Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โลจิสติกส์

โลจิสติกส์

Published by naphatpinyo0229, 2021-09-02 04:57:17

Description: -ประวัติไปรษณีย์ไทย
-วิสัยทัศน์
-พันธกิจองค์กร
-ค่านิยมองค์กรและวัฒนธรรม
-ส่วนแบ่งการตลาด
-บริการด้านโลจิสติกส์
-รายได้ต่อปี
-อีคอมเมิร์ซ
-

Search

Read the Text Version

ประวัติไปรษณียไ์ ทย ยุคท่ี 1 กอปรการสอ่ื สารแหง่ ราชธานี จดุ เรม่ิ ตน้ ของการส่อื สารในสมยั ก่อนนนั้ เกิดจากการสรา้ งเสน้ ทางคมนาคมและเสน้ ทาง การคา้ โดยมีการติดต่อข่าวสารกนั อยา่ งงา่ ย ทงั้ ผา่ นทางพอ่ คา้ ใชม้ า้ เรว็ จนถึงการจดั ตงั้ คน เรว็ ไวต้ ามเมืองสาคญั ก็ถือเป็นพฒั นาการทางการสง่ ขา่ วสารอยา่ งง่ายอีกชอ่ งทางหน่งึ และ เป็นเชน่ นีเ้ รอ่ื ยมาจนถงึ ยคุ สมยั รตั นโกสินทรต์ อนตน้ จนมาถงึ รชั สมยั ของพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั พระมหากษัตรยิ ไ์ ทย พระองคแ์ รก ท่ีสนใจในการเขียนจดหมายโตต้ อบเป็นภาษาองั กฤษ และทรงใช้ การไปรษณีย์ ในการติดตอ่ กบั ประมขุ และบคุ คลทงั้ ภายในและภายนอกประเทศ นบั เป็นกศุ โลบายอนั เฉียบ แหลมในการเจรญิ สมั พนั ธไมตรกี บั มติ รประเทศ

ดว้ ยเหตนุ ี้ \"กจิ การไปรษณียไ์ ทย\" จงึ ถือกาเนิดในรูปแบบตา่ งๆ การจดั ทาต๋วั แสตมป์ สาหรบั การสง่ หนงั สอื พิมพร์ ายวนั ภาษาไทยครงั้ แรก ซง่ึ ถือเป็นการ เรม่ิ ตน้ กิจการไปรษณียภ์ ายในกรุงเทพฯ นบั แตน่ นั้ เป็นตน้ มา ดว้ ยความสาคญั และประโยชนข์ องการสง่ ข่าวสารนีเ้ อง ท่ีทาใหร้ ฐั บาล สยาม เตรยี มการจดั ตงั้ กิจการไปรษณียใ์ นกรุงเทพฯ นบั เป็นการเขา้ ส่ยู คุ ของ การไปรษณียอ์ ยา่ งแทจ้ รงิ

ยุคท่ี 2 : สืบศักดศิ์ วิ ิไลซ์ในสากล ในรชั สมยั ของพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ถือเป็นยคุ แรกของ การไปรษณียไ์ ทย ดว้ ยการ จดั ตงั้ กรมไปรษณียใ์ นประเทศไทย และการผลิต \"แสตมป์ ชดุ โสฬส\" แสตมป์ ชดุ แรกของประเทศ รวมไปถงึ จดั พิมพไ์ ปรษณียบตั รครงั้ แรก เพ่ือรองรบั กิจการไปรษณียท์ ่ีเกิดขนึ้ ในขณะนนั้ อีกดว้ ย กิจการไปรษณียข์ องคนไทยในยคุ สมยั นนั้ มีความม่งุ ม่นั ท่ีจะพฒั นาใหด้ ีย่ิงขนึ้ อย่เู สมอ จึงไดด้ าเนินการ จดั ทาโครงการตา่ งๆ เพ่ืองานไปรษณียใ์ นทกุ ดา้ น ทงั้ การเขา้ รว่ มกบั กลมุ่ สหภาพสากลไปรษณีย์ เพ่ือให้ สามารถขนสง่ และแลกเปล่ยี นไปรษณียภณั ฑก์ บั ตา่ งประเทศได้ ในเวลาตอ่ มาไดจ้ ดั ตงั้ โรงเรยี นไปรษณียแ์ ละคมนาคมขนึ้ รวมไปถงึ การขยายกิจการไปรษณีย์ ดว้ ยการ จดั สรา้ งท่ีทาการไปรษณียแ์ ห่งท่ี 2 อีกดว้ ย แมว้ า่ เกิดเหตกุ ารณร์ า้ ยแรงใดๆ ก็ตาม กรมไปรษณียก์ ็ไม่หยดุ ใหบ้ รกิ ารแก่ประชาชน เพราะเลง็ เหน็ ถงึ ความสาคญั ของการติดตอ่ ส่อื สาร

ยุคท่ี 3 : อภวิ ัฒนาการไปรษณียไ์ ทย จากการมสี ว่ นร่วมในการประชมุ องคก์ ารสากลระหว่างประเทศหลายครง้ั ทาใหม้ กี ารปรบั เปลย่ี นงาน ดา้ นองคก์ รและดา้ นบรกิ ารอยา่ งต่อเน่ือง โดยกระทรวงโยธาธกิ าร ประกาศใหร้ วมกรมไปรษณียแ์ ละ กรมโทรเลขเขา้ ดว้ ยกนั เรยี กวา่ \"กรมไปรษณียโ์ ทรเลข\" เพอ่ื ใหก้ ารบริหารราชการดาเนินไปอยา่ ง สะดวกข้นึ การพฒั นางานไปรษณียใ์ นยุคนนั้ อยูภ่ ายใตก้ ารควบคุมของกระทรวงโยธาธิการ ซง่ึ ไดด้ าเนนิ การ ทาหนงั สอื สญั ญาเสน้ ขนส่งถงุ ไปรษณียค์ รอบคลุมทกุ เสน้ ทางคมนาคม เป็น การรองรบั ความสะดวก และรวดเร็วของการส่งไปรษณียภณั ฑไ์ ดอ้ ย่างทวั่ ถงึ

ยคุ ที่ 4 : ธำรงพนั ธกิจเพอื่ ประชำ การดาเนินงานในรูปแบบรฐั วิสาหกิจภายใตช้ ่ือ \"การส่อื สารแหง่ ประเทศไทย\" ยงั คงสืบ สานเจตนารมณท์ ่ีจะทาใหก้ ารตดิ ต่อส่อื สารทงั้ ไปรษณียแ์ ละโทรคมนาคมของไทย มีความ เจรญิ พฒั นากา้ วไกล มีสว่ นเสรมิ สรา้ งเศรษฐกิจและวถิ ีชีวติ ของคนไทย โดย กรมไปรษณียโ์ ทรเลขยงั คงมีสถานะเป็นหน่วยงานราชการท่ีทาหนา้ ท่ีดา้ นนโยบาย และ บรหิ ารคล่นื ความถ่ีวทิ ยเุ ชน่ เดิม ตดิ ตอ่ ส่อื สารทงั้ ไปรษณียแ์ ละโทรคมนาคมของไทย มีความเจรญิ พฒั นากา้ วไกล มีสว่ น เสรมิ สรา้ งเศรษฐกิจและวิถีชีวิตของคนไทย โดยกรมไปรษณียโ์ ทรเลขยงั คงมีสถานะเป็น หนว่ ยงานราชการท่ีทาหนา้ ท่ีดา้ นนโยบาย และบรหิ ารคล่นื ความถ่ีวทิ ยเุ ช่นเดมิ

ยุคที่ 5 : ดาเนินวัฒนาเพอ่ื ปวงชน ปัจจบุ นั บรษิ ัท ไปรษณียไ์ ทย จากดั มงุ่ ม่นั ในการเป็นผนู้ าธุรกิจไปรษณียแ์ ละใหบ้ รกิ าร ท่ีมีประสทิ ธิภาพ เพ่ือตอบสนองทกุ ความตอ้ งการของธุรกิจและคนไทยในทกุ ระดบั ทกุ พืน้ ท่ี ดว้ ยศกั ยภาพของเครอื ข่ายท่ีทาการไปรษณียก์ วา่ 1,200 แหง่ และศนู ยไ์ ปรษณีย์ 13 แหง่ ทงั้ ในกรุงเทพฯ และภมู ิภาค พรอ้ มดว้ ยบคุ ลากรท่ีชานาญงาน ตลอดจนเคร่อื งมืออนั ทนั สมยั และ การพฒั นาท่ีไมห่ ยดุ น่ิง เพ่ือเช่ือมโยงเขา้ กบั เครอื ขา่ ยไปรษณียท์ ่วั ทกุ มมุ โลก กิจการไปรษณียจ์ งึ พรอ้ มเป็นผเู้ ช่ือมโยงท่ีดีท่ีสดุ ดว้ ยบรกิ ารท่ีมีคณุ ภาพ ตอบสนองทกุ ความตอ้ งการไดอ้ ยา่ งตรงจดุ

ลำดบั เหตุกำรณ์ ต้งั แต่ปี พ.ศ. 2423 ถงึ ปัจจุบนั ใน ปี พ.ศ. 2423 ทรงแต่งต้งั ให้ สมเดจ็ พระเจา้ นอ้ งยาเธอ เจา้ ฟ้าภาณุรังษี สวา่ งวงศก์ รมหลวงภาณุพนั ธุวงศว์ รเดช ผทู้ รงมี ประสบการณ์ เกี่ยวกบั การจดั ส่งหนงั สือพมิ พร์ ายวนั \"ขา่ วราชการ\" ดารงตาแหน่งผสู้ าเร็จ ราชการกรมไปรษณีย์ เมื่อสมเดจ็ พระเจา้ นอ้ งยาเธอเจา้ ฟ้า ภาณุรังษีสวา่ งวงศฯ์ ไดท้ รงวางโครงการและ เตรียมการไวพ้ ร้อมที่จะเปิ ดบริการไปรษณีย์ ไดแ้ ลว้ กไ็ ดป้ ระกาศเปิ ดรับฝาก ส่งจดหมาย หรือหนงั สือ เป็นการทดลองในเขต พระนครและธนบุรีข้ึนเมื่อ วนั ที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2426 มีที่ทาการต้งั อยู่ ณ ตึกใหญ่ริมแม่น้าเจา้ พระยา ตอนปากคลองโอ่งอ่าง ดา้ นทิศเหนือ (ปัจจุบนั ถูกร้ือเพ่อื ใชท้ ่ีสร้าง สะพานคู่ขนานกบั สะพานพทุ ธ) ท่ีทาการแห่งแรกน้ีใชเ้ ป็น ท่ี ทาการไปรษณียส์ าหรับจงั หวดั พระนคร ดว้ ยเรียกกนั วา่ \"ไปรษณียาคาร\"

ต่อมาในปี พ.ศ. 2441 โปรดเกลา้ ฯ ใหร้ วมหน่วยงานทงั้ สองเขา้ ดว้ ยกนั เรยี กวา่ \"กรมไปรษณยี โ์ ทรเลข\" ต่อมาไดย้ า้ ยไปใชอ้ าคารและทด่ี นิ รมิ ถนน เจรญิ กรงุ เป็นทท่ี าการและเรยี กกนั โดยทวั่ ไป วา่ \"ทท่ี าการไปรษณยี ก์ ลาง\" การไปรษณีย์ เป็นบรกิ ารสาธารณะจาเป็นตอ้ งมรี ะเบยี บ ขอ้ บงั คบั เพอ่ื ใหป้ ระชาชนผใู้ ชบ้ รกิ ารและ เจา้ หน้าทผ่ี ดู้ าเนินบรกิ ารทราบและถอื ปฏบิ ตั เิ มอ่ื เปิดการไปรษณยี โ์ ทรเลขไดป้ ระมาณ 2 ปีแลว้ รฐั บาลจงึ ไดต้ รากฏหมายขน้ึ ใน ปี พ.ศ. 2428 เรยี กวา่ \"พระราชบญั ญตั กิ ารไปรษณียไ์ ทย จลุ ศกั ราช 1248\" เมอ่ื วนั ท่ี 25 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2520 ไดม้ กี ารจดั ตงั้ \"การสอ่ื สารแห่งประเทศไทย (กสท.)\"

จากนโยบายรฐั บาลท่ีตอ้ งการแปรสภาพรฐั วิสาหกิจ เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพ การทางานใหเ้ ทียบเทา่ ภาคเอกชน ซง่ึ กสท. เป็นหน่งึ ในรฐั วิสาหกิจท่ีตอ้ ง ดาเนินการตามนโยบายดงั กลา่ ว โดยเม่ือวนั ท่ี 8 กรกฎาคม 2546 คณะรฐั มนตรมี ีมติใหแ้ ปรสภาพ กสท. ตามแผนแม่บทพฒั นากิจการ โทรคมนาคม และพระราชบญั ญตั ทิ นุ รฐั วสิ าหกิจ พ.ศ. 2542 แยกกิจการเป็น 2 บรษิ ัท คือ บรษิ ัท ไปรษณียไ์ ทย จากดั และบรษิ ัท กสท โทรคมนาคม จากดั (มหาชน) ซง่ึ จดทะเบียนจดั ตงั้ เป็นบรษิ ัทเม่ือวนั ท่ี 14 สิงหาคม 2546







สว่ นแบ่งทางตลาด สว่ นแบง่ การตลาดขนสง่ และโลจิสตกิ สข์ องไปรษณียไ์ ทย ปี 2561 อย่ทู ่ี 55.3% และปี 2562 ขยบั ไปที่ 58.3% ปัจจบุ นั สดั สว่ นรายไดข้ องบริษทั แบง่ ออกเป็ น ขนสง่ และโลจิสตกิ ส์ 49% กลมุ่ จดหมาย แสตมป์ ไปรษณีย์ 31% ธรุ กจิ ระหวา่ ง ประเทศ 13% และรายไดจ้ ากธรุ กจิ อื่นๆ อีก 7%

ร บรกิ ารขนสง่ ส่ิงของขนาดใหญ่ หรอื มรี ูปร่างพิเศษเหมาะกับการขนสง่ สินคา้ ซงึ่ มี นา้ หนกั มากหรือมีบรรจภุ ณั ฑข์ นาดใหญ่ ซ่งึ สามารถฝากสง่ และรอจา่ ย ณ ทที่ า้ การไปรษณียท์ ผ่ี ้รู ับสะดวก โดยมรี ะบบการตดิ ตามและตรวจสอบส่งิ ของดว้ ย ระบบ Track & Trace หรอื ผา่ น Smart phone ด้วยแอปพลิเคชัน Track & Trace และเวบ็ ไซต์ www.thailandpost.com

จากขอ้ มลู รายงานประจาปี พบวา่ ในปี 2560 ไปรษณยี ไ์ ทย สามารถสรา้ ง รายได้ 28,293.82 ลา้ นบาท เตบิ โต 8.93% โดยมกี าไรสทุ ธิ 4,212.42 ลา้ นบาท เตบิ โต 20.07% ปี 2561 มรี ายได้ 29,728.25 ลา้ นบาท ลดลง 5.07% กาไรสทุ ธิ 3,827.54 ลา้ นบาท ลดลง 9.14% และ ปี 2562 มี รายได้ 27,163ลา้ นบาท กาไรสทุ ธิ 2,039 ลา้ นบาท

อีคอมเมริ ซ์ อีคอมเมริ ซ์ •บริการ Fulfillment แบบครบวงจร ใหร้ ้ำนคำ้ นำสินคำ้ มำเกบ็ ไวท้ ่ีคลงั ก่อนไปรษณียไ์ ทยจะ ทำกำรรวบรวมและจดั ส่งใหถ้ ึงมือผรู้ ับหลงั มีคำสั่งซ้ือดว้ ยระบบ หยบิ -แพค็ -แปะ-ส่ง •บริการส่งของสดและยาด้วยรถควบคุมอุณหภูมิ ไปรษณียไ์ ทยจึงเดินหนำ้ ดนั บริกำรรถขนส่ง แบบควบคุมอุณหภูมิรองรับกำรขนส่งสินคำ้ อำหำร ผลผลิตกำรเกษตร ของสด ยำและเวชภณั ฑ์ ขยำยบริกำรครอบคลุมทวั่ ประเทศในปี 2564 •เพม่ิ ศักยภาพเจาะตลาดขนส่งระหว่างประเทศ จะใชก้ ลยทุ ธ์ดำ้ นรำคำในกำรเจำะกลุม่ ลูกคำ้ ใหม่ สร้ำงคลงั เกบ็ และจดั กำรสินคำ้ แบบออโตเมชน่ั เพื่อรองรับกำรนำเขำ้ และส่งออกในเขต พ้นื ท่ีเศรษฐกิจพิเศษ และเพมิ่ บริกำรดำ้ นกำรเสียภำษีอำกรและภำษีมูลคำ่ เพ่ิมเพ่ือรองรับกลุ่ม ธุรกิจอีคอมเมิร์ซตำ่ งประเทศ

ข้อมูลอ้างอิง https://www.thailandpost.co.th/th/index/ https://www.thailandpost.co.th/un/article_detail/product/561/64 https://www.efinancethai.com/efinReview/efinReviewMain.a spx?release=y&name=er_202009101632 https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/913758

นางสาว ณิชา อาสาขันท์ เลขที่ 009 นางสาว นภัทร์ ภญิ โญ เลขที่ 014 การจดั การโลจิสติกส์ห้อง1


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook