมุ่งหมายเพ่ือการพัฒนา อัตลักษณ์ และ เอกลกั ษณข์ องสถานศกึ ษา วสิ ยั ทศั น์ “มงุ่ สคู่ วามเป็นเลศิ ด้านการศึกษา ผ้เู รียนมคี ุณภาพ ดว้ ยการบริหารแบบมีส่วนรว่ ม” พนั ธกจิ 1 สง่ เสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รียนเตม็ ตามศกั ยภาพ พนั ธกจิ 2 สง่ เสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา 5 3 จดั หาและพัฒนาคณุ ภาพปจั จยั ทใ่ี ช้ในการจัดการเรยี น 4 สก่งาเรสสรอมิ นและพัฒนาให้ชุมชนเขา้ มามสี ่วนร่วมในการจดั สง่ เสกราิมรศกกึระษบาวนการเรียนรตู้ ลอดชีวิต 24
25 ยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ กลยทุ ธ์ หน่วยงานท่ี ยทุ ธศาสตร์ รบั ผิดชอบ 1) ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาคณุ ภาพ - พัฒนาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น ฝ่ายวิชาการ - ส่งเสรมิ และพัฒนาผเู้ รยี นใหม้ ี ผเู้ รยี น กระบวนการคดิ วเิ คราะห์ 2) ยุทธศาสตร์การพฒั นาพฤตกิ รรม - พัฒนาคณุ ธรรมนกั เรียน ฝ่ายวิชาการ ผู้เรยี น - สง่ เสริมใหน้ กั เรยี นกล้าแสดงออก ฝา่ ยบริหารงานทว่ั ไป 3) ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาคณุ ภาพครู - สง่ เสริมสุขภาพนกั เรยี น และบคุ ลากรทางการศึกษา - สง่ เสรมิ การอนรุ ักษ์ 4) ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาคณุ ภาพสอ่ื ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ การเรยี นการสอนและแหลง่ เรียนรู้ ส่งิ แวดล้อม - พฒั นาและส่งเสรมิ ครใู หม้ ี ฝา่ ยบคุ ลากร คณุ ลักษณะความเปน็ ครู ฝา่ ยงบประมาณ - เสรมิ สร้างความสัมพันธร์ ะหว่าง ครู ฝา่ ยบรหิ ารงานทั่วไป กบั นักเรียนและผปู้ กครอง - การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ฝ่ายวชิ าการ - การพฒั นาอาคารสถานท่ี ฝา่ ยบริหารงานท่ัวไป 5) ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาคณุ ภาพ - พฒั นาและสง่ เสรมิ ความเข้มแขง็ ฝ่ายบริหารงานทว่ั ไป ของคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั งานเลขานุการ ความรว่ มมอื เพอ่ื การจัดการศกึ ษา พนื้ ฐาน คณะกรรมการ สถานศกึ ษาขนั้ 6) ยุทธศาสตร์การพฒั นาคณุ ภาพ พน้ื ฐาน กระบวนการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ - การพฒั นาการจดั การเรยี นการสอน ฝา่ ยวชิ าการ ตามความต้องการของท้องถนิ่ ฝ่ายบริหารงานทว่ั ไป 7) ยทุ ธศาสตร์การส่งเสริมความ - การพฒั นาการจดั การศึกษาใหเ้ กดิ ภาคภมู ใิ จในทอ้ งถิ่น การเรยี นรูต้ ลอดชวี ติ - ส่งเสริมความรกั ษใ์ นท้องถ่นิ ของ ฝา่ ยบรหิ ารงานทัว่ ไป ตนเอง ฝา่ ยงบประมาณ - ส่งเสรมิ ใหส้ งั คมชุมชนท้องถน่ิ มี ความเขม้ แขง็ จุดมุ่งหมายเพื่อการพฒั นา 1. พัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น 2. สง่ เสรมิ และพฒั นาผเู้ รยี นให้มีกระบวนการคดิ วเิ คราะห์ 3. พฒั นาคุณธรรมนักเรียน 4. ส่งเสริมให้นักเรียนกลา้ แสดงออก 5. สง่ เสรมิ สขุ ภาพนักเรยี น 25
26 6. สง่ เสริมการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม 7. พัฒนาและสง่ เสริมครูใหม้ ีคุณลักษณะความเปน็ ครู 8. เสริมสรา้ งความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งครูกบั นักเรยี นและผู้ปกครอง 9. ส่งเสรมิ และพัฒนาคุณธรรมครู 10. สง่ เสรมิ และสร้างขวัญกาลงั ใจให้ครแู ละบุคลากร 11. จดั หาและพัฒนาสื่อการเรยี นการสอน 12. พฒั นาแหลง่ เรยี นรู้ 13. พฒั นาและสง่ เสริมความเข้มแข็งของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้นื ฐาน 14. จดั การเรยี นการสอนตามความต้องการของท้องถิ่น 15. จัดการศกึ ษาใหเ้ กดิ การเรียนร้ตู ลอดชีวติ 16. สง่ เสรมิ ความรกั ษ์ในท้องถ่ินของตนเอง 17. สง่ เสรมิ ให้สงั คม ชมุ ชนท้องถ่ินมีความเข้มแข็ง อตั ลักษณ์ของสถานศึกษา เอกลกั ษณข์ องสถานศกึ ษา 26
27 สว่ นที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา ผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผเู้ รยี น ระดบั คณุ ภาพ ดีเลศิ กระบวนการพฒั นา โรงเรียนกาหนดกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยเน้นการดาเนินงานด้านวิชาการให้ ครอบคลุมด้านการพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาการเรียนรู้ การวัดผลประเมินผลและการเทียบโอนผล การเรียน การวิจัยเพื่อพัฒนาการศึกษา การพัฒนาสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา การ พฒั นาแหล่งเรียนรู้ การนิเทศการศึกษา การแนะแนวการศกึ ษา การพัฒนาระบบการประกนั คุณภาพ การศกึ ษา การส่งเสรมิ ความรแู้ ก่ชุมชน การประสานความร่วมมือในการพฒั นาวิชาการกบั สถานศกึ ษา อื่นๆ การสง่ เสริมและสนับสนุนงานวิชาการ เปน็ หัวใจสาคัญของการพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รียน โรงเรียนส่งเสริมให้ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยการ ดาเนินงาน/กิจกรรมอย่างหลากหลาย ได้แก่ งานหลักสูตร มีการประชุมปฏิบัติการปรับปรุงหลักสูตร สถานศึกษา ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) เพ่ือให้ครูใช้เป็นกรอบ ในการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาผู้เรียนส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมายที่ว่า “การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ท้ังร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรมจริยธรรม และวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ความสุข ซึ่งสอดรับกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่ ได้มุ่งพัฒนาให้ผเู้ รียนเป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข ดังนั้นโรงเรียนจึงกาหนดมาตรฐานการศึกษาด้าน คุณภาพผู้เรยี นจานวน 2 ดา้ น ไดแ้ ก่ 1) ด้านผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน ด้านผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การ ส่อื สาร การคิดคานวณ รวมทง้ั การมผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นตามหลักสตู รสถานศึกษา มีความสามารถ ในการวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ การสื่อสาร และการมคี วามรู้ ทกั ษะพ้นื ฐาน เจตคติท่ีดีต่องานอาชีพ 2) ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของผ้เู รียน ดา้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์จองผู้เรียน ม่งุ เน้นให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมท่ีดี ตามที่สถานศึกษากาหนด และมีสุขภาวะทางร่างกายและสังคม ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็น ไทย การยอมรบั ท่ีจะอยู่ร่วมกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย 27
28 ผลการดาเนนิ งาน ผ้เู รียนมีความสามารถในการอ่าน การเขยี น การสอื่ สารและการคิดคานวณ ความสามารถใน การคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ มีการอภิปรายแลกเปล่ียนเรียนรู้ความคิดเห็นรวมถึงการแก้ไข ปัญหามีความสามารถในการสืบค้นและเข้าถึงแหล่งข้อมูลได้ด้วยตนเอง เป็นไปตามเป้าหมายท่ี โรงเรียนกาหนด ส่งผลให้ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนเพิ่มข้นึ รวมถงึ สามารถพฒั นาผลคะแนนการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ประจาปีการศึกษา 2562 สูงกว่าปีการศึกษาที่ผ่านมา ดังนี้ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 จานวน 3 รายวิชา ประกอบด้วย คณิตศาสตร์ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จานวน 3 รายวิชา ประกอบด้วย คณิตศาสตร์ ภาษาไทย และสังคมศึกษา ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมท่ีดี ตามอัตลักษณ์ของโรงเรียน คือ ความมี “มานะ-วินัย” ในตนเอง มคี วามภาคภูมใิ จในสถานศึกษา และเปน็ ส่วนหน่ึงของการพฒั นาชุมชนของตนเอง ส่งผลให้ โรงเรียนมีนักเรียนได้รับรางวัล “คนดีศรี ท.๔” เป็นแบบอย่างท่ีดีต่อเพ่ือนนักเรียน ผู้ปกครองและ ชุมชน มีการร่วมดาเนินกิจกรรมกับเพ่ือนและคุณครู ตามโครงการบ้านเล็กในโรงเรียนของเรา ท่ีมุ่ง ปลูกฝังความรักความสามัคคี การยดึ ในข้อตกลง กฎกติกาการอยรู่ ่วมกันในสังคม รู้และเห็นคณุ ค่าต่อ การดาเนินชีวิต รู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ส่งผลให้มีสุขภาวะทางร่างกาย จติใจท่ีเข้มแข็ง มีจิต สาธารณะที่ดีตามเปา้ หมายทโ่ี รงเรยี นกาหนด ขอ้ มูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ท่ีสนบั สนนุ ผลการประเมินตนเอง ประเดน็ ภาพความสาเร็จดา้ นคณุ ภาพผู้เรยี นที่สนบั สนนุ การประเมินตนเอง ไดแ้ ก่ โครงการพฒั นาผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของนักเรยี น โครงการพัฒนางานวัดผลประเมนิ ผล โครงการส่งเสริมและพัฒนาการเรยี นการสอนกลมุ่ สาระการเรียนรู้ทั้ง 8 กลมุ่ สาระ โครงการคณุ ธรรมในสถานศกึ ษา โครงการวนั ภาษาไทยแห่งชาติ โครงการนิเทศการศกึ ษา โครงการพัฒนางานวชิ าการ โครงการสง่ เสริมรักการอา่ น โครงการบา้ นเล็กในโรงเรยี นของเรา จดุ เด่น โรงเรียนมีการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและได้กาหนดเป็นเป้าหมายทางการเรียน โดยใช้ข้อมูลฐาน 3 ปีย้อนหลัง เป็นเป้าหมายการพัฒนาให้สูงข้ึน จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเน้น การปฏิบัติทักษะการอ่าน การเขียน การคิดคานวณ ส่งเสริมผู้เรียนให้ได้รับการพัฒนาเต็มตาม ศักยภาพ มีการจัดแหล่งเรียนรู้ภายในอย่างเหมาะสม มีสื่อด้านเทคโนโลยีท่ีทันสมัย มีสัญญาณระบบ WiFi ให้นักเรียนได้ใช้ค้นคว้าหาความรู้อย่างพอเพียง ผู้เรียนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตท่ีดี กล้า แสดงออกและสามารถอยูร่ ่วมกบั ผ้อู ืน่ อยา่ งมีความสขุ 28
29 จุดทค่ี วรพัฒนา การจัดกิจกรรมที่มุ่งเน้นยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนยังขาดการปฏิบัติท่ีต่อเนื่องและ จริงจัง นักเรียนส่วนใหญ่ยังต้องได้รับการพัฒนา โดยภาพรวมผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระดับชาติมี แนวโน้มพฒั นาขึ้นเรอื่ ยๆ แตใ่ นบางกลุม่ สาระยงั อย่ใู นเกณฑท์ ่ตี ้องไดร้ บั การพฒั นา นวตั กรรม/แบบอยา่ งทด่ี ี โครงการพฒั นาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของนกั เรยี น โครงการคุณธรรมในสถานศึกษา โครงการส่งเสริมและพฒั นาการเรยี นการสอนกลุ่มสาระการเรียนรูท้ ้ัง 8 กล่มุ สาระ ขอ้ เสนอแนะ ควรพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนให้สูงข้ึนทุกรายวิชา และยกระดับการพัฒนาผลคะแนน การทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้นั พื้นฐานให้สงู ขน้ึ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ระดบั คณุ ภาพ ดีเลิศ กระบวนการพัฒนา โรงเรียนเน้นกระบวนการบริหารและการจัดการโดยยึดหลักของการมีส่วนร่วมจากบุคลากร ทุกคน โดยผา่ นกระบวนการพัฒนา 6 ขนั้ ตอน คอื 1. ศกึ ษาสภาพปัจจบุ ันปญั หาและกาหนดประเด็นการพัฒนา 2. สร้างทีมงานและพัฒนาศกั ยภาพทีมงาน 3. การวางแผนแบบมีส่วนร่วม 4. ดาเนนิ งานตามแผนและปรบั ปรงุ พฒั นา 5. การประเมนิ และสรปุ ผล 6. แลกเปลย่ี นเรยี นรแู้ บบมีสว่ นร่วม มีการกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ งาน/โครงการ/กิจกรรม ใน การจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มีความสอดคล้องกับสภาพของปัญหาและความต้องการ จัดสรร งบประมาณและทรัพยากร การมอบหมายงานตามความสามารถและความถนัด ดาเนินการพัฒนา ตามแผนพฒั นาการศกึ ษาใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายทก่ี าหนดไว้อย่างเปน็ ระบบ ผลการดาเนนิ งาน 1. มีการกาหนดเป้าหมาย ปรับวิสัยทัศน์ กาหนดพันธกิจ เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์การ พัฒนา กลยุทธ์ในการบริหารจัดการของสถานศึกษา สอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการพัฒนา และความตอ้ งการของชมุ ชนทอ้ งถ่ิน 29
30 2. แผนพัฒนาการศึกษาห้าปี (พ.ศ. 2561-2565) แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา สอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย มีการพัฒนาครู และบุคลากรทางการศกึ ษาให้มีความรู้ความเช่ยี วชาญตามมาตรฐานตาแหนง่ ระบบข้อมูลสารสนเทศ มีความถูกต้องครบถ้วน ทันสมัย นาไปประยุกต์ใช้ได้อย่างรวดเร็ว และมีการจัดสภาพแวดล้อมทาง กายภาพและสงั คมทีก่ ระตนุ้ ผู้เรียนใหใ้ ฝเ่ รยี นรู้ 3. ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายและเครือข่ายการพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีส่วนร่วมในการร่วม วางแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาและรับทราบ รับผิดชอบต่อผลการจดั การศึกษา 4. มกี ารนิเทศ กากับตดิ ตามและประเมินผลการบริหารและการจดั กรศึกษาที่เหมาะสมเป็น ระบบและตอ่ เนอ่ื ง เปดิ โอกาสให้ผ้เู กีย่ วข้องมีสว่ นร่วมในการจดั การศกึ ษา 5. มีรูปแบบการบรหิ ารและการจดั การเชงิ ระบบ โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วมยึดหลักธรรมาภบิ าล และแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือพัฒนาผู้เรียนตามแนวทางการปฏิรูป การศึกษา 6. มกี ารระดมทรัพยากรเพอ่ื การพัฒนาคุณภาพการศึกษาจากเครอื ข่ายอุปถมั ภ์ ข้อมูล หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ท่ีสนับสนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง ประเด็นภาพความสาเรจ็ ดา้ นคณุ ภาพผู้เรียนท่ีสนบั สนนุ การประเมนิ ตนเอง ได้แก่ โครงการนเิ ทศการศึกษา โครงการพฒั นางานธรุ การและสารบรรณ โครงการพัฒนางานประชาสมั พันธ์ โครงการประชุมผปู้ กครอง โครงการซอ่ มแซมวัสดุ ครภุ ัณฑแ์ ละอาคารสถานท่ี โครงการพฒั นาและเสริมสรา้ งความเข้มแขง็ ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โครงการประกันคณุ ภาพการศึกษา โครงการสง่ เสรมิ และสนบั สนุนการมีสว่ นรว่ ม โครงการพฒั นาระบบสารสนเทศ โครงการพัฒนาการจดั การศึกษาโดยใช้โรงเรียนเปน็ ฐานในการพฒั นาท้องถน่ิ (SBMLD) จุดเดน่ โรงเรียนมีการบริหารและการจัดการท่ีเป็นระบบ ใช้เทคนิคการประชุมท่ีหลากหลายวิธีเช่น การประชุมแบบมีส่วนร่วม กรประชุมระดมสมอง การประชากลุ่มเพ่ือให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการ กาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ที่ชดเจน มีแผนพัฒนาการศึกษาท่ีสอดคล้องกับความต้องการ พัฒนา ผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ ครูมีความรับผิดชอบต่อหน้าท่ี มีการนิเทศการสอน การกากับตดิ ตาม ประเมนิ ผลเพือ่ ใช้เปน็ ฐานในการวางแผนพัฒนาคณุ ภาพสถานศึกษา 30
31 จุดทีค่ วรพัฒนา 1. ควรเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นในการจัดการศึกษา อยา่ งหลากหลายและทกุ ชอ่ งทาง 2. ส่งเสริมและพัฒนาการสร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องให้เกิดความ เขม้ แขง็ 3. จัดกิจกรรมระหว่างโรงเรียนและชุมชนให้มากขึ้นและต่อเนื่องเพ่ือสรา้ งความสัมพันธ์ที่ดี ระหว่างกันตลอดจนเปน็ การประชาสัมพันธ์กิจกรรมของโรงเรียนใหเ้ ป็นทที่ ราบมากยิ่งขนึ้ นวตั กรรม/แบบอยา่ งทด่ี ี โครงการสง่ เสรมิ และสนบั สนุนการมสี ่วนร่วม โครงการประชมุ ผปู้ กครอง ข้อเสนอแนะ ควรจัดระบบการนิเทศการศึกษาและการพัฒนาระบบสารสนเทศของโรงเรียนให้มี ประสทิ ธภิ าพมากยิ่งขึน้ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเี่ น้นผู้เรียนเป็นสาคญั ระดบั คณุ ภาพ ดีเลศิ กระบวนการพฒั นา โรงเรยี นดาเนินการส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ โดยการดาเนิน วาน/กิจกรรมอย่างหลากหลาย ได้แก่ งานพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา มีการประชุมปฏิบัติการ ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาพัฒนาประชาคนอาเซียนและมาตรฐานสากล มีศูนย์และแหล่งการ เรียนรู้ที่หลากหลายสอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ สนับสนุนให้ครูจัดการเรียนการสอนท่ีสรา้ งโอกาส ใหน้ ักเรียนทุกคนมสี ่วนร่วม ไดล้ งมอื ปฏบิ ัติจรงิ และสามารถสรปุ ความรไู้ ดด้ ้วยตนเอง จัดการเรียนการสอนท่ีเน้นทักษะการคิด เช่น จัดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อน พ่ีช่วยน้อง โดยมีคุณครูพ่อ คุณครูแม่เป็นผู้ให้คาปรึกษา แนะนา การดาเนินกิจกรรมตามโครงการบ้านเล็กใน โรงเรียนของเรา ผ่านกระบวนการครอบครวั การพัฒนาแหลง่ เรยี นรู้ ครูใชส้ ่ือการเรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี รวมถงึ นักเรียนสามารถเขา้ ถึงการสบื ค้น ข้อมูลได้อย่างง่ายและสะดวกผ่านระบบการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตภายในโรงเรียนควบ คู่กับการเรียนรู้ จากภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น มีการประชุมคณุ ภาพและประสทิ ธิภาพของสอื่ การสอนท่ีใช้ มีการวเิ คราะหค์ วามยากงา่ ยและ จัดการคลังขอ้ สอบเพือ่ เพิ่มประสิทธิภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ครูทุกคนทางานวิจัย ในชั้นเรยี นปกี ารศกึ ษาละ 1 เร่อื ง 31
32 ผลการดาเนินงาน จัดให้มีโครงการส่งเสริมและพัฒนาการเรียนการสอนท้ัง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ผ่าน กระบวนการคิดและปฏิบัติจริงตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา และ หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติม ครูมีแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีสามารถนาไปจัดกิจกรรมได้จริงและสามารถ นาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวันได้ มีการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษาเพ่ิมข้ึน เช่น ศูนย์การเรียนรู้เฉลิมพระเกียรติฯ แหล่งเรียนรู้ 8 หมู่บ้านตามโครงการบ้านเล็กในโรงเรียนของเรา โครงการเปิดโลกวิชาการมัธยม เทศบาล ๔ รวมถึงการนาภูมิปัญญาท้องถ่ินมาจัดการเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน และการ พฒั นาสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศที่พรอ้ มต่อการเรียนรู้ของผู้เรยี น มีการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ โดยเฉพาะเครื่องมือที่ใช้ในการวัดและ ประเมินผล มีการวิเคราะห์ข้อสอบและจัดทาคลังข้อสอบเพื่อให้เกิดการปรับปรุงและพัฒนาอย่าง ต่อเนื่อง มกี ารบรหิ ารจัดการชั้นเรียนเชิงบวกควบคู่กับการดาเนนิ โครงการบ้านเล็กในโรงเรียนของเรา ส่งผลใหผ้ เู้ รยี นรกั ที่จะเปน็ บุคคลแห่งการเรยี นรแู้ ละดาเนินชวี ิตไดอ้ ย่างมีความสุข มีการจัดการเรียนรู้ร่วมกับชุมชนและแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ภายนอกโรงเรียน ตลอดจน หน่วยงานที่เกยี่ วขอ้ งทางการศึกษาเข้ามามสี ่วนรว่ มในการพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รียน ขอ้ มูล หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจักษท์ สี่ นบั สนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง ประเด็นภาพความสาเร็จดา้ นคณุ ภาพผ้เู รียนท่สี นับสนนุ การประเมนิ ตนเอง ไดแ้ ก่ โครงการค่าหนงั สือเรยี น โครงการค่าอุปกรณ์การเรยี น โครงการสนับสนนุ ปัจจยั พืน้ ฐานสาหรับนักเรียนยากจน โครงการค่าเคร่อื งแบบนักเรียน โครงการเปดิ โลกวชิ าการมัธยมเทศบาล ๔ โครงการสง่ เสริมความเป็นเลศิ ทางวิชาการ โครงการปฐมนิเทศนกั เรียนใหม่ โครงการปัจฉมิ นิเทศ โครงการผ้จู ติ สานึกรักสถาบัน โครงการประชาธปิ ไตยในโรงเรยี น โครงการรณรงคป์ ้องกันยาเสพตดิ ในสถานศึกษา โครงการแขง่ ขนั กีฬานักเรียนกับหน่วยงานภายนอก โครงการแข่งขันกีฬา-กรีฑา นักเรียนภายใน โครงการอนามยั โรงเรียน (โรงเรียนสง่ เสริมสุขภาพ) โครงการประชมุ ผปู้ กครองนกั เรยี น โครงการบา้ นเล็กในโรงเรียนของเรา 32
33 โครงการพฒั นาแหล่งเรียนรใู้ นโรงเรยี น โครงการพฒั นา/ปรับปรงุ หอ้ งสมดุ โครงการสวนสมนุ ไพรเพือ่ การเรียนรู้ โครงการพฒั นาคณุ ภาพงานแนะแนว โครงการสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ตลอดชีวิต โครงการโรงเรียนพอเพยี งทอ้ งถ่นิ โครงการวนั สาคัญและอนุรกั ษศ์ ิลปวฒั นธรรม โครงการส่งเสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพการเรียนการสอนลกู เสือ-เนตรนารี โครงการส่งเสริมและพฒั นากีฬาเปตองสคู่ วามเป็นเลศิ โครงการส่งเสริมและพฒั นากิจกรรมการเรยี นรู้สู่โลกกว้าง โครงการส่งเสริมศิลปะการแสดง (ลูกทุ่งวฒั นธรรมตา้ ยยาเสพติด) โครงการส่งเสรมิ การเรียนร้จู ากภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ โครงการศูนยก์ ารเรียนรูด้ า้ นการท่องเทีย่ ว โครงการสง่ เสรมิ การเรียนร้อู าเซียนศกึ ษา โครงการศนู ย์การเรียนรูเ้ ฉลมิ พระเกียรตฯิ โครงการพฒั นาระบบเครือขา่ ยอนิ เตอร์เนต็ เพือ่ การเรยี นการสอน กิจกรรมวนั ไหวค้ รู กจิ กรรมวนั งดสบู บุหร่โี ลก กิจกรรม I Love Sport กิจกรรมวนั สนุ ทรภู่ จุดเดน่ ครูต้งั ใจ มุง่ ม่นั ในการพัฒนาการสอน ครูจัดกจิ กรรมใหน้ กั เรยี นแสวงหาความรู้จากส่ือเทคโนโลยีดว้ ยตนเองอยา่ งต่อเน่ือง นกั เรยี นมสี ว่ นร่วมในการจดั บรรยากาศ สภาพแวดล้อมทเี่ อ้อื ต่อการเรียนรู้ ครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้โดยการคิดได้ปฏิบัติจริงด้วยวิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่ หลากหลาย จดุ ทคี่ วรพัฒนา ควรนาภูมปิ ญั ญาท้องถ่ินให้เขา้ มามีสว่ นร่วมในการจัดกจิ กรรมให้นักเรยี นไดเ้ รียนรูแ้ ละการให้ ขอ้ มลู ย้อนกลับแกน่ ักเรยี นทันทเี พ่ือนักเรียนนาไปพัฒนาตนเอง นวัตกรรม/แบบอย่างท่ีดี โครงการเปดิ โลกวิชาการมัธยมเทศบาล ๔ โครงการส่งเสริมความเปน็ เลิศทางวิชาการ โครงการพฒั นาแหลง่ เรียนรู้ในโรงเรียน 33
34 โครงการพฒั นา/ปรบั ปรงุ หอ้ งสมุด โครงการพัฒนาคุณภาพงานแนะแนว โครงการสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ตลอดชวี ติ โครงการโรงเรียนพอเพียงท้องถิ่น โครงการวันสาคญั และอนรุ ักษศ์ ิลปวฒั นธรรม โครงการสง่ เสริมและพฒั นาคุณภาพการเรยี นการสอนลกู เสอื -เนตรนารี โครงการสง่ เสริมและพฒั นากฬี าเปตองสคู่ วามเป็นเลศิ โครงการส่งเสริมและพฒั นากจิ กรรมการเรยี นรสู้ ่โู ลกกวา้ ง โครงการส่งเสรมิ ศลิ ปะการแสดง (ลูกทุ่งวฒั นธรรมตา้ ยยาเสพติด) โครงการสง่ เสรมิ การเรียนร้จู ากภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ โครงการศนู ยก์ ารเรียนรู้ด้านการท่องเทย่ี ว โครงการสง่ เสรมิ การเรยี นรูอ้ าเซียนศกึ ษา โครงการศนู ยก์ ารเรยี นรเู้ ฉลมิ พระเกยี รติฯ โครงการพัฒนาระบบเครือขา่ ยอนิ เตอรเ์ นต็ เพื่อการเรยี นการสอน กิจกรรม I Love Sport ขอ้ เสนอแนะ ควรประชาสัมพันธ์ให้ชุมชนทราบถึงการเป็น “สังคมแห่งการเรียนรู้ของนักเรียน ผู้ปกครอง และชมุ ชน” ใหม้ ากยิ่งขน้ึ 34
35 สว่ นท่ี 3 สรุปผล แนวทางการพฒั นาและความต้องการการช่วยเหลือ ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาถือเป็นข้อมูลสารสนเทศสาคัญท่ีสถานศึกษาจะต้อง นาไปวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อสรุปนาไปสู้การเชื่อมโยงหรือสะท้อนภาพความสาเร็จกับแผนพัฒนา คุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา และนาไปใช้ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ สถานศึกษา ดังนั้น จากผลการดาเนินงานของสถานศึกษา สามารถสรุปผลการประเมินในภาพรวม ของจุดเด่น จุดควรพัฒนาของแต่ละมาตรฐาน พร้อมทั้งแนวทางการพัฒนาในอนาคตเพ่อให้ได้ มาตรฐานท่ีสงู ขนึ้ และความต้องการการช่วยเหลอื ดงั นี้ ระดบั การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน สรุปผล จดุ เด่น จุดควรพฒั นา คุณภาพของผู้เรียน คุณภาพของผ้เู รยี น 1. มกี ารวเิ คราะหผ์ ลสัมฤทธทิ์ างการเรียน 1. การจดั กิจกรรมทม่ี ุ่งเน้นยกระดับ และกาหนดเป้าหมายทางการเรียนโดยใชข้ อ้ มลู ผลสมั ฤทธิ์ยังขาดการปฏบิ ัติท่ีต่อเนื่องและ ฐาน 3 ปีย้อนหลังเป็นเปา้ หมายคุณภาพ จริงจัง นกั เรียนให้พัฒนาสงู ขึ้น 2. จดั กจิ กรรมด้านการอ่าน การเขยี น 2. จัดกิจกรรมการเรยี นการสอน เน้นการ คานวณใหก้ ับนักเรยี นเรียนรว่ ม เปรียบเทยี บ ปฏิบตั ิ เน้นทกั ษะในการอ่าน การเขยี นและการ ความกา้ วหนา้ และการพัฒนาของนักเรียนเป็น คิดคานวณ ส่งเสรมิ ผเู้ รียนให้พฒั นาเตม็ รายบคุ คล ศกั ยภาพ กระบวนการบริหารและการจดั การ 3. มกี ารจัดแหล่งเรียนรู้ภายในไดอ้ ย่าง 1. ควรเปิดโอกาสให้ผปู้ กครองได้มสี ว่ น เหมาะสม รว่ มในการเสนอความคิดเหน็ ในการจัด 4. มสี ่อื ดา้ นเทคโนโลยที ่ที นั สมยั มี การศึกษาเพ่ือพัฒนาผู้เรียนอย่างหลากหลาย สญั ญาณระบบ WiFi ใหน้ กั เรียนไดใ้ ชค้ ้นคว้าหา รปู แบบและทุกชอ่ งทาง ความรู้อยา่ งเพียงพอ 5. ผเู้ รยี นมสี ขุ ภาพกาย สขุ ภาพจิตทด่ี ี กล้าแสดงออกและสามารถอยูร่ ว่ มกับผอู้ น่ื อยา่ ง มีความสุข กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 1. มกี ารบริหารและการจดั การอยา่ งเปน็ ระบบ 2. ใช้เทคนคิ การประชุมทีห่ ลากหลายวิธี 3. ทกุ ฝา่ ยมสี ว่ นรว่ มในการกาหนด วสิ ยั ทัศน์ พนั ธกจิ เปา้ ประสงคท์ ช่ี ดั เจน มี 35
36 จุดเดน่ จุดควรพฒั นา แผนพฒั นาการศึกษาที่สอดคลอ้ งกบั ผลการจดั 2. ควรส่งเสรมิ และพฒั นาการสร้าง การศกึ ษา สภาพปญั หาความตอ้ งการพฒั นา เครือข่ายความร่วมมือของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องใน และนโยบายการปฏริ ูปการศึกษา การจัดการศึกษาของโรงเรยี นใหม้ ีความเขม้ แข็ง 4. ครูผู้สอนสามารถจดั การเรียนรู้ไดอ้ ย่าง มสี ว่ นรว่ มรับผดิ ชอบตอ่ ผลการจดั การศกึ ษา มีคณุ ภาพ และรว่ มสนบั สนนุ การขับเคลื่อนคณุ ภาพการจดั 5. มกี ารดาเนินการนเิ ทศ กากับ ตดิ ตาม การศึกษา ประเมินผล การดาเนนิ งานและจัดทารายงาน 3. ควรจัดกิจกรรมระหว่างโรงเรียนกบั ผลการจดั การศึกษา ชุมชนใหม้ ากขนึ้ และมีความตอ่ เนอ่ื ง เพ่ือ 6. โรงเรยี นได้ใช้กระบวนการวิจัยในการ ประชาสมั พันธ์โรงเรียนให้ชุมชนได้ทราบผลการ รวบรวมข้อมลู เพ่ือใช้เปน็ ฐานในการวางแผน ดาเนนิ งานของโรงเรียน พฒั นาคณุ ภาพสถานศกึ ษา การจดั การเรียนรู้ทเี่ นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคัญ การจัดการเรียนรู้ท่เี นน้ ผู้เรียนเปน็ สาคญั 1. ครูต้งั ใจ มุ่งม่ันในการพฒั นาการสอน ควรนาภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ามามสี ว่ นรว่ มในการ 2. ครูจัดกจิ กรรมใหน้ ักเรียนแสวงหา จดั กิจกรรมใหน้ ักเรียนไดเ้ รยี นรู้และการให้ ความรจู้ ากสือ่ เทคโนโลยีด้วยตนเองอย่าง ขอ้ มูลย้อนกลบั แก่นกั เรียนทนั ทเี พื่อนักเรยี น ต่อเน่อื ง นาไปใช้พัฒนาตนเอง 3. นักเรยี นมีส่วนรว่ มในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอ้ มท่เี อ้ือต่อการเรียนรู้ 4. ครจู ดั กิจกรรมใหน้ ักเรียนเรียนรโู้ ดย การคิดไดป้ ฏิบัตจิ รงิ ดว้ ยวธิ กี ารและแหล่งเรียนรู้ ทหี่ ลากหลาย แผนการพฒั นาคณุ ภาพเพือ่ ยกระดับคุณภาพมาตรฐานใหส้ ูงข้ึน 1. ปรับปรุง/พฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษาให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรยี นรู้ให้ดีย่ิงข้นึ เน้น การพฒั นานวัตกรรมเพ่อื การเรยี นรู้ เพื่อผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นของนกั เรยี นทส่ี งู ขนึ้ 2. พฒั นาศกั ยภาพผู้เรยี นให้ไปส่คู วามเปน็ เลศิ ตามความถนัดของตนเอง 3. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เพิ่มขีดความสามารถในการสอนและการ ปฏิบัตงิ าน 4. พฒั นาสถานศึกษาเพือ่ เปน็ สงั คมแหง่ การเรยี นรู้ของนกั เรยี น ผปู้ กครองและชมุ ชน ทศิ ทาง/แนวทางการพฒั นาสถานศกึ ษาในอนาคต 1. การตดั กิจกรรมการเรยี นรทู้ เ่ี นน้ การพัฒนาผู้เรยี นเปน็ รายบคุ คลให้ชัดเจนมากขึน้ 2. การส่งเสรมิ ใหค้ รเู ห็นความสาคัญของการจัดการเรียนรู้โดยเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญและการ จัดทาการวิจัยในชน้ั เรยี นเพอ่ื พฒั นาผ้เู รยี นให้สามารถเรียนรู้ไดเ้ ต็มศกั ยภาพ 36
37 3. การพัฒนาบุคลากรโดยการส่งเข้ารับการอบรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในงานท่ีได้รับ มอบหมาย ติดตามผลการนาไปใช้และผลท่เี กิดกับผู้เรียนอยา่ งตอ่ เน่ือง 4. การพัฒนาสถานศึกษาให้เปน็ สังคมแห่งการเรียนรูข้ องชุมชน ความต้องการและการชว่ ยเหลือ 1. การพัฒนาครูผู้สอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียนใน ศตวรรษที่ 21 2. การสร้างแบบทดสอบท่ีสอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด ตามแนวทางของการ ประเมนิ O-NET 3. การสร้างความตระหนกั ให้กับครทู ุกคนถงึ ความสาคญั ของนักเรียนที่ตนเองรบั ผิดชอบทั้ง ในฐานะครทู ี่ปรกึ ษาและครปู ระจาวิชา ส่วนที่ 4 การปฏิบตั ทิ ีเ่ ปน็ เลิศของสถานศกึ ษา ชื่อผลงาน ผู้นากีฬาเปตองทอ้ งถน่ิ (โครงการสง่ เสริมและพฒั นากฬี าเปตองสคู่ วามเปน็ เลิศ) คาสาคญั : กีฬาเปตอง, ความเป็นเลิศ, ผู้นาดา้ นกีฬา, หลกั สูตรกฬี าเปตอง ประจาปกี ารศึกษา 2563 37
38 1. บทนา กระบวนการ/วธิ ีการดาเนินงานในอดตี การจัดการศึกษาที่เป็นเลิศ คือการจัดการศึกษาที่อดเย่ียมมีคุณภาพสูงตามมาตรฐาน การศึกษา พฒั นากระบวนการบริหารและการจดั การเรียนการสอนเพ่อื สร้างคุณภาพแก่ผูเ้ รียน ซ่ึงการ ปรับเปลย่ี นสู่ประเทศไทย 4.0 นนั้ เป็นแรงผลักดันให้ประชากรเข้าถงึ ข้อมลู สารสนเทศและการเรยี นรู้ ที่ไร้ขีดจากัด สามารถพัฒนาองคค์ วามรู้สร้างปญั หาเพิ่มข้นึ เป็นทวคี ูณ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) มุ่งให้คนไทยสามารถปรับตัวรองรับบริบทการ พัฒนาในอนาคต มีทักษะในการวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล มีภูมิคุ้นกันต่อการเปลี่ยนแปลงในสังคมแห่ง การเรียนรู้ที่สามารถเรียนรู้ได้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต โรงเรียนมัธยมเทศบาล ๔ ตระหนักถึง ค ว า ม ส า คั ญ ท่ี ต้ อ ง จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ใ ห้ เ ป็ น เ ลิ ศ เ พ่ื อ ผ ลิ ต ท รั พ ย า ก ร ม นุ ษ ย์ ที่ มี คุ ณ ภ า พ ร อ ง รั บ ก า ร เปลย่ี นแปลงของสังคมอนาคต แต่เนื่องจากปรับเปล่ียนหรือการเปลี่ยนแปลงในเร่ืองต่างๆ ต้องอาศัยการสร้างความเข้าใจท่ี ดีอันที่จะส่งผลต่อความร่วมมือร่วมใจในการพัฒนา การส่งเสรมิ และพัฒนากฬี าเปตองสู่ความเป็นเลิศ จึงเริ่มจากการศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการ การวิเคราะห์ผลกระทบท้ังบวกและลบ การกาหนดแผนพัฒนากีฬาเปตองสู่ความเป็นเลิศ การดาเนินการตามแผนปฏิบัติการประจาปี การ กากับติดตามการดาเนินงาน การประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพของการดาเนนิ งาน การสรุปและ รายงานผล เพื่อใหเ้ กิดการพฒั นาทีย่ ง่ั ยืน สภาพทั่วไป โรงเรียนมัธยมเทศบาล ๔ เป็นสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดการเรียนการสอน ตง้ั แต่ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 นักเรียนร้อยละ 60 ขึ้นไปเปน็ ผู้ท่ีมีความสามารถและสุนทรียภาพ ด้านดนตรี ศิลปะและการกีฬา โดยท่ีโรงเรียนได้จัดโครงการเพ่ือส่งเสริมและพัฒนานักเรียนกลุ่ม ดงั กลา่ ว เช่น โครงการส่งเสริมศลิ ปะการแสดง (ลกู ทงุ่ วัฒนธรรมต้านยาเสพติด) โครงการส่งเสรมิ และ พัฒนาการเรยี นดนตรเี พอื่ ความเปน็ เลศิ และโครงการสง่ เสริมและพัฒนากีฬาเปตองสู่ความเป็นเลศิ โครงการส่งเสริมและพัฒนากีฬาเปตองสู่ความเป็นเลิศ ได้ริเร่ิมจากการจัดทาโครงการ ส่งเสริมและพัฒนากีฬาเปตองสู่ความเป็นเลิศ ข้ึนในปีการศึกษา 2559 และมีผลงานจากการเข้าร่วม การแข่งขันกีฬานักเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน รอบชิงชนะเลิศระดับประเทศท่ีจังหวัด ร้อยเอ็ดและได้รับรางวัลเหรียญทองแดง ซึ่งถือเป็นเหรียญแรกจากการเข้าร่วมแข่งขันใน ระดับประเทศ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 โรงเรียนได้เล็งเห็นถึงการพัฒนากีฬาชนิดน้ี เนื่องจากมีนักกีฬา เพิ่มจานวนมากขึ้น ประกอบกับ โรงเรียนยังไม่มีกีฬาชนิดใดๆ ท่ีจะจ่อยอดการพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ จงึ ไดจ้ ัดโครงการส่งเสริมและพฒั นากีฬาเปตองส่คู วามเป็นเลิศ ลกั ษณะสาคัญของวธิ ีหรอื แนวทางปฏิบัติท่เี ปน็ เลศิ โรงเรยี นได้มอบหมายใหก้ ลุ่มสาระการเรียนรูส้ ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ร่วมกบั กลุ่มงานกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน จัดทาโครงการส่งเสริมและพัฒนากีฬาเปตองสู่ความเป็นเลิศ ปรากฏตามแผนพัฒนา การศึกษา 5 ปี (พ.ศ. 2561 – 2565) ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต 38
39 โดยเริ่มจากการศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาความต้องการ การวเิ คราะห์ผลกระทบท้ังบวกและลบ การ กาหนดแผนพัฒนากีฬาเปตองสู่ความเป็นเลิศ การดาเนินการตามแผนปฏิบัติการประจาปี การกากับ ติดตาม การประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการดาเนินงาน การสรุปและรายงานผล นาผลท่ีได้มา วเิ คราะห์เพอ่ื ปรับปรุงและพัฒนาในครัง้ ตอ่ ไป วัตถุประสงคข์ องวธิ หี รอื แนวทางปฏิบตั ิทเี่ ปน็ เลิศ 1. เพ่ือจัดทาหลกั สตู รวิชาเปตองเพ่อื จัดการเรียนการสอนทุกระดบั ชน้ั 2. เพื่อสง่ เสริมและพัฒนานักกฬี าสคู่ วามเป็นเลิศทางดา้ นกีฬาเปตอง 3. เพ่อื พฒั นาครูผู้สอนให้ไดร้ ับการพฒั นาดา้ นความรู้ ทกั ษะกฬี าเปตองท่ีสงู ขึ้น 4. เพอ่ื เป็นศนู ย์กลางการพัฒนากีฬาเปตองในจงั หวัดสิงหบ์ รุ ี เปา้ หมาย เชงิ ปริมาณ 1) จดั การเรียนการสอนรายวิชาเพิ่มเตมิ สาหรบั นักเรยี นทุกระดับชนั้ 2) นักเรียนมีความเป็นเลิศจากการแข่งขันในระดับภาค ประเทศและนานาชาติอย่าง น้อยปกี ารศกึ ษาละ 3 รายการ 3) ครผู ฝู้ ึกสอนไดร้ บั การพฒั นาความรู้และทักษะอยา่ งน้อยปีละ 1 คน 4) เปน็ ศูนยก์ ลางการพฒั นาและจดั แขง่ ขนั ในจงั หวดั ปี ละไมน่ อ้ ยกวา่ 2 รายการ เชิงคณุ ภาพ 1) นักเรยี นมีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนผา่ นเกณฑ์การประเมินทุกคน 2) นักเรียน ครู สถานศึกษาเป็นที่ยอมรับจากทุกภาคส่วนท่ีเกิดจากการพัฒนากีฬา เปตองสู่ความเป็นเลศิ 3) บุคลากรทางการกีฬาเปตองได้รับการพัฒนาและเป็นผู้นาในการส่งเสริมและพัฒนา กฬี าเปตองในระดับต่างๆ 4) โรงเรียนเป็นศูนย์กลางการพัฒนากีฬาเปตองของจังหวัดและกรมส่งเสริมการ ปกครองท้องถ่นิ 2. แนวทาง/ข้ันตอนการดาเนินงาน/Flow chart (แผนภมู ิ) ของวิธหี รอื แนวทางปฏิบัตทิ เี่ ป็นเลศิ 1) วิเคราะห์สภาพปัจจุบันปัญหาและความต้องการของนักเรียนและชุมชนตลอดจน ผูบ้ รหิ ารท้องถ่ิน 2) จดั ทาแผนพฒั นากฬี าเปตองส่คู วามเปน็ เลิศ 3) จดั ปัจจัยทเี่ อ้อื ต่อการพฒั นาให้เอื้อต่อการดาเนนิ การ 4) ส่งเสรมิ และพัฒนาขดี ความสามารถของนกั กีฬาและครผู ฝู้ ึกสอน 5) เผยแพรป่ ระชาสัมพนั ธ์ผลงานทีป่ รากฏตอ่ สาธารณชน 6) ประเมนิ ผลการพัฒนาสู่ความเปน็ เลศิ และนากลบั มาปรับปรุงพฒั นาโดยใช้ระบบ PDCA 3. ผลลัพธ/์ ผลการดาเนินการ 39
Search