Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการบรรยาย

เอกสารประกอบการบรรยาย

Published by Somchai Muangmool, 2018-04-06 20:44:50

Description: เอกสารประกอบการบรรยาย รายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา โดยผศ.สมชาย เมืองมูล คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง

Keywords: innovation,education,computer,media

Search

Read the Text Version

นวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศกึ ษา

ผ้สู อน (ภาคปฏิบัติ) ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์สมชาย เมืองมูล สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง E-mail : [email protected] Website : http://www.somchai.net 0857120006 2

IQ EQ CQ MQ PQ AQ SQ DQ1. IQ (Intelligence Quotient) ความฉลาดทางสตปิ ญั ญา2. EQ (Emotional Quotient) ความฉลาดทางอารมณ์3. CQ (Creativity Quotient) ความฉลาดในการรเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์ จนิ ตนาการ4. MQ (Moral Quotient) ความฉลาดทางศีลธรรม จรยิ ธรรม5. PQ (Play Quotient) ความฉลาดทเี่ กดิ จากการเล่น6. AQ (Adversity Quotient) ความฉลาดในการแกไ้ ขปัญหา7. SQ (Social Quotient) ความฉลาดทางสงั คมท่ีจะใชช้ วี ิตอยรู่ ว่ มกับผู้อน่ื8. DQ (Digital Intelligence) ความฉลาดทางดจิ ติ อล

Digital Intelligence (DQ) ความฉลาดทางดิจิตอลhttp://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/642553

1. Digital Identity อัตลักษณ์ทางดิจิตอล หมายถึง ความสามารถในการสร้างและจัดการดูแลอัตลักษณ์และช่ือเสียงทางดิจิตอลของตนเอง ซ่ึงรวมถึงการจัดการบคุ ลกิ ลกั ษณะของตนในโลกออนไลน์ ท้ังในระยะสัน้ และระยะยาว2. Digital Use การใช้ประโยชน์จากดิจิตอล หมายถึง ความสามารถในการใช้อุปกรณ์และสอื่ รวมไปถึงการควบคุมเพอื่ ให้เกดิ สมดลุ ระหว่างโลกออนไลน์ และโลกภายนอก3. Digital Safety ความปลอดภัยในโลกดิจิตอล หมายถึง ความสามารถในการจัดการความเสี่ยงออนไลน์ เช่น การกระทาท่ีทาร้ายผู้อื่น การปลกุ ระดมให้ลุกฮือ หรือเนื้อหาที่มีปัญหา เช่น ความรุนแรง และการผิดศีลธรรม และการหลีกเล่ียง หรือ จากัดขอบเขตของความเส่ียงเหลา่ น้ี4. Digital Security ความมัน่ คงทางดิจติ อล หมายถึง ความสามารถในการตรวจจับภัยคกุ คามทางดิจิตอล เชน่ การแฮค หรือการลกั ลอบเขา้ ถึงขอ้ มลู การสแกมหรือการฉ้อโกงและมลั แวร์ หรือการใช้ซอฟทแ์ วร์ที่แฝงตวั เขา้ มาทาความเสียหาย เป็นต้น

5. Digital Emotional Intelligence ความฉลาดทางอารมณ์ในโลกดิจติ อล หมายถึงความสามารถในการ เหน็ อกเหน็ ใจ และสร้างความสมั พนั ธ์ทีด่ ีกบั ผูอ้ ่ืนบนโลกออนไลน์6. Digital Communication การส่อื สารทางดิจิตอล หมายถงึ ความสามารถในการสอ่ื สารและ ร่วมแรงรว่ มใจ กับคนอ่นื ๆทใ่ี ชเ้ ทคโนโลยดี ิจติ อลและส่ือ7. Digital Literacy ความรู้เรื่องดจิ ิตอล หมายถงึ มคี วามสามารถในการหาข้อมูลวิเคราะห์ ใช้ แชร์ (แบง่ ปัน) และสร้างเน้ือหา รวมถึงสามารถคิดแบบคานวณได้8. Digital Rights สิทธิทางดจิ ติ อล หมายถึง ความสามารถในการเข้าใจ และพทิ ักษ์สทิ ธสิ ว่ นบคุ คลและสิทธติ ามกฎหมาย รวมถงึ สทิ ธิในความเป็นสว่ นตัว สทิ ธิบตั ร เสรีภาพในการพดู และการละทจ่ี ะพูดใหค้ นเกลยี ดชังกนั

http://www.komchadluek.net/news/edu-health/306555

สพฐ. แจงภายในเดือน ม.ี ค.2561ทกุ โรงเรียนในสงั กัด สพฐ.จะต้องมีอินเตอร์เนต็ ความเรว็ สูงครบทุกโรงเรยี น http://siampublic.com/education/4327/education- policy-hi-speed-internet-school

สือ่ การเรยี นรู้ ตัวกลางหรือช่องทางในการถ่ายทอดองค์ความรู้ทักษะ ประสบการณ์ จากแหล่งความรู้ ไปสู่ผู้เรียนและทาให้เกดิ การเรยี นรอู้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ

การเตรียมสือ่ มลั ติมีเดีย1. ตัวอกั ษร (Text) 2. ภาพนิ่ง (Images) 3. ภาพกราฟิก (Graphic) 4. วีดิทศั น์ (Video) 5. เสียง (Sound)  ที่มา : ภาสกร เรอื งรอง

ตวั อกั ษร (Text) ตัวอักษรจะทาหน้าที่เป็นส่วนแจกแจงรายละเอียดของข้อมูล สาระที่ต้องการนาเสนอด้วยรูปแบบและการจัดวางตาแหน่งตัวอักษรที่สวยงาม ชัดเจน อ่านง่าย น่าสนใจ สวยงามลกั ษณะของตัวอกั ษรจึงถูกกาหนดตามการนาไปใช้ คือ 1) ตัวอักษรแบบดั้งเดิม (Serif) เป็นตัวอักษรท่ีมีเส้นยื่นของฐานและปลายตัวอักษรในทางราบ ตัวอักษรจะมีเส้นตัวหนาบางไม่เท่ากัน 2) ตัวอักษรแบบไมม่ ีเชิง (San Serif) เป็นตัวอักษรท่ไี ม่มีเส้นยืน่ ออกจากฐานและปลายของตวั อักษรในทางราบทม่ี า จินตนา ถา้ แกว้

3) ตัวอักษรแบบตัวเขียน (Script) เป็นการเน้นให้ตัวอักษรมีลักษณะคล้ายกับการเขียนด้วยลายมือ ซึ่งมีหางโยงต่อเนื่องระหว่างตวั อักษร มีขนาดเส้นตวั อักษรหนาบางไม่เทา่ กนั 4) ตัวอักษรแบบตัวอาลักษณ์ (TextLetter) เป็นตัวอักษรแบบโรมัน มีลักษณะเป็นตัวเขียนแบบประดิษฐ์ มีเส้นด้าหนาในตัวอักษรคล้ายกับการเขียนด้วยพู่กนั

5) ตัวอักษรประดิษฐ์ (Display Type) เป็นตัวอักษรตัวพิมพ์ขนาดใหญ่ท่ีมีความสวยงามดึงดดู สายตา มีขนาดของเส้นตัวอกั ษรหนาแบบตัวอืน่ ๆ 6) ตัวอักษรสมัยใหม่ (Modern Type) เป็นตัวอักษรท่ีประดิษฐ์ขึน มีความทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์

ลกั ษณะของตวั อกั ษร

การจดั วางตวั อกั ษร



หลกั การใช้งานตัวอักษร 1) การจัดวางตัวอักษรในหน้าจอ ไม่ควรใช้ตัวอักษรที่มีความหลากหลาย เกินไป เพราะจะทาให้ผู้เรียนเกิดความสับสนและยากแก่การทาความเข้าใจ ในเนอ้ื หา 2) ควรเลือกตวั อักษรทีส่ ามารถเปิดใช้งานไดท้ ุกรปู แบบ เนือ่ งจากตวั อักษร ที่อยใู่ นเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ของใชง้ านและผู้เรียนมีความแตกต่างกนั 3) เลือกพื้นหลังใหเ้ หมาะสมกับตัวอักษร เพือ่ ให้ง่ายตอ่ การอ่าน สบายตา ซึง่ ต้องอาศยั หลักการทฤษฎีสี ในการจับคสู่ ที ี่มีความเหมาะสม 4) ตวั อกั ษรในส่วนของเนื้อหาไมค่ วรมีเตม็ หนา้ จอหรือมีมากจนเกินไป ซึง่ จะทาให้เนื้อหาไมม่ ีความนา่ สนใจ

5) ตัวอักษรในหัวเรื่อง ชื่อเรือ่ ง หรือส่วนของเนือ้ หา ควรมีการเน้นให้เกิดความแตกต่างและมีความชัดเจน

6) ผู้พฒั นาควรหลีกเลีย่ งตวั อักษรทีม่ ีลขิ สิทธิ์ เพือ่ ปอ้ งกนั การละเมิดสิทธ์ิ

Angsana new ส่ือการเรียนรู้ คือ ตัวกลางหรือช่องทางในการถ่ายทอดองค์ความรู้ ทักษะประสบการณ์ จากแหลง่ ความรู้ไปสูผ่ ูเ้ รยี นและทาให้เกดิ การเรียนรูอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพTH Sarabun PSK ส่ือการเรียนรู้ คือ ตัวกลางหรือช่องทางในการถ่ายทอดองค์ความรู้ ทักษะประสบการณ์ จากแหลง่ ความร้ไู ปส่ผู ู้เรยี นและทาให้เกดิ การเรียนร้อู ยา่ งมีประสทิ ธิภาพTH Sarabun New สื่อการเรียนรู้ คือ ตัวกลางหรือช่องทางในการถ่ายทอดองค์ความรู้ ทักษะประสบการณ์ จากแหลง่ ความรไู้ ปสู่ผู้เรยี นและทาให้เกิดการเรียนรอู้ ยา่ งมีประสิทธิภาพTH Niramit สื่อการเรียนรู้ คือ ตัวกลางหรือช่องทางในการถ่ายทอดองค์ความรู้ ทักษะประสบการณ์ จากแหล่งความรู้ไปสู่ผู้เรียนและทาให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ

7) ผ้พู ัฒนาควรคานึงถงึ ขนาดของตัวอักษรใหเ้ หมาะสมกับวยั และกล่มุ เป้าหมาย ที่มา : จินตนา ถา้ แก้ว

http://www.f0nt.com/author/sipa/ http://www.1001freefonts.com/

2. ภาพนิ่ง (Image)

แหลง่ ทีม่ าของภาพ1. ภาพวาดก า ร ใ ช้ ภ า พ ว า ด ป ร ะ ก อ บ ก า ร พั ฒ น า สื่ อนวัตกรรม ผู้พัฒนาควรวาดเองเองหรือจ้างให้คนอื่นเขียนให้วาดภาพขึ้นมาใหม่ ซึ่งมีข้อควรระวังการในการใช้คือ การใช้ภาพวาดของศิลปินต่าง ๆ ซึ่งโดยส่วนใหญ่ภาพเหล่าน้ันจะมลี ิขสิทธ์ ทม่ี า :

แหล่งที่มาของภาพ2. การสแกนในกรณีที่ต้องการใช้ภาพจากสือ่ สิ่งพิมพ์ เชน่ โปสการ์ด นติ ยสาร หนงั สือเพือ่ เปลีย่ นแปลงใหเ้ ปน็ ไฟล์ภาพดิจทิ ลั

แหลง่ ทีม่ าของภาพ3. ภาพจากอินเทอร์เนท็

12 Amazing And Free Stock Photo Resources http://www.morguefile.com http://openphoto.net http://Freepik.com http://www.unprofound.com http://freerangestock.com http://www.freedigitalphotos.net http://www.freefoto.com/index.jsp http://www.freepixels.com http://www.public-domain-photos.com http://www.designpacks.com http://www.everystockphoto.comท่มี า http://www.webresourcesdepot.com/12-amazing-

แหลง่ ที่มาของภาพ4. ภาพดิจิทลั

กลอ้ งถ่ายภาพนิง่ (DSLR) 29

กลอ้ งถ่ายภาพนิ่ง (Mirrorless) 30

กลอ้ งถ่ายภาพนิง่ (Compact)

มือถือ SMART PHONE 32

เมมโมรีก่ ารด์

การถา่ ยภาพดว้ ยกลอ้ งดจิ ิทลั 34

ซ็อทพืน้ ฐาน (Basic shots)1. ภาพระยะไกลมาก Extreme Long shot (ELS)2. ภาพระยะไกล Long shot (LS)3. ภาพระยะปานกลางMedium shot (MS)4. ภาพระยะใกล้ Close Up (CU)5. ภาพระยะใกลม้ าก Extreme Close Up (ECU)ระดบั ภาพ1. ภาพระดบั สายตา Eye level shot2. ภาพระดับมุมสงู High level shot3. ภาพระดบั มมุ ต่า Low level shot

Extreme Long shot (ELS) ภาพระยะไกลมาก หมายถึง การถา่ ยภาพภาพในระยะทีอ่ ยไู่ กลมากเพือ่ ใหเ้ หน็ ถึงบรรยากาศโดยรอบของสถานที่ หรือ สภาพแวดล้อมไม่มีการเน้นสิง่ ใดสิง่ หนึง่ ที่มา : http://youngsday.com/wp-

Long shot (LS) ภาพระยะไกล หมายถงึ การถ่ายภาพวตั ถใุ นระยะไกล เพื่อแสดงที่ตง้ั หรือสว่ นประกอบในฉาก หรือแสดงสดั สว่ น ของขนาดวตั ถเุ ปรียบเทียบกับสว่ นประกอบอืน่ ๆในฉาก เชน่ ภาพเต็มตัว ที่มา : http://youngsday.com/wp-

Medium shot (MS) ภาพระยะปานกลาง หมายถงึ การถา่ ยภาพวตั ถุในระยะปานกลางเพื่อตัดฉากหลงั และรายละเอียดอืน่ ๆที่ไม่จาเป็นออกไป อีกท้งั ยงั เป็นการถา่ ยภาพวัตถใุ ห้เห็นภาพทีใ่ หญ่กวา่ เดิม เนน้ สว่ นละเอียดมากขึ้น เช่นภาพคร่งึ ตวั ที่มา : http://youngsday.com/wp-

Close Up (CU) ภาพระยะใกล้ หมายถึง ภาพถา่ ยระยะใกลว้ ตั ถุ เพือ่ เนน้ วัตถุ หรือบางสว่ นของวัตถุ ขยายให้เหน็ รายละเอียดเฉพาะของวตั ถุให้ชัดเจนมากขึ้น เชน่ภาพครึง่ หนา้ อก ที่มา : http://youngsday.com/wp-

Extreme Close Up (ECU) ภาพระยะใกล้มาก หมายถงึ ภาพถา่ ยทีเ่ นน้ ใหเ้ หน็ สว่ นใดส่วนหนึง่ ของวตั ถอุ ย่างชัดเจน เช่นนยั นต์ า เพือ่ แสดง อารมณข์ องผูท้ ีอ่ ย่ใู นภาพ ทีม่ า : http://youngsday.com/wp-

Basic shot ภาพระยะใกลม้ าก (ECU) ภาพระยะใกล้ (CU) ภาพระยะปานกลาง (MS) ภาพระยะไกล (LS) ภาพระยะไกลมาก (ELS)

จดุ ตดั เก้าชอ่ ง 42

จดุ ตดั เก้าชอ่ ง 43

จดุ ตดั เก้าชอ่ ง 44

แบง่ ภาพออกเปน็ 2 : 1 45 Link

3. ภาพกราฟิก (Graphic)

ประเภทของภาพนิ่งหรือภาพกราฟิก1) ภาพกราฟิกแบบบติ แมป (Bitmap) หรือเรียกกนั ว่า ลาสเตอร์ (Raster) เปน็ ภาพกราฟิกทีเ่ กิดจากการน้าจดุ สีเ่ หลี่ยมรปู เลก็ ๆ ทีเ่ รียกวา่ พิกเซล (Pixel) ถือว่าเปน็หน่วยย่อยของข้อมลู ที่เล็กทีส่ ุดของภาพบติ แมปมาเรียงตอ่กนั เพือ่ ประกอบขึนเป็นภาพ ตวั อย่างไฟล์ภาพบิตแมป เช่น.BMP,.JPG,.TIF,.GIF,.PNG เปน็ ต้น2) ภาพกราฟิกแบบเวค็ เตอร์ (Vector) เป็นไฟล์ภาพที่เกิดจากเส้นตรงและเสน้ โค้งทอี่ าศยั วิธีทางคณิตศาสตร์รวมกบั ข้อมูลของตา้ แหน่งและนา้ มาคา้ นวณให้เกิดเป็นทางเดนิ ของเส้น จึงทา้ ให้กราฟิกประเภทนสี ามารถขยายใหญ่ได้โดยความละเอยี ดของภาพ ตัวอย่างไฟล์ภาพเวค็ เตอร์ เช่น .AI, .EPS, .WMF เปน็ ต้น

หลกั การใช้ภาพกราฟิก1) ภาพนิ่งหรือภาพกราฟิกที่นามาใช้จะต้องสื่อความหมายชัดเจน มีความสอดคล้องกับเน้อื หา มีความคมชัดและมีความละเอียดของภาพทีช่ ดั เจน2) ขนาดของภาพนิ่งหรือภาพกราฟิกไม่ควรใช้ขนาดใหญ่หรือใช้ขนาดเล็กจนเกนิ ไป ควรมขี นาดที่พอเหมาะกบั หน้าจอ3) ควรมีการอธิบายภาพด้วยข้อความหรือเสียงประกอบรูปภาพ เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจในการสื่อความหมายของภาพนิ่งหรือภาพกราฟิกกับเนื้อหาได้อย่างชัดเจน4) รูปภาพที่นามาใช้งาน ไม่ควรมีการตกแต่งภาพมากเกินไป เพราะจะทาให้สื่อความหมายผิดจากเนื้อหาเช่น ใส่เงา ทาให้ภาพนูนขึ้น หรือใส่กรอบให้รูปภาพเป็นตน้

5) ควรมกี ารระบแุ หล่งทีม่ าของภาพนิ่งหรือภาพกราฟิกเพ่อื ป้องกนั การละเมิดลิขสิทธ์กิ ารใชง้ าน ยกเว้นภาพน่งิ หรือภาพกราฟิกที่นามาใชผ้ พู้ ัฒนาเปน็ ผู้สรา้ ง

วีดิทัศน์ (Video) ประเภทของวีดิทัศน์ แบ่งได้เปน็ 2 ชนิด 1) อนาล็อก เป็นวีดีโอที่ทาการบันทึกข้อมูลภาพและเสียงให้อยู่ใน รูปของสัญญาณไฟฟ้า มีลักษณะการบันทึกข้อมูลที่ให้ความคมชัดต่ากว่า วดี ิโอแบบดิจทิ ัล 2) ดิจิทัล เป็นวีดีโอที่ทาการบันทึกข้อมูลภาพและเสียงด้วยการ แปลสัญญาณคลื่นให้เปน็ ตัวเลข 0 กับ 1 คณุ ภาพของวีดิโอที่ได้จะมีความ ใกล้เคียงกับต้นฉบับมาก ทาให้สามารถ บันทึกข้อมูลลงบนฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอม ดีวีดี หรืออุปกรณ์บันทึกข้อมูลอื่น ๆ และสามารถแสดงผลบน คอมพิวเตอรไ์ ด้อย่างมี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook