Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความปลอดภัยในการเดินทาง

ความปลอดภัยในการเดินทาง

Published by t_phantarak, 2021-03-08 05:17:24

Description: ความปลอดภัยในการเดินทาง

Search

Read the Text Version

สวสั ดภิ าพและความปลอดภยั ในชวี ติ ความปลอดภยั ในการเดนิ ทาง ครพู นั ธรกั ษ ์ ลำดวนหอม

ช่วยกนั วเิ คราะห์ภาพ วา่ มีความเช่ือมโยงกบั เรื่อง ความปลอดภยั ในการเดินทางอยา่ งไร 1 23

1. ความปลอดภัยมคี วามหมายและมคี วามสาคญั ต่อการเดนิ ทางอย่างไร 2. สาเหตุสาคญั ใดบ้างทที่ าให้เกดิ อบุ ัตเิ หตุจากการเดนิ ทาง ท้งั ทางบก ทางนา้ และทางอากาศ 3. การหลกี เลยี่ งหรือการป้องกนั ไม่ให้เกดิ อุบัตเิ หตุจากการเดนิ ทาง ทส่ี ่งผลมากทส่ี ุดคือการปฏบิ ัตติ ามหลกั การใด

1. ความปลอดภยั (safety) หมายถึง สภาพที่ปราศจากภยั หรือพน้ ภยั อนั ตรายจาก อุบตั ิเหตุ และความไม่ปลอดภยั ต่าง ๆ ในชีวติ เช่น อุบตั ิเหตุจากการจราจร อคั คีภยั ภยั ธรรมชาติ และภยั จากปัญหาความรุนแรง 2. มี 3 สาเหตุสาคญั ไดแ้ ก่ 1) สาเหตุจากตวั บุคคล ที่เป็นผลมาจากเร่ืองของสภาพร่างกาย สภาพจิตใจท่ีไม่ปกติ การขาดความรู้และความชานาญ และการมีนิสยั ที่ชอบฝ่ าฝืนกฎระเบียบขอ้ บงั คบั 2) สาเหตุจากยานพาหนะ ท่ีเป็นผลมาจากความบกพร่องต่าง ๆ ของยานพาหนะ 3) สาเหตุจากสภาวะแวดลอ้ ม ท่ีเป็นผลมาจากความบกพร่องมาจากสภาวะแวดลอ้ ม ที่ไม่เอ้ือต่อการเดินทาง 3. หลกั การท่ีจะช่วยหลีกเล่ียงหรือการป้องกนั ไม่ใหเ้ กิดอบุ ตั ิเหตุจากการเดินทาง คือ การยดึ หลกั การปฏิบตั ิตามกฎความปลอดภยั และการมีจิตสานึกในเรื่อง ความปลอดภยั อยเู่ สมอ

อุ บั ติ เ ห ตุ จ า ก บก

ก า ร ล ด อุ บัติ เ ห ตุ ก า ร จ ร า จ ร ท า ง บ ก ด้ ว ย ต น เ อ ง 1 3 แ ม้จ ะ ข้า ม ต ร ง ท า ง ม้า ล า ย ใ น ถ น น ที่มีห ล า ย ช่อ ง ท า ง เ ดิน ต ้อ ง ด ูใ ห ้แ น่ใ จ ว ่า ค น ข ับ รถ เม่ือ รถ คัน ห น้ า ห ยุด ใ ห้ ข้า ม มอ งเห็นแ ละ ห ยุด รถ เ รีย บ ร้อ ย แ ล้ว ม อ ง ใ ห้แ น่ ใ จ ว่า ร ถ คัน อ่ืน แ ล้ ว ห ยุ ด ใ ห้ เ ช่ น กั น 2 4 ห า ก ข้า ม ต ร ง ที่ไ ม่มีท า ง เ มื่อ จ ะ ข้า ม ถ น น ผ่า น ห น้า ร ถ ม้าลา ย ใ ห้มอง ดูขว า โ ด ย ส า ร ค ว ร ร ะ วัง ร ถ ที่แ ล่น อ ยู่ ก่อน แล้วมองทางซ้า ย อีกด้า น หน่ึ ง ด้ว ย ก่อนก ลับ ม า ม อ ง ข ว า อีก ทีเพ่ือ ใ ห้แ น่ ใ จ

ก า ร ล ด อุ บัติ เ ห ตุ ก า ร จ ร า จ ร ท า ง บ ก ด้ ว ย ต น เ อ ง 5 9 ข ณ ะ ขึ้น ล ง ร ถ โ ด ย ส า ร ร อ ใ น เ ว ล า ก ล า ง คืน ค ว ร ส ว ม ใ ห้รถจอดสนิท เสียก่อน เส้ือผ้าสีขาวหรือสีสว่าง สะท้อน แ ส ง ห รื อ ถื อ ไ ฟ ส่ อ ง 8 ไ ม่ ห้ อ ย โ ห น ข ณ ะ โ ด ย ส า ร ร ถ 6 7 ป ฏิบัติต า ม สัญ ญ า ณ ไ ฟ จ ร า จ ร แ ล ะ เดินบนทางเท้าหรือบา ท สัญ ญ า ณ ไ ฟ ค น เ ดิ น ข้ า ม ถ น น วิถี ถ้า ไ ม่มีใ ห้เ ดิน ชิด ขวา

ก า ร ล ด อุ บัติ เ ห ตุ ก า ร จ ร า จ ร ท า ง บ ก ด้ ว ย ต น เ อ ง 10 11 ไม่เดินทางเท้าหรือข้า ม การ โ ด ย ส าร รถ ไฟ ฟ้ า ต้อ ง ป ฏิบัติ ถนนขณะมึนเมา เพราะมี ตามกฎอย่างเคร่งครัด เช่น ยืน โ อ ก า ส เ กิ ด อุ บัติ เ ห ตุ สู ง ร อ ห ลัง เ ส้น เ ห ลือ ง ขึ้น ล ง เ ม่ือ ร ถ จ อ ด ส น ิท ไ ม ่ย ืน พ ิง ป ร ะ ตู รถไฟฟ้ า

ก า ร ล ด อุ บัติ เ ห ตุ ก า ร จ ร า จ ร ท า ง บ ก สา ห รับ ผู้ ขับ ขี่ 1 ระมัดระวัง อุ บัติเหตุ ไม่ป ระมา ท 2 ปฏิบัติตามกฎจราจรอย่างเคร่งครัด 3 ไม่ด่ืมสุราก่อน หรือขณะขับ รถ และถ้าเมาไม่ควรขับ รถ 4 ไม่เสพสารเสพติดก่อนหรือขณะขับรถ 5 ถ้า ง่ว ง น อ น มา กค ว รจดพักล้า ง หน้ า ด่ืมกา แฟ หลับ สักค รู่

ก า ร ล ด อุ บัติ เ ห ตุ ก า ร จ ร า จ ร ท า ง บ ก สา ห รับ ผู้ ขับ ขี่ 6 ค า ดเข็มขัดนิ รภัยหรือ สว มหมว กนิ รภัยทุ กค รั้ง เม่ือ ขับ รถห รือ โดยสา ร 7 ไม่ค ว รมอ ง หรือ สน ใ จสิ่ง ท่ีอ ยู่ข้า ง ท า ง 8 ต รว จสภา พ รถใ ห้อ ยู่ใ น สภา พ สมบู รณ์ ก่อ น นา มา ขับ ข่ี 9 ขับ รถใ ห้ชา น า ญ ก่อ น จะขับ อ อ กสู่ถน น ใ หญ่ 10 ขับ ข่ีรถจักรยา น ยน ต์ต้อ ง สว มหมว กนิ รภัย ขับ ชิดซ้า ย เปิ ดไฟ หน้ า

น้า

ความปลอดภยั จากอุบตั ิเหตุการจราจรทางน้า การป้องกนั อุบตั ิเหตุจากการจราจรทางนา้ จะประสบผลสาเร็จต้องอาศัยปัจจัยในเร่ืองทเี่ กยี่ วข้องใดบ้าง สภาพแวดล้อม บุคคล เรือ คนขบั เรือ ผ้โู ดยสาร

ความปลอดภยั จากอุบตั ิเหตุการจราจรทางน้า คนขับเรือ ควรปฏิบตั ิและมีคุณสมบตั ิดงั น้ี ผู้โดยสาร ควรปฏิบตั ิดงั น้ี – ไม่ประมาท ระมดั ระวงั อยเู่ สมอ – ไม่แยง่ กนั ข้ึนหรือลงเรือโดยสาร – ปฏิบตั ิตามกฎจราจรทางน้าอยา่ งเคร่งครัด – ยนื รอเรือโดยสารท่ีท่าเรือแทนการไปยนื รอท่ีโป๊ ะ – ไม่ดื่มสุราหรือกินยาท่ีมีฤทธ์ิทาใหง้ ่วง – ไม่นงั่ บนกราบเรือหรือหลงั คาเรือ – มีสภาพจิตใจท่ีมนั่ คงและแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหนา้ ได้ – ตอ้ งวา่ ยน้าใหเ้ ป็น – ไม่ขบั เรือดว้ ยความเร็วสูงหรือขบั เบียดแซงลาอ่ืน – ควรสวมเส้ือชูชีพหรืออยใู่ กลห้ ่วงชูชีพ – ไม่บรรทุกผโู้ ดยสารเกินอตั ราบรรทุกท่ีกาหนด – ผา่ นการทดสอบและไดร้ ับใบอนุญาตขบั เรือ จากกรมเจา้ ท่าตามกฎจราจรทางน้า

ความปลอดภยั จากอุบตั ิเหตุการจราจรทางน้า เรือ ผเู้ กี่ยวขอ้ งควรปฏิบตั ิดงั น้ี สภาพแวดล้อม ผเู้ กี่ยวขอ้ งควรปฏิบตั ิดงั น้ี – ไม่บรรทุกเกินอตั ราน้าหนกั ที่กาหนดไว้ – ผขู้ บั เรือควรศึกษาสภาพเส้นทางท่ีตอ้ งแล่นเรือ ผา่ นวา่ มีสิ่งกีดขวาง ทางคดเค้ียว หรือทางแคบ – ควรมีการตรวจสอบสภาพของเรือหรือ ตรงช่วงใด เคร่ืองยนตข์ องเรืออยเู่ สมอ – ควรติดตามข่าวสภาพลมฟ้าอากาศจาก – ควรมีเคร่ืองชูชีพและพร้อมจะใชง้ านไดท้ ุกเมื่อ กรมอุตุนิยมวทิ ยาเป็นประจา – เรือควรมีสภาพมนั่ คงแขง็ แรง สามารถตา้ นทาน – ควรหลีกเล่ียงเสน้ ทางท่ีมีน้าไหลเช่ียวหรือมี แรงปะทะต่าง ๆ ได้ กระแสน้าวน – เวลากลางคืน หรือฝนตกหนกั หรือมีหมอกจดั 14 ควรเปิ ดสญั ญาณไฟ



ความปลอดภยั จากอุบตั ิเหตุการโดยสารเคร่ืองบิน การป้องกนั อุบตั เิ หตุจากการโดยสารเคร่ืองบนิ จะประสบผลสาเร็จต้องอาศัยปัจจัยในเรื่องทเ่ี กยี่ วข้องใดบ้าง เครื่องบนิ และอปุ กรณ์ส่ือสาร สภาพอากาศแวดล้อมและ การเดนิ อากาศ บุคคล สภาพแวดล้อม นักบิน ผ้โู ดยสาร

ความปลอดภยั จากอุบตั ิเหตุการโดยสารเครื่องบิน นักบิน ควรปฏิบตั ิและมีคุณสมบตั ิดงั น้ี ผ้โู ดยสาร ควรปฏิบตั ิดงั น้ี – ปฏิบตั ิตามกฎจราจรทางอากาศอยา่ ง – ไม่นาส่ิงของตอ้ งหา้ มข้ึนบนเคร่ืองบิน เคร่งครัด – เชื่อฟังและปฏิบตั ิตามกฎระเบียบและคาแนะนาในการ – มีสภาพจิตใจมน่ั คง มีสติ และแกไ้ ข โดยสารเครื่องบินอยา่ งเคร่งครัด ปัญหาเฉพาะหนา้ ได้ – ต้งั ใจฟังคาแนะนาและดูการสาธิตของพนกั งานประจา – มีสภาพร่างกายที่สมบูรณ์ ไม่เป็นโรค เครื่องในเรื่อง ประตูฉุกเฉิน การใชเ้ ครื่องชูชีพ และ ท่ีเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบตั ิหนา้ ที่ ศึกษารายละเอียดเพ่มิ เติมจากเอกสารหรือคู่มือใหเ้ ขา้ ใจ – ผา่ นการทดสอบและไดร้ ับใบอนุญาต – เมื่อเกิดอุบตั ิเหตุบนเครื่องบิน ควรปฏิบตั ิตามคาแนะนา ขบั เคร่ืองบินจากหน่วยงานท่ีผา่ นการ ของพนกั งานประจาเคร่ืองบินอยา่ งเคร่งครัด รับรอง

ความปลอดภยั จากอุบตั ิเหตุการโดยสารเคร่ืองบิน เครื่องบนิ และอุปกรณ์สื่อสารการเดนิ อากาศ ผเู้ กี่ยวขอ้ งควรปฏิบตั ิดงั น้ี สภาพอากาศแวดล้อมและสภาพแวดล้อม – หน่วยงานหรือท่าอากาศยานในแต่ละแห่งจะตอ้ ง ผเู้ กี่ยวขอ้ งควรปฏิบตั ิดงั น้ี มีระบบการบริหารงานทางดา้ นความปลอดภยั – นกั บินหรือผทู้ ี่เกี่ยวขอ้ งในการควบคุม เป็นไปตามมาตรฐานสากลดา้ นการขนส่งทาง อากาศ การบินตอ้ งตรวจสอบสภาพอากาศและ – ติดตามและตรวจสอบงานซ่อมบารุงสภาพของ สภาพแวดลอ้ มในการบินก่อนทุกคร้ัง เครื่องบินและอุปกรณ์ส่ือสารที่มีความสาคญั ต่อความปลอดภยั ในการบินแต่ละคร้ัง 18


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook