Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รหัสลับแห่งความสุขอันวิเศษ

รหัสลับแห่งความสุขอันวิเศษ

Published by DHARMA Sawaddee, 2021-07-15 10:46:02

Description: รหัสลับแห่งความสุขอันวิเศษ

โดย ดร.บุญเสริม บุญเจริญผล (บุญไท)

Search

Read the Text Version

- -[ -p มูลนิธพิ ระพุทธสันตธิ รรม สมาธิ รหัสลบั แห่งความสุขอันวิเศษ โดย ดร.บุญเสริม บุญเจริญผล



มูลนิธพิ ระพุทธสันตธิ รรม พนั ธกิจ มลู นิธิพระพทุ ธสนั ติธรรม  สร้างธรรมสถาน  เผยแผพ่ ระธรรม  อปุ ถมั ภพ์ ระสงฆ์  สงเคราะหผ์ ยู้ ากไร้  ให้ปัญญาแก่ประชาชน



สมาธิ รหัสลับแห่ งความสุขอันวิ เศษ 1. ทางเลือกของเรา ชวี ติ เรามที างเลอื ก 2 ทาง ทางท่ี 1 คอื เลอื กอยใู่ นโลกแหง่ ความทกุ ข์ ทางดา้ นน้ี มคี วามทุกขก์ าย กบั ทุกขใ์ จ ทจ่ี รงิ เราไม่ตอ้ งเลอื กก๊ได้ เราทุก คนกอ็ ยใู่ นโลกแหง่ ความทกุ ขอ์ ยแู่ ลว้ ถา้ คดิ วา่ ความทุกขเ์ ป็นยอดปรารถนา ของเรา กไ็ มต่ อ้ งทาํ อะไรต่อไป ปล่อยชวี ติ ใหจ้ มอยใู่ นกองทุกขน์ ้ี แต่ถ้าเราไม่ตอ้ งการใหช้ วี ติ จมอยู่ในกองทุกข์ เรากต็ อ้ งเลอื กทางท่ี 2 คอื เลอื กความสุข อนั ไม่มที ุกขเ์ จอื ปน คนส่วนมาก ไม่กล้าเลอื กอยู่ในโลก แหง่ ความสขุ อนั ไมม่ ที กุ ขเ์ จอื ปน เพราะเขาคดิ วา่ เขาทาํ ไมไ่ ด้ 2

2. ความทุกข์ ขอคุยกันเรื่องสภาวะแห่งความทุกข์ มีทุกข์กายกับทุกข์ใจ ทุกข์กาย คือ ป่ วยไข้ เจ็บปวดร่างกาย ตราบใดที่เรายงั มีชีวิต ร่างกาย ก็ต้องมีโอกาสเจ็บปวดร่างกาย จนสุดท้ายก็ตาย ไม่มีใคร หนีการเจ็บป่ วยและความตายไปได้ ทุกข์ใจ ได้แก่ความโกรธ ความกระวนกระวาย ความโศกเศร้า ความกลัว-กังวล ถ้าจะกล่าวถึงสาเหตุท่ีทาํ ให้เกิดทุกข์ ก็ได้แก่ 1. จากการเจ็บป่ วย 2. จากธรรมชาติ เช่น พายุ น้ําท่วม 3. จากสัตว์ทาํ ร้าย 4. จากมนุษย์ทาํ ร้าย และ 5. กิเลสทาํ ร้าย กิเลสทําร้ายเป็นเหตุสําคญั ที่สุด เพราะว่ามนั อยู่กับเรา ทําร้าย เราได้ตลอดเวลา ซ้ําร้ายคนยังชอบให้มันทําร้ายเสียด้วย ใน บทความนี้ขอกล่าวถึงเร่ืองของความทุกข์เกิดจากกิเลสทําร้าย เม่ือ เราถูกกิเลสทาํ ร้ายแล้ว นอกจากมีความทุกข์ทางใจแล้ว บางทีพาเรา ไปหาความเจ็บปวดทางร่างกายด้วย เช่น กิเลสมันชวนเราด่ืมเหล้า แล้วก็ขบั รถเกิดอุปัทวเหตุ หรือ วิวาทถูกทาํ ร้าย หรือ ป่ วยเป็นโรคตับ เป็ นต้น 3

4

สาเหตทุ ่ีทาํ ให้เกิดทกุ ขจ์ ากกิเลสทาํ รา้ ย ความอยาก เป็นสาเหตุทําใหเ้ กดิ ความทุกข์ ความอยากเกดิ ได้ 3 ลกั ษณะ คอื อยากมี อยากเป็น และ ไมอ่ ยากเป็น อยากมี เม่อื อยากมกี ก็ ระวนกระวายใจรอ้ น อยากไดส้ ง่ิ ของทจ่ี บั ต้อง ได้ พอเรมิ่ อยากมกี ็ทุกขแ์ ลว้ รอ้ นรนกระวนกระวายใจ ถ้าอยากได้แลว้ ผดิ หวงั ไมไ่ ดด้ งั ใจ กม็ คี วามทุกขป์ รากฏขน้ึ ในสภาพ ความโกรธ หรอื เศร้า ใจเสียใจน้ี มนั เกดิ ขน้ึ ในใจ มนั เกดิ ขน้ึ เอง อนั เป็นผลของความอยาก 5

“อยากเป็ น” เป็นความอยากได้ ในเรอ่ื งทจ่ี บั ตอ้ งไมไ่ ด้ ไมเ่ ป็นวตั ถุ เชน่ อยากได้ตาํ แหน่ง อยากไปเท่ียว อยากให้คนนับถอื เป็นตน้ พอเริ่มอยากเป็น ก็ทุกข์แล้ว ร้อนรน กระวนกระวายใจ ถ้าผิดหวงั ไม่ได้ เป็นดงั ใจ กม็ คี วามทกุ ขเ์ กดิ ขน้ึ อกี เกิดทุกข์ในสภาพ ความโกรธ หรือ ความเศร้าใจเสียใจ เกดิ ขน้ึ ในใจ มนั เกดิ ขน้ึ โดย... เป็ นผลของความอยาก.. 6

ไม่อยากเป็ น คอื ไมอ่ ยากตกอยใู่ นสภาพทเ่ี ดอื ดรอ้ น แบง่ เป็น “ไม่อยากเป็นในเร่ืองปัจจบุ นั ” และ “ไม่อยากเป็นในเร่อื งอนาคต” ไม่อยากเป็นในเรอื่ งปัจจบุ นั เชน่ ป่วยอยู่ - กไ็ มอ่ ยากป่วย เครยี ดในทท่ี าํ งาน - กไ็ มอ่ ยากทาํ งานทน่ี ่ี เป็นหน้ี - กอ็ ยากหมดหน้ี ไมอ่ ยากเป็นหน้ี คนขา้ งบา้ นไมด่ ี - กไ็ มอ่ ยากใหเ้ ขาอยขู่ า้ งบา้ น ผลทเ่ี กดิ ขน้ึ คอื “ความทุกข”์ ในสภาพ กระวนกระวายใจ โกรธ เกลียด 7

ไม่อยากเป็นในเร่อื งอนาคต เชน่ ไม่อยากป่ วย... ...กก็ งั วลว่าจะป่ วย ไม่อยากถกู ตาํ หนิ... ...กก็ งั วลว่าจะถกู ตาํ หนิ ไมอ่ ยากถกู จบั ดาํ เนินคดี... ...กก็ งั วลวา่ จะถกู ฟ้องร้อง ไมอ่ ยากเสียทรพั ย.์ .. ...กก็ งั วลว่าจะต้องเสียทรพั ย์ แลว้ ความกลวั และความกงั วล กเ็ กดิ ขน้ึ เป็นความทกุ ขใ์ จ หลายครงั้ เป็นความทกุ ขห์ ลอก คือ ในท่ีสุดเร่ืองท่ีกลวั หรอื กังวล ก็ไม่เกิดข้นึ จรงิ ความทุกขน์ ้ีกห็ ายไป ผลของความไม่อยากเป็น คอื เกดิ ความทกุ ขใ์ นลกั ษณะ ความกลวั ความกงั วล โกรธผเู้ กี่ยวขอ้ ง 8



3. ความสขุ อนั แสนวิเศษ ความสุขท่แี นะนําน้ี ไม่ใช่ความสุขธรรมดาอย่างท่ชี าวบ้านแสวงหา โดยคดิ ว่า มที รพั ย์มเี กียรตยิ ศแล้วมคี วามสุข แต่ความสุขท่แี นะนําน้ีเป็น ความสขุ วเิ ศษ ไมต่ อ้ งอาศยั อะไร เป็นความสขุ ทไ่ี มต่ อ้ งมอี ะไรกส็ ขุ ได้ เป็น ความสุขแทๆ้ ท่ไี ม่หลอกตวั เองว่าสุข ความสุขน้ีไม่ใช่ความมนั สนุกอย่างท่ี คนทงั้ หลายตอ้ งการ แต่เป็นความสขุ ท่ี วเิ ศษกวา่ นนั้ ความสุขอนั แสนวเิ ศษน้ี สงบเยน็ จรงิ ๆ จติ ใจโล่งโปรง่ เบาสบาย ไมม่ ี ความทุกขม์ ารบกวน คอื ไม่มคี วามกระวนกระวาย โกรธ โศกเศรา้ กลวั - กังวล ใจโล่งเบาไปหมด รู้สึกเป็นหน่ึงเดียวกบั ทุกชีวิตทงั้ คนและสตั ว์ สภาวะของความสุขแบบน้ี เรยี กว่า สภาวะนิ พพาน ผู้ท่ีมสี ภาวะน้ีอยู่ใน จติ ใจเรยี กวา่ อรหนั ต์ ความสุขอนั แสนวิเศษหรือสภาวะนิพพานนี้ คนทัง้ หลาย ไม่สนใจกันมากนัก คิดว่าเป็นเร่ืองยากสุดวิสยั สาํ หรบั คนธรรมดา เป็น เร่ืองของพระสงฆ์ต้องเข้าป่ าดงเพ่ือทรมานกาย นัง่ สมาธิจริงจัง ถ้าคิด อย่างน้ีแล้ว ก็เสียโอกาสในชีวิตน้ีอย่างน่าเสียดาย ชีวิตหน้าจะเป็นคน หรือเป็นสตั ว์เราไม่สามารถรู้ได้ ความจริงการปฏิบตั ิเพื่อให้เกิด ความสุขอันวิเศษน้ี มิได้ได้ยากอย่างท่ีคิดเช่นนัน้ คนทุกเพศทุกวยั มีสิทธิส์ ร้างความสุขวิเศษหรือสภาวะนิพพานได้ 10

สภาวะนิ พพาน มีประโยชน์อย่างไร ? คนสว่ นมากไมเ่ หน็ คณุ คา่ ของสภาวะนิพพาน คดิ วา่ เป็นเรอ่ื งเป็นไปไมไ่ ด้ คดิ วา่ เป็นเรอ่ื งของพระสงฆ์ หรอื อน่ื ๆ ทาํ ใหไ้ มค่ ดิ ทจ่ี ะฝึกฝนตน ใหเ้ ดนิ เขา้ สสู่ ภาวะนพิ พาน ..แท้จริงแล้ว.. ..สภาวะนิพพานมีคณุ ค่าอยา่ งยิ่ง ..ทงั้ หลงั ความตายและในปัจจบุ นั 11

คุณค่าของนิ พพานหลงั ความตาย ศาสนาพุทธกล่าวว่า เม่ือคนหรือสตั ว์สิ้นชีวิตจะต้องไปเกิดอีก มิได้ไปอยู่กับพระเจ้าดงั ศาสนาอ่ืน แต่เราต้องเกิดเป็นอะไรสกั อย่าง จากทุกข์มากไปหาทุกข์น้อย: สตั ว์นรก-อสุรกาย-เปรต-สตั ว์เดรฉาน- มนุษย์-เทวดา-พรหม แล้วยงั แยกย่อยไปอีก เราจะเกิดเป็นอะไร ก็ เป็นไปตาม 1.ตามกรรมที่ทํามา และ 2.ตามสภาวะจิตขณะกําลงั ตาย ไม่ว่าเกิดเป็นอะไรก็มีความทุกข์เสมอ ทัง้ ยงั หมุนข้ึนลงจากภพหน่ึง ไปเกิดในภพอ่ืนได้อีก เพ่ือหลีกหนีไม่ต้องไปเกิดในภพเหล่าน้ี ต้อง ทาํ ชีวิตเข้าสู่สภาวะนิพพาน ก็จะเข้าสู่สภาวะท่ีมีความสุขสมบูรณ์ ไม่ เปล่ียนไปสู่ความทุกข์ ไม่เกิดไม่เปล่ียนเป็นอะไรอีก ฉะนัน้ การเกิด มาในชีวิตน้ี จงฝึกตนให้เข้าสู่สภาวะนิพพานให้ได้ จึงปลอดภัย เข้าสู่ ชีวิตท่ีมีความสุขบริสุทธิอ์ ย่างไม่จบส้ิน หากไม่ทาํ เช่นน้ีก็เส่ียงท่ีจะ ไปเกิดในภพภูมิที่ลําบาก และไม่จบสิ้น หมุนเวียนเปลี่ยนไปเร่ือยๆ น่ากลัวมาก คนที่ไม่เคยคดิ พิจารณาความจรงิ นี้ก็ไม่กลวั อะไร ปล่อยชีวิตให้มนั ไหลเลื่อนไปเรื่อยๆจนสิ้นชีวิต น่าเสียดายที่สุด แต่คนแทบทุกคนก็ปล่อยตนประมาทเส่ียงภัยกันไป เลิกคิดกันเสียทีเถิดว่า การเข้าสู่สภาวะนิ พพานเป็ นเรื่อง ยากยิ่ง หรือเป็ นไปไม่ได้ในชาตินี้ ขอให้เราคิดใหม่แล้วลอง ปฏิบตั ิตนดีๆ 12

คุณค่าของนิ พพานขณะยงั มีชีวิตอยู่ เราไม่ต้องรอถึงตายจึงจะรู้ว่าสภาวะนิ พพานเป็ นสุขจริง หรือไม่ ในขณะมีชีวิตก็ได้สมั ผสั ความสุขจากสภาวะนิ พพานได้ อ้อ...เป็นอย่างนี้เอง มีความสุขกว่าเมื่อก่อนมากนัก ชีวิตเบา สบาย เพราะว่าเป็นอิสระแล้ว ชีวิตไม่ต้องการอะไรมากไปกว่าปัจจยั สี่เลี้ยงชีวิต ความโกรธเกลียดหายไปแล้ว ความร่านกระวน กระวายอยากได้ที่ไร้สาระไม่มแี ล้ว ความโศกเศร้าไม่มีแล้ว ความ กังวลหมดแล้ว มนั หายไปไหนแล้ว เป็นไปได้อย่างไร ท่านจะรู้สึก แปลกใจว่า จิตใจเราเป็นอย่างน้ีได้อย่างไร ◄ เคยเป็นคนชอบเกลียด ชอบ โกรธ ก็ไม่โกรธแล้ว ไม่รู้สึกแยกเป็นเราเป็นเขา แต่เป็นหน่ึงเดียวกัน ไม่รู้สึกว่าเขาทาํ ร้ายเรา เอาเปรียบเรา ◄ เคยอยากได้ของท่ีไม่จาํ เป็น ก็ไม่มีแล้ว เคยยึดถือ ช่ือเสียง เกียรตยศ ก็เฉยๆ เสียแล้ว ◄ เคยเศร้าโศกเม่ือเสีย ของรกั หรือผิดหวงั ก็เฉยๆเสียแล้ว ◄ เคยกังวลถึงเร่ืองความทุกข์ ในอนาคต ก็ไม่มีแล้ว 13

มีแต่ความร้ตู วั โล่งว่างใสสว่าง ถ้าจิตใจเราเป็ นอย่างนี้จะ ดีหรือไม่ แน่นอน ดีท่ีสดุ เราได้ชิมสภาวะนิพพานแล้วในขณะ ยงั มีชีวิตอยู่ ถึงแม้บางคนเชื่อว่า ตายแล้วกส็ ูญไปเลิกกนั ไป นิ พพานไม่มีแล้ว การปฏิบตั ิตนให้ดีกไ็ ม่ขาดทุน เพราะว่ามี ความสุขแบบอ่ิมเอิบ โล่งว่างสบายใจ ก็คุ้มค่ากบํ ที่ได้ฝึ กตน แล้ว เป็ นความสุขอย่างบริสุทธ์ิ ไม่ต้องอาศยั วตั ถสุ ิ่งของหรือ การยกย่องรบั รองใดๆ จิตเป็นอิสระแล้ว นึกถึงสภาพจิตเดิม แล้วกข็ าํ เม่ือก่อนเรานี้โง่จริงๆ ปล่อยให้ความคิดจอมปลอม มนั บญั ชาชีวิตเรา ตอนหนี้หายโง่แล้ว 14

4. รหัสลบั ท่ีทาํ ให้เกิดความสุขแสนวิเศษ แม้เราจะทราบแล้วว่า ความทุกข์เกิดขึ้นได้อย่างไร ดังที่กล่าว มาแล้ว แต่การที่จะดับความทุกข์เข้าสู่สภาวะนิพพานได้ก็ไม่ใช่ เร่ืองง่าย เรามีงาน 3 อย่าง 1. ต้องเตรียมสภาพแวดล้อมให้พร้อมเหมาะ แก่งานดบั ทุกข์ 2. รู้จกั ดับทุกข์ให้ถูกวิธี และ 3. มีความพยายามสมา่ํ เสมอตลอดเวลา งานทัง้ 3 ประการน้ี ซ่อนรวมอยู่ใน “มรรค 8” พิจารณาให้ดี แล้วจะเข้าใจ นําไปปฏิบัติได้ผล ดังจะกล่าวต่อไปน้ี 15

5. รู้จกั มรรค 8 ให้ถ่องแท้ ในวิธีการปฏิบตั ิเพ่ือเข้าสู่สภาวะนิพพานนัน้ พระพุทธเจ้าท่าน กล่าวถึงมรรค 8 เป็นวิธีการท่ีสาํ คญั ฉะนัน้ ถ้าเราเข้าใจถูก และ เอา จริงเอาจังกบั การปฏิบตั ิตน ย่อมได้ผลพ้นความทุกข์เข้าสู่สภาวะ นิพพานได้ หลกั ปฏิบตั ิของมรรค 8 โดยขอแปลความหมายที่สะดวกในการ ทาํ ความเข้าใจสาํ หรบั การปฏิบตั ิ มีดงั น้ี 1. สัมมาทิฐิ รู้จักผิดชอบชวั่ ดี 2. สมั มาสงั กปั ปะ ตัง้ เจตนาจะหลุดจากทุกข์เข้าสู่สภาวะ นิพพาน 3. สมั มาวาจา พูดโดยไม่ทาํ ให้ผู้อ่ืนเดือดร้อน พูดให้เกิด ประโยชน์แก่ผู้อ่ืน 4. สมั มากัมมนั ตะ กิจกรรมทางกายทุกอย่างต้องไม่ทาํ ให้ผู้อ่ืน เดือดร้อนแต่เป็นประโยชน์แก่คนและสตั ว์ 5. สมั มาอาชีวะ ทาํ อาชีพท่ีไม่เดือดร้อนแก่คนและสตั ว์ 6. สมั มาวายามะ พยายามจริงจงั กับการปฏิบตั ิตามข้อ 7 และ 8 7. สัมมาสติ ตรวจตรา วิเคราะห์ปรบั ปรุงความคดิ ท่ีเกิดข้นึ ในใจ ของตน มิให้มีความคิดชวั่ ร้ายเกิดข้นึ ในใจ 8. สมั มาสมาธิ ทาํ ใจว่าง ไม่ให้เกิดความคิดฟุ้งซ่าน คําแปลนี้ อาจไม่ถูกใจนักทฤษฎีศาสนาหลายท่าน แต่เหมาะ สาํ หรบั นําไปใช้ในการปฏิบัติฝึกฝนตนเองให้หลุดพ้นจากทุกข์ 16



6. สมั มาทิฐิ : ร้จู กั ผิดชอบชวั่ ดี สมั มาทิฐิ คอื การรจู้ กั ผดิ - ชอบ ชวั่ - ดี รวู้ า่ : การทาํ อยา่ งน้ีดี ควรทาํ การทาํ อยา่ งน้ีไมด่ ี ไมค่ วรทาํ ภาษาองั กฤษใชค้ าํ วา่ Conscience ไมใ่ ช่ Right Thought ตวั อยา่ ง : สมั มาทิฐิ : ฆา่ สตั วไ์ ม่ด,ี คอรปั ชนั่ ไม่ด,ี ด่มื น้ําเมาไมด่ ,ี ช่วยเหลอื ผอู้ ่นื ด,ี ปลกู ตน้ ไมด้ ,ี ซ่อื ตรงดี เป็นตน้ ฯลฯ มิจฉาทิฐิ: เหน็ ถกู เป็นผดิ เหน็ ผดิ เป็นถูก : เช่น ฆา่ สตั วด์ ี พระเจา้ สรา้ ง มาใหส้ ตั ว์เป็นอาหาร, คอรปั ชนั ่ ดี ถ้ามวั แต่ซ่อื ก็ไม่รวย , ด่มื เหลา้ เบยี ร์เป็น สงั คมด,ี ช่วยเหลอื ผอู้ ่นื ไม่ดี เสยี เวลาเสยี เงนิ ไม่ไดอ้ ะไรตอบแทน, ตดั ตน้ ไม้ ทําลายป่ าดี ได้เงนิ ใช้, ซ่อื สตั ว์ไปทําไม ใครโง่เราก็โกง ไม่โกงจะรวยไดไ้ ง ฯลฯ ผู้ปรารถนาเขา้ สู่สภาวะนิพพานจะต้อง (จําเป็นมาก) มคี วามเห็นถูก เป็นสมั มาทฐิ ิ แล้วจงึ ปฏบิ ตั ติ ามขอั อ่นื ๆอกี ต่อไป ถ้าความคดิ เป็นมจิ ฉาทฐิ ิ กป็ ิดโอกาสแต่แรกทจ่ี ะเขา้ สสู่ ภาวะนพิ พาน 18

7. สมั มาสงั กปั ปะ : ตงั้ เจตนาแน่วแน่ ท่ีจะหลดุ พ้นจากทกุ ข์ ชวี ติ ต้องมที ศิ ทางทจ่ี ะหนั เหไปทางใด ผูท้ ่ปี รารถนาจะ ใหช้ วี ติ เขา้ สู่สภาวะนิพพานก็ต้องตงั้ เจตนาใหแ้ น่วแน่จรงิ จงั วา่ ไปทางน้ี มฉิ ะนัน้ จะไปไม่ถึง เพราะพลงั มารนัน้ มีพลงั แรงมาก พลงั แห่งความชัว่ ร้ายจะชักชวนยวนเย้า ลากให้ตกไปหา ความชวั่ ได้ง่ายๆ ความชวั ่ นัน้ ถูกอธั ยาศยั กบั มนุษย์ทุกคน อาทเิ ช่น เอาเงนิ เขา้ ล่อ, เอาคาํ เยนิ ยอยกยอ่ งเขา้ ล่อ กอ็ าจตก อยภู่ ายใตอ้ าํ นาจมาร แลว้ กห็ มดทางเขา้ สสู่ ภาวะนิพพาน ท่านตงั้ เจตนาแลว้ หรอื ยงั ? หรอื เอาแคเ่ ดนิ ทางไปไหวพ้ ระเกา้ วดั ดกี พ็ อแลว้ ? ไมไ่ ดส้ นใจเรอ่ื งนิพพาน.. จงทาํ ความเขา้ ใจใหเ้ หน็ คณุ คา่ ของนพิ พาน.. แลว้ ตงั้ เจตนาเดนิ ทางไปใหถ้ งึ ใหไ้ ด.้ . 19

8. สมั มาวาจา : พดู ไมใ่ ห้ผอู้ ื่นเดือดร้อน พดู ให้เป็นประโยชน์ต่อผอู้ ่ืน สมั มาวาจา : วาจาบรสิ ทุ ธิ์พดู โดยไมท่ าํ ใหผ้ อู้ ่นื เดอื ดรอ้ น, พดู ใหเ้ ป็นประโยชน์ตอ่ ผอู้ น่ื น้ีเป็นศลี ทางวาจา, น้รี วมถงึ การเขยี นใหผ้ อู้ น่ื ทราบดว้ ย การปฏิบตั ิทางวาจาได้แก่ ∆ ไมพ่ ดู หลอกลวงเอาประโยชน์จากผอู้ ่ืน ∆ ไม่พดู หยาบคาย ไมด่ ่าว่าต่อหน้า, ไม่พดู นินทาลบั หลงั ∆ ไมพ่ ดู ยยุ งให้เขาแตกกนั ∆ ไม่พดู สร้างเรอ่ื งเลา่ เอาเอง โดยตนเองไมร่ จู้ ริง การทํารา้ ยผูอ้ ่นื ดว้ ยวาจา, รวมทงั้ การเขยี น, เป็นวนิ ัยทางปากทต่ี ้อง งดเวน้ สาํ หรบั ผเู้ ดนิ เขา้ สสู่ ภาวะนิพพาน 20

9. สมั มากมั มนั ตะ : กิจกรรมทางกาย ต้องไมท่ าํ ให้ ผอู้ ื่นเดือดร้อน แต่เป็นประโยชน์แก่คนและสตั ว์ สมั มากมั มนั ตะ คอื กจิ กรรมทุกอยา่ งทางกาย ต้องทําแต่เร่ืองดีๆ ไม่ก่อความเดือดร้อนแก่คนและสตั ว์ แต่เป็น ประโยชน์แก่คนและสตั ว์ ไม่วา่ เป็นงานหรอื การทําเล่นทําสนุก กต็ อ้ งถอื หลกั ไม่เดอื ดรอ้ นใครทงั้ คนและสตั ว์ แต่เป็นประโยชน์ ขอเปรยี บเทยี บ กบั ศลี หา้ ดงั น้ี 21

1.ไมฆ่ ่าคนและสตั ว์ ไมส่ ง่ หรอื ขายใหเ้ ขาเอาไปฆา่ รวมถงึ ไมท่ รมาน ไมก่ กั ขงั ไม่ทาํ รา้ ยรา่ งกาย และ ไม่ขม่ เหงจติ ใจ แต่ช่วยเหลอื เกอ้ื กูลคนและ สตั วใ์ หพ้ น้ ทุกขม์ คี วามสขุ 2. ไม่ประสงค์ทรพั ย์ของผู้อ่ืนอย่างไม่เป็ นธรรม เช่น ลักขโมย วง่ิ ราวชงิ ทรพั ย์ จ้ี ปลน้ ยกั ยอก ฉ้อโกง คอรปั ชนั ปลอมปน หลอกลวง เป็น ตน้ แตใ่ หท้ รพั ย์ ใชก้ าํ ลงั กายชว่ ยเหลอื และใหค้ าํ แนะนํา เพอ่ื ใหเ้ ขาไม่เสยี ทรพั ยห์ รอื พน้ ความยากจน 3. ไม่ข่มเหงผ้อู ื่นเกี่ยวกบั เรื่องเพศ เช่น ไม่แย่งชงิ คู่ครองผูอ้ ่นื ไม่ ข่มขนื ไม่ฉุดคร่า ไม่อนาจาร ไม่หลอกลวง ไม่ล่อลวงไปขายกาม ไม่เอา เปรยี บสตรเี พศ 4.ไม่ดื่มน้ําเมา ไม่เสพส่ิงมึนเมา ทงั้ ท่ีเป็นของแข็ง ของเหลว ไอ ระเหย ดว้ ยวธิ ตี ่างๆ ซ่งึ สง่ิ เหล่าน้ีเป็นอนั ตรายต่อสุขภาพ ทําใหค้ วามรูต้ วั ผดิ ชอบชวั ่ ดบี กพร่อง แลว้ ก่อการววิ าท หรอื ทาํ การเป็นอนั ตรายต่อผอู้ น่ื เช่น ขบั รถทาํ ใหค้ นบาดเจบ็ หรอื ตาย สําหรบั ศีลเร่อื งวาจา ได้กําหนดไว้ในขอ้ สมั มาวาจาแล้ว ผู้เดินเข้าสู่ สภาวะนพิ พาน พงึ เขม้ งวดเรอ่ื งสมั มากมั มนั ตะอยา่ ใหบ้ กพรอ่ ง 22

10. สัมมาอาชีวะ: ทํา อาชีพที่ไม่เดือดร้อนแก่คน และสตั ว์ พทุ ธศาสนา หา้ มมใิ หม้ นุษย์ ทํามาหากิน (อาชพี ) ในทางท่ที ํา ความเดือดร้อนแก่คนและสัตว์ ยดึ หลกั น้ีนําไปใชไ้ ดใ้ นเรอ่ื ง 1. เลอื กชนดิ อาชพี และ 2. ปฏบิ ตั ติ นในอาชพี นนั้ คอื มใิ ช่ว่าเลอื กอาชพี ดแี ลว้ แตอ่ าชพี นนั้ มคี วามโหดรา้ ยตอ่ คน และสตั ว์ ก็ไม่ถูกต้อง ต้องดที งั้ สองอยา่ ง 23

อาชีพต้องห้ามที่พทุ ธศาสนาห้ามไว้มี 5 อาชีพ ถอื เป็นอาชีพชวั ่ ร้าย คือ 1. ขายอาวุธเครื่องประหตั ประหารคนและสตั ว์ เช่น อาวุธปืน อาวุธเคมี ระเบดิ มดี อาวธุ หอก ดาบ ธนู เบด็ ตกปลา กบั ดกั สตั ว์ ฯลฯ 2. ขายมนุษย์ สมยั ใหมม่ กี ฎหมายเรยี กวา่ “ค้ามนุษย”์ คอื หลอก เอาคนไปขายเอาเงนิ เพ่อื : นําไปใช้แรงงานอย่างทารุณ กกั ขงั ขายเดก็ ขายอวยั วะ ขายบรกิ ารทางเพศ ขายคนใหไ้ ปทําสงคราม ฯลฯ 3. ฆ่าสตั วข์ าย รวมทงั้ ขายสตั วม์ ชี วี ติ ใหเ้ ขาเอาไปฆ่า เช่น ตงั้ โรง ฆา่ สตั ว์ ทาํ ฟารม์ หม-ู ไก่-ปลา-กุง้ -กบ-ตะพาบ-ปลาไหล ฯลฯ ขาย ใหเ้ ขาเอาไปฆา่ แมต้ นเองไมไ่ ดฆ้ า่ 4. ขายสุรายาเมา ส่ิงเสพติดทุกประเภท ไม่ว่าเป็นผู้ผลิตหรือ ผขู้ าย 5. ขายยาพิษ สารพิษ ที่เป็นอนั ตรายต่อคนและสตั ว์ ปัจจุบนั มอี าชพี อกี มากมายหลายอยา่ ง อาชพี ชวั ่ รา้ ยมมี ากกว่าน้ี กใ็ หถ้ อื หลกั วา่ อาชพี นนั้ ตอ้ งไมก่ อ่ ความเดอื ดรอ้ นแก่คนและสตั ว์ นอกจากอาชพี ตอ้ งหา้ มแลว้ พฤตกิ รรมการกระทาํ อาชพี กต็ อ้ งเป็น ธรรม พฤติกรรมไม่เป็ นธรรม เช่น การขายของแพง กักตุนสินค้า หลอกลวงคณุ ภาพ ปลอมปน หลอกล่อ ใชเ้ ล่หก์ ล ใหเ้ ขาเสยี ทรพั ยม์ ากเกนิ จําเป็น (เช่น การขายตรงหลายชนั้ ดูดเงนิ เหย่อื มาแจกกนั เหน็ ใครกค็ ดิ ว่า เป็นเหยอ่ื จดั เป็นอาชพี บาป) การซ้ือกดราคาถือว่าตนมีอํานาจต่อรอง พฤติกรรมเหล่าน้ี จดั เป็นความชวั ่ รา้ ย 24

11. สมั มาวายามะ: เพียรรกั ษาจิต สมั มาวายามะ คอื การเพยี รพยายามรกั ษาจติ , คอื เพยี รปฏบิ ตั อิ ยา่ ง เขม้ งวดจรงิ จงั ในขอ้ 7 และ 8 ของมรรค. การปฏบิ ตั ติ ามขอ้ 1 ถงึ 5 ของมรรค 8 ไมต่ อ้ งพยายามอะไร, ปฏบิ ตั ิ ดีไปตามปกติในหวั ข้อธรรม ทงั้ 5 ข้อนัน้ ส่วนท่ีต้องพยายามทําอย่าง ยง่ิ ยวดตลอดเวลา คอื สมั มาสติ และ สมั มาสมาธิ เน่ืองจากสองเร่อื งน้ี เป็นกญุ แจสาํ คญั ใหเ้ ขา้ สสู่ ภาวะนพิ พานได้ สว่ นขอ้ อ่นื เป็นองคป์ ระกอบให้ มสี ภาวะแวดลอ้ มเกอ้ื กูลแกก่ ารบาํ เพญ็ จติ ในขอ้ 7 และ 8 ขอใหเ้ ขา้ ใจว่าการบําเพญ็ หรอื การฝึกจติ นัน้ จะทําเล่นๆไม่ได้, ไม่มี ทางสําเร็จ, ทําผดิ วิธีก็เหน่ือยเปล่า, จึงต้องฝึกฝนตลอดเวลาทุกวนิ าที แม้แต่เวลากําลงั จะหลบั ไม่ว่าทํางานอะไรอยู่ก็ต้องฝึก เรามวี ธิ ฝี ึกท่ีดู แตกต่างจากท่ไี ด้พบเหน็ ทวั ่ ไป แต่ไม่ยากลําบากทารุณ, ไม่เครยี ด, ทํา สบายๆ แต่ตอ้ งถูกวธิ ี และต้องพยายามสม่ําเสมอ. ผลลพั ธก์ เ็ กดิ ขน้ึ แก่ตน คุม้ คา่ กบั เวลาทเ่ี สยี ไป โปรดระวงั ว่า คนทงั้ หลายเกอื บทุกคนไม่มคี วามพยายามเพยี งพอ, ไม่ตงั้ ใจไม่บงั คบั ใจให้แน่วแน่, ปล่อยใจฟุ้งเพ่นพ่านไปตามเร่อื งตามราว เขาจึงไม่ได้ชิมผลความสุขอันต้องเกิดแน่นอนแก่ตน หากเขามีความ พยายามสม่าํ เสมอเทา่ นนั้ เอง กม็ คี วามสขุ 25

12. สมั มาสติ : ตรวจตรา, วิเคราะหแ์ ก้ไข ความคิด ท่ีเกิดขึน้ ในใจของตน, และระลึกรคู้ วามจริงของสภาวะ ต่างๆ ท่ีปรากฏ สมั มาสติ เป็นงานสาํ คญั ทส่ี ดุ ในการเดนิ เขา้ ส่สู ภาวะนิพพาน เป็นการ ฝึกใจอย่างลกึ ซ้งึ ใหจ้ ติ เปลย่ี นทศั นคตจิ อมปลอม จนจติ เกดิ ความตระหนัก รูค้ วามจรงิ โดยไม่ต้องใชเ้ หตุผลอกี แล้ว เป็นงานท่ตี ้องใหค้ วามสําคญั มาก งานสมั มาสตมิ อี ยู่ 2 ประการ ◄ สงั เกตและทาํ ความเขา้ ใจสภาพจติ ใจของตนเอง ◄ สงั เกตและทาํ ความเขา้ ใจสภาวะการณ์ต่างๆ (เรอ่ื งราวตา่ งๆ) ทเ่ี กดิ ขน้ึ แกช่ วี ติ ตนเอง และ ผอู้ น่ื 26

สงั เกตและทําความเข้าใจสภาพจิตใจของตนเอง เม่ือใจมสี ภาวะ อารมณ์ต่อไปน้เี กดิ ขน้ึ ใหร้ วู้ า่ มนั เกดิ ขน้ึ เฝ้าดมู นั ไปเรอ่ื ยๆ คอื 1. ความเกลียด-โกรธ หรือ 2. ความอยากได้ที่ไร้สาระ หรือ 3. ความเศรา้ โศกเสียใจ หรอื 4. ความกงั วล หรอื 5. คิดวา่ ตนเองเก่ง-สงู กว่าคนอ่ืนหรือสตั ว์ จงเฝ้าสงั เกตจติ แล้วถามตนเองว่า ความรู้สกึ หรอื ความคดิ เหล่าน้ี เราสร้างมนั ขน้ึ หรอื มนั ผุดเกิดขน้ึ มาเอง และมนั ทําให้เราทุกข์หรอื สุข สงั เกตดูใหช้ ดั ๆ แน่นอน สงั เกตใหด้ เี ราต้องรูว้ ่า มนั ผุดเกดิ ขน้ึ มาเอง เรา ไมไ่ ดส้ รา้ งมนั ขน้ึ มา ฉะนัน้ เราต้องท้งิ มนั ไป บอกกบั ตนเองว่า อารมณ์นี้ไม่ใช่ของเรา มนั เกิดขึ้นมาเอง เราไม่ได้คิด พลงั ชวั่ ร้ายมนั คิดแทนเรา เราจึงไมเ่ อา และให้พจิ ารณาว่า ตวามคดิ หลอกน้ีมนั สร้างความทุกข์ใหเ้ รา ทําให้ใจเรา รอ้ นรมุ่ กงั วล ไมส่ งบ ไมม่ สี นั ตสิ ขุ ในใจแลว้ เราตอ้ งทง้ิ มนั ไปใหไ้ ด้ 27

ถ้ามันเกิดอารมณ์น้ีข้ึนอีก ก็ สังเกตมันอีก ดูให้เห็นภาพและ คําพูดทม่ี นั สรา้ งเหตุผลมาหลอกเรา มนั สรา้ งอารมณ์ความรสู้ กึ ไมด่ ใี หเ้ รา แลว้ มนั กห็ ายไป ถา้ ทําอย่างไรๆก็ ไม่ยงั หาย กใ็ หท้ ราบว่า ในทส่ี ุดมนั ก็ ต้องหายไปเอง ไม่มีสิ่งใดอยู่ได้ ตลอดโดยไม่สลายหายไป อย่า กงั วล กล่าวง่ายๆก็คอื สงั เกตดูให้รู้ ว่า ความคิดพร้อมด้วยความรู้สึก เหล่าน้ีมนั เกิดเอง ถือว่ามนั เป็น ของมารหรอื ปีศาจ มนั ไม่ใช่ของเรา เราจงึ ท้งิ มนั ไปเสยี ไม่เก็บไว้ และ ไ ม่ คิ ด ต า ม - คิ ด ต่ อ ส า ว ค ว า ม ย า ว ต่อไป สรุปให้สัน้ อีก ดูให้เข้า ใจความจรงิ ว่าเราไม่ไดค้ ดิ ความคดิ ใดท่ีเราไม่ได้คิด ย่อมไม่ใช่ของเรา เราต้องท้ิงมนั ไป เราจงึ มคี วามสุข ได้ 28

สงั เกตและทําความเขา้ ใจสภาวะการณ์ต่างๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ แก่ชวี ติ ตนเอง และผอู้ ่นื น้เี ป็นอกี งานหน่งึ ของสมั มาสติ สงิ่ ของของเราหรอื ของใครๆ มนั ต้องเส่อื มสลายหายไปในท่สี ุด ไม่คงอยู่ตลอดไป ไม่ว่าเป็นสงิ่ จบั ต้องได้ หรอื เป็นนามธรรมทจ่ี บั ตอ้ งไมไ่ ด้ ร่างกายของเราหรอื ของใครๆ ต้องเส่อื มลง และสลายหายไปใน ท่ีสุด เราไม่ใด้เป็นเจ้าของท่ีแท้จริง เราเป็นเจ้าของได้เพียงชวั่ คราว สงิ่ ของหรอื ทรพั ย์ของเราหรอื ของใครๆ ต้องเส่อื มลง และสลายหายไปใน ท่ีสุด เราเป็นเจ้าของไม่ได้จรงิ เป็นเจ้าของได้เพยี งชวั ่ คราว เกียรติยศ ช่อื เสยี ง อาํ นาจ ตอ้ งเสอ่ื มลง และสลายหายไปในทส่ี ดุ เราเป็นเจา้ ของไมไ่ ด้ จรงิ เป็นเจา้ ของไดเ้ พยี งชวั ่ คราว ลองปฏบิ ตั ดิ ว้ ยใจดว้ ยเหตุผลดเู ถดิ ไมย่ ากเลย ผลทไ่ี ดด้ มี าก ความ ทกุ ขล์ ดลงชดั เจน 29

13. สมั มาสมาธิ: รกั ษาจิตให้ โล่งวา่ ง และ รตู้ วั โปรดทง้ิ ประสบการณ์สมาธอิ นั ช่ําชองของท่านเสยี ชวั่ คราว อย่าเพงิ่ ถามหาความถกู ผดิ วา่ วธิ ใี ดถูก วธิ ใี ดผดิ แลว้ ใหท้ ดลองฝึกตามน้ี เราเขา้ ใจกนั ผดิ ว่า สมั มาสมาธิ คอื การเพ่งใจมุ่งอยู่ทส่ี ง่ิ ใดสง่ิ หน่ึง หรอื เร่อื งใดเร่อื งหน่ึง นัน้ เป็นการทําเพ่อื สงบใจ หรอื อาจเป็นสมาธกิ สณิ เพ่อื การเสกเป่ าใช้อํานาจจติ แต่มใิ ช่การกระทําจติ ให้หลุดออกจากทุกข์ เราเช่อื เร่อื งเพ่งใจกนั มาอย่างนัน้ จงึ เสยี โอกาสจะไดล้ ม้ิ รสแห่งความหลุด ทุกข์ ทงั้ ยงั เหน่อื ยเครยี ดมากดว้ ย สมั มาสมาธิ ใช้เพอื่ การหลุดทุกข์ โดยสมั มาสมาธมิ หี น้าทด่ี งั น้ี 1. เป็นการสรา้ งสภาวะจติ ใหพ้ รอ้ มเพอ่ื ใหส้ ตทิ าํ งานไดส้ ะดวก 2. เป็นสภาวะใหผ้ ฝู้ ึกไดท้ ดลองรสนิพพานวา่ มลี กั ษณะเป็นอยา่ งไร 30

สมั มาสมาธิเป็นอยา่ งไร? สภาพของสมั มาสมาธิ คอื สภาพใจทโ่ี ล่งว่างอยา่ งหน่ึง และ รตู้ วั อกี อยา่ งหน่งึ ใจที่โล่งว่าง คือ ว่างจากความคิดของเราเอง และว่างจากความคดิ ฟุ้งซ่าน เราจงึ รสู้ กึ โล่งวา่ งไมม่ อี ะไร เม่ือไม่มีเร่ืองจะต้องคิด ใจกไ็ ม่คิด จึงโล่งว่างจากความคิด ถา้ มีธุระจะคิดอะไรก็คิดไป เป็นเร่ืองจําเป็น เม่ือคิดเสร็จแล้วก็จบ ทัง้ ขณะเดยี วกนั กไ็ ม่มคี วามคดิ ฟุ้งซ่านอะไรทผี ุดโผล่ขน้ึ มาเองโดยเราไม่ไดส้ งั่ ใหค้ ดิ ฉะนัน้ ใจเราจงึ โล่งว่างไม่มคี วามคดิ ไม่ว่าคดิ เองหรอื คดิ ฟุ้งซ่าน จงึ เป็นใจทส่ี บายเบาไม่มอี ะไรแบกหนัก เพยี งไมม่ คี วามคดิ ในสมองเท่านัน้ เอง ใจกโ็ ล่งวา่ ง ส่วนใจที่ร้ตู วั นัน้ เกิดต่อเนื่องจากใจโลง่ วา่ ง คอื ใจไมล่ อยไปไหน ใจอยกู่ บั ตวั เรารตู้ วั เราว่าเราอย่ทู น่ี ่ี ร่างกายเคล่อื นไหวอย่างไรกร็ ตู้ วั คดิ จะทาํ อะไรต่อไปกท็ าํ ไดท้ นั ที ใจทร่ี ตู้ วั นนั้ แหละเป็นเรา เม่ือใดท่ีใจเราร้ตู วั ใจเรากโ็ ล่งวา่ งไปด้วย แตใ่ นทางตรงขา้ ม เมอ่ื ใจเราโล่งวา่ ง เราอาจรตู้ วั หรอื ไม่รตู้ วั กไ็ ด้ ถา้ ใจเราโลง่ วา่ งแต่ไม่รตู้ วั ใจเรา จะจมลงเหมอื นคนหลบั ในหรอื ใกลจ้ ะหลบั เตม็ ที แมว้ า่ ไม่มคี วามคดิ ฟุ้งซา่ น เลยก็ตาม สภาวะท่ใี จโล่งว่างไม่รู้ตวั น้ี ใจจะหลุดสู่เขา้ สู่สภาพฟุ้งซ่านได้ งา่ ยมาก เพราะวา่ ไมม่ นี ายคมุ นายกค็ อื ใจทร่ี ตู้ วั 31

ใจทม่ี ที งั้ สองสภาวะ ทงั้ โล่งว่างและรตู้ วั นัน้ ดมี าก ไม่ง่ายทจ่ี ะหลุดไปสู่ สภาพใจฟุ้งซ่าน หากว่า มคี วามคดิ ฟุ้งซ่านเกดิ ข้นึ เราจะรูไ้ ด้เรว็ สติก็ ทํางาน ถามกเิ ลสมารได้ทนั ทวี ่า แกจะคดิ ฟุ้งอะไร จะเอาอะไรกบั ฉัน จะ หลอกให้ฉันทําอะไร น่ีฉันไม่ได้คิดนะ แกมาคิดให้ฉันทําไม ฉันไม่ได้ ตอ้ งการอยา่ งนนั้ เลย ใจของฉนั จรงิ ๆไม่ไดร้ สู้ กึ อยา่ งนนั้ เลย แกมาหลอก ฉนั ทําไม แกหลอกฉนั ไดส้ นิทเนียนมากนะ ราวกบั ฉนั คดิ เอง เม่อื เป็น อย่างน้ีก็คอื สมั มาสติทํางานแล้ว ฉะนัน้ จงึ กล่าวว่า สมั มาสมาธปิ ูทางให้ สมั มาสตทิ าํ งานไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ กล่าวอกี สกั ครงั้ สมั มาสมาธิ อาํ นวยความสะดวกให้สมั มาสติ ได้ ทาํ งานอยา่ งได้ผล 32

วิธีฝึ กสมั มาสมาธิ ไมต่ อ้ งลาํ บากไปเขา้ ป่าดงดบิ เขา้ ไปอยปู่ ่าชา้ ใครอยทู่ ไ่ี หนกฝ็ ึกทน่ี ัน่ เพราะวา่ ตอ้ งฝึกทุกเวลาทกุ อริ ยิ าบท นงั่ กต็ อ้ งฝึก ยนื กต็ อ้ งฝึก เดนิ วง่ิ กต็ อ้ ง ฝึก ขับรถขับเรือบินก็ต้องฝึก จะหลับก็ต้องฝึก ข้ีเกียจไม่ได้ จํา สมั มาวายามะไดห้ รอื ไม่ ท่านสอนใหเ้ ราตอ้ งพยายามตลอดเวลา ไม่มพี กั นึกขน้ึ ไดร้ บี ฝึกทนั ที ถา้ ไมพ่ ยายามฝึกกไ็ มส่ าํ เรจ็ ไมไ่ ดข้ องดใี หช้ วี ติ เรา ทาํ ไมจงึ ทารณุ นัก เปลา่ เลย มิได้ทารณุ แม้แต่น้อย กเ็ พียงแค่ 1. บอกตนเองว่าจะไมค่ ิด 2. ทาํ ใจให้โลง่ ว่าง และ 3. ดึงใจให้ร้ตู วั ไม่เหน็ ว่าจะเหน็ดเหน่ือยตรงงานไหนเลย ทงั้ ยงั ไดร้ างวลั ฟรๆี ท่ไี ม่เคยมี ใครใหเ้ รา คอื ไดส้ มั ผสั รสความสงบเยน็ ช่นื ใจ ไดล้ ้มิ รสสภาวะนิพพาน แม้ไม่มากนัก ปฏิบตั ิตามน้ีนานแค่ไหน ความสงบเย็นช่ืนใจก็เกิดนาน เท่านัน้ เราจะไม่ต้องการผลอันวิเศษกันบ้างหรือ? ไม่เหน่ือย มีแต่ ความสุข ระวงั เพยี งแต่กิเลสมารมนั ชวนเราว่า “พกั เถิด หยุดเถิด อะไรกนั หนักหนา ไม่มีใครเขาทาํ อย่างนี้” จงอย่าเช่อื มนั เราทาํ แลว้ ก็มีความสุข จะหยุดทําไม เม่ือเข้าใจกันดีแล้ว ก็ลงมือฝึก ฝึกให้ สมั มาสมาธเิ ป็นสว่ นหน่ึงของชวี ติ ใหไ้ ด้ 33

วิธีฝึ ก ทาํ ดงั นี้ นงั ่ หรอื ยนื หรอื เดนิ ในทส่ี บายๆ ทไ่ี มม่ ใี ครกวนใจ จากนนั้ กท็ าํ ดงั น้ี 1. บอกตนเองว่า ต่อไปน้ี ตลอดเวลาทุกวินาที เราจะไม่คิด ฟุ้งซ่าน ถา้ ใจมนั ดอ้ื ยงั อยากคดิ กใ็ หถ้ ามใจตนเองวา่ วนิ าทนี ้ี เดยี๋ วน้ี เราคดิ อะไรอยู่ เพยี งแคน่ ้ี กห็ ยุด ความคดิ ได้ 2. ถา้ เราสามารถหยุดคดิ ไดจ้ รงิ ใจกโ็ ล่งวา่ งขน้ึ มาเอง โดยไมม่ ี ความคดิ หรอื ความฟุ้งซ่านในใจ ใจเรากโ็ ล่งๆว่างๆ เม่อื ใจโล่งว่างแลว้ รบี ฟังวา่ เราไดย้ นิ เสยี งอะไรรอบๆหวั เราไหม? มนั เป็นเสยี งความเงยี บของ ธรรมชาติ เสยี งน้ีคล้ายจกั ๊ จนั ่ รอ้ งหลายตวั หรอื เสยี งเหมอื นลมพดั ใบไม่ ไหว นัน่ แปลวา่ ใจเราน่ิงไดท้ ด่ี แี ลว้ การฟังเสยี งอย่างน้ี ดสี าํ หรบั การฝึก สมาธมิ าก ใจจะนง่ิ อยไู่ ดน้ าน และสบายใจไมเ่ ครยี ด 3. เมอ่ื ใจโล่งวา่ งสบายแลว้ ใหต้ งั้ ใจดงึ ความรตู้ วั ขน้ึ มา โดยบอก กบั ตนเองว่า รูต้ วั รตู้ วั รูต้ วั ดงึ ความรูต้ วั ขน้ึ มาใหไ้ ด้ ถา้ รูต้ วั ไดแ้ ลว้ ก็ ใชไ้ ด้ ถ้าไม่แน่ใจว่ารูต้ วั จรงิ หรอื ไม่ ใหค้ ดิ บวกเลขง่ายๆ เลขหลกั เดยี ว เช่น 6 + 3 เท่ากบั 9 , 4 + 3 เท่ากบั 7, 5+5 เท่ากบั 10 ใชต้ วั เลขอะไรก็ ได้ เอาหลกั เดยี วง่ายๆ หากเราบวกเลขไดถ้ ูก กห็ มายความวา่ เรารูต้ วั แลว้ แตถ่ า้ เรารตู้ วั ไดเ้ องแลว้ กไ็ มต่ อ้ งคดิ บวกเลขใหเ้ ปลอื งเวลา เป็นอนั ว่า เราสามารถทําใจเราใหโ้ ล่งว่าง พรอ้ มกบั รตู้ วั แลว้ เรามี ความสุข และพร้อมบรกิ ารให้สมั มาสติทํางานอย่างได้ผล ทงั้ ใจเราก็มี ความสุขช่นื ใจผดิ ปกตกิ ว่าเดมิ ไม่ใช่บา้ ไม่ใช่หลอน ไม่ใช่สะกดตนเอง แตเ่ ป็นความสขุ ทเ่ี กดิ ขน้ึ จรงิ เป็นความจรงิ 34

อยา่ งไรกต็ าม ขอแนะนําวา่ .. อยา่ เพลนิ สขุ สดช่นื กบั สมั มาสมาธิ มากเกนิ ไป เพราะกเิ ลสรา้ ยมนั ยงั อยู่ ตอ้ งขดู มนั ออกไปจากจติ ใจ หรอื สนั ดานเดมิ ของเรา ทําอย่างไร..ก็ได้แนะนําไว้แล้วในบท “สมั มาสติ” ท่านกลบั ไปอ่านทบทวนได้ เพราะสมั มาสติ เป็นหน่วยรบ หลกั ทจ่ี ะสกู้ เิ ลส ขอท้าให้ทดลองฝึ กตามนี้ แล้วท่านจะพบความสขุ ข้อสําคญั เราต้องรักษาหรือฝึกฝนสมาธิแบบน้ี ตลอดเวลาทย่ี งั ต่นื อยู่ ทุกวินาทีต้องรกั ษาใจให้ โล่งว่าง-ร้ตู วั ไม่ใช่ทาํ เพียงบางเวลา แบบเขา้ ฌานนัง่ สมาธิ ถา้ รกั ที่จะหลดุ ทกุ ข์ กต็ ้องรกั ษาใจให้อย่ใู นสภาพนี้ตลอดเวลา ทุกวินาที.. 35

นัง่ สมาธิเขา้ ฌาน ถา้ ไมก่ ล่าวถงึ การนงั ่ สมาธิ หรอื เรยี กวา่ เขา้ ฌานกไ็ ด้ กด็ จู ะขาดเรอ่ื งน่า รู้ไปหน่อย ท่ีไหนๆ เขาก็ชวนกันนัง่ สมาธิ แล้วเราจะไม่นัง่ สมาธิกันบ้าง หรอื ? ใชว้ ธิ อี านาปานสติ จะดมี าก หาพน้ื ทน่ี งั ่ เหมาะๆ คอื ปลอดโปรง่ กนั ยงุ กนั แมลงได้ ไมเ่ ปียก ไมร่ อ้ น มเี กา้ อน้ี งั ่ หรอื นงั ่ กบั พน้ื กต็ ามถนดั นงั่ ทา่ ทส่ี บาย ไมท่ รมาน จากนนั้ ไหวพ้ ระ ทต่ี นนบั ถอื แลว้ สงั เกตลมหายใจ รวู้ ่าหายใจเขา้ รวู้ ่าหายใจออก ใจไม่จบั จอ้ งทล่ี ม หายใจ แต่สง่ ความรสู้ กึ ออกไปไกลๆไรข้ อบเขต ใหใ้ จโล่งวา่ ง พรอ้ มกบั รวู้ า่ กําลงั หายใจ เมอ่ื รวู้ า่ หายใจ ลมหายใจกแ็ รงขน้ึ เองโดยไมต่ อ้ งบงั คบั รกั ษาสภาพใจท่โี ล่งว่างรูต้ วั เอาไวเ้ ร่อื ยๆ นานๆ ถ้าใจมนั คดิ ฟุ้งซ่าน ข้นึ มารบกวน ก็ให้ถามตวั เองว่า คดิ อะไร ๆ ๆ อาการฟุ้งซ่านก็หยุดลงได้ เราไม่สนใจมนั ท้งิ มนั ไป เพราะว่าเราไม่ได้คดิ กเิ ลสปีศาจมนั คดิ จะรบั ถอื เอาไวท้ ําไมกนั มแี ต่ความทุกขท์ งั้ นัน้ หดั สลดั ทง้ิ อย่างน้ีบ่อยๆ จติ กผ็ ่องใส ข้นึ ขอแนะนําวธิ แี ก้ฟุ้งซ่านมาช่วยอีกวธิ หี น่ึง คอื ตงั้ ใจฟังเสยี งความ เงยี บของธรรมชาตดิ งั ทก่ี ลา่ วแลว้ ตามขอ้ 2 ทผ่ี า่ นมา หากเกิดปวดเม่ือย อย่าส่งใจไปจุดท่ีปวดเม่ือย ให้รีบดูใจว่า ขณะ ร่างกายปวดอยนู่ ้ีใจเรารสู้ กึ อยา่ งไร กจ็ ะเขา้ ใจความสุขทุกขข์ องกายเรา เม่อื สมควรแก่เวลา กย็ ตุ กิ ารนงั ่ สมาธิ 36

37

14. สรปุ การปฏตั ิธรรมด้วย มรรค 8 เพือ่ เขา้ ส่สู ภาวะนิพพาน คําว่า “การปฏิบตั ิธรรม” หมายถึงการปฏบิ ตั ิตนในแนวทางพุทธ ศาสนา ซง่ึ ตอ้ งปฏบิ ตั ติ น 3 เรอ่ื ง คอื 1. ไมท่ าํ ให้ผ้อู ื่นเดือดร้อน ทงั้ คนและสตั ว์ 2. ช่วยเหลือเกือ้ กลู ผอู้ ื่น ทงั้ คนและสตั ว์ 3. ทาํ ใจให้บริสทุ ธ์ิ ข้อ 1. คือ ศีล ข้อ 2. คือ ทาน ข้อ 3. คือภาวนา ต้องครบสาม ประการ จึงเรยี กว่า การปฏิบตั ิธรรม การนัง่ สมาธิเข้าฌาณอย่างเดยี ว ไม่ใช่การปฏบิ ตั ธิ รรม เป็นภาวนาอย่างเดยี วเท่านัน้ อยากให้เรยี กกนั ให้ ถูกต้อง การภาวนาอย่างเดยี ว ไม่มที างหลุดทุกขเ์ ขา้ สู่สภาวะนิพพานได้ เพราะวา่ สภาพพน้ื ฐานจติ ยงั ไม่พรอ้ ม จติ ใจยงั คดิ แบ่งแยก ไมย่ อมเป็นหน่ึง เดยี วกบั คนและสตั วท์ กุ ชวี ติ จงึ ยกระดบั จติ ขน้ึ ไมไ่ หว ยงั หนกั อยู่ 38

ขอ้ ปฏิบตั ิศีลและทานด้วยมรรค 8 สําหรับมรรค 8 นัน้ ข้อ 3-4-5 สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ และ สมั มาอาชวี ะ เป็นการปฏบิ ตั ทิ งั้ ศลี และทาน สมั มาวาจา ถา้ ไม่พดู ใหผ้ อู้ ่นื เดอื ดรอ้ น กเ็ ป็นศลี ถา้ พดู แนะนําผอู้ ่นื ใหพ้ น้ ทุกขห์ รอื ใหม้ คี วามสขุ กเ็ ป็นทาน สมั มากมั มนั ตะ ถ้ากระทํากจิ กรรมใดๆ(ยกเวนั เร่อื งอาชพี มหี วั ขอ้ ต่างหาก) ไม่ก่อความเดือดร้อนให้ผู้อ่ืนทัง้ คนและสตั ว์ ก็เป็นศีล ถ้า กจิ กรรมนนั้ ช่วยเหลอื ผอู้ น่ื คนและสตั ว์ ใหพ้ น้ ทุกข์ หรอื ใหม้ คี วามสขุ กเ็ ป็น ทาน สมั มาอาชีวะ ถ้าอาชพี ของเราไม่ก่อความเดอื ดร้อนแก่คนและสตั ว์ ก็เป็นศีล ถ้าอาชีพของเราช่วยให้คนและสตั ว์พ้นทุกข์หรือมีความสุข กเ็ ป็นทาน 39

ข้อปฏิบตั ิภาวนาด้วยมรรค 8 ขอ้ ปฏบิ ตั ทิ เ่ี ป็นหวั ใจ คอื ข้อ 7 สมั มาสติ พจิ ารณาสภาวะจติ ใจของ เรา และสภาวะท่เี กิดข้นึ ในชีวติ เราและผู้อ่ืน ให้เขา้ ใจการทํางานของจติ และ รคู้ วามจรงิ ของความเป็นไปของชวี ติ นอกเหนือจากเร่อื งจติ พจิ ารณา ไป กเ็ ขา้ ใจจติ ของเรามากขน้ึ และเขา้ ใจกเิ ลสมากขน้ึ ทงั้ ยงั เขา้ ใจธรรมชาติ ของสรรพสงิ่ ว่า มนั ไม่ยงั่ ยนื ท่ีสุดก็สลายหายไป เราก็จะมจี ติ เข้มแขง็ กิเลสน้อยลง เม่อื สภาวะจติ พร้อมได้ท่ี ก็หลุดจากกิเลสไหลเขา้ สู่สภาวะ นพิ พาน สมั มาสตสิ าํ คญั มาก เป็นขอ้ หลกั ของการปฏบิ ตั ิ ขอใหท้ ่านกลบั ไป อา่ นหวั ขอ้ “สมั มาสติ” ใหเ้ ขา้ ใจจรงิ ๆ และจาํ ไวป้ ฏบิ ตั ิ การปฏิบตั ิข้อ 8 สมั มาสมาธิ เป็นการกวาดทางใหส้ ะดวก ไม่มสี งิ่ กดี ขวางเกะกะ สะดวกแก่สมั มาสติ สตจิ งึ สมารถจบั กเิ ลสไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ฉบั พลนั ทนั เหตกุ ารณ์ การปฏิบตั ิข้อ 6 สมั มาวายามะ เป็นการวางเงอ่ื นไขในการปฏบิ ตั ขิ อ้ 7 และ 8 บอกวา่ เราตอ้ งทาํ ตลอดเวลาทุกวนิ าที ตอ้ งพยายามขยนั ไมใ่ ช่ ทําอย่างงานอดเิ รกตามเร่อื งตามราว ว่างๆค่อยทํา อย่างนัน้ ไม่ได้ การท่ี เราต้องดูและจติ ใจตลอดเวลาไม่มพี กั เลย เราจงึ ต้องขยนั สุดยอดขยนั คอื ทําตลอดเวลา อย่างนัน้ จรงิ ๆ ความขยนั ตลอดเวลาของเรานัน้ ไม่ไดท้ ํา ความเหน็ดเหน่ือยอ่อนลา้ ใหเ้ ราเลย ใหแ้ ต่ความสุขสดช่นื ยง่ิ ทาํ ยงิ่ สขุ ยงิ่ สขุ กย็ ง่ิ มแี รงใจกระตุน้ ใหด้ แู ลจติ ใจ ผดิ กบั ความพยายามทาํ อ่นื ๆ ทย่ี ง่ิ ทาํ มากยง่ิ เหน่อื ยลา้ 40

งานเปิ ดประตสู ่สู ภาวะนิพพาน การเขา้ สู่สภาวะนิพพาน ตอ้ งเปิดประตูเขา้ ไป คอื การปฏบิ ตั ติ ามขอ้ 1 และ 2 ของมรรค นนั ่ เอง การปฏิบตั ิขอ้ 1 สมั มาทฐิ ิ รผู้ ดิ ชอบชวั่ ดี เป็นรหสั ผา่ นหรอื สญั ญาณ ผ่านประตูธรรมะเข้ามาหาความสําเร็จหลุดทุกข์ ถ้าเป็นคนมิจฉาทิฐิ เร่อื งดกี ว็ ่าชวั ่ เร่อื งชวั ่ กลบั ว่าดี อย่างน้ีประตูนิพพานปิดสนิท ไม่ต้องทํา อะไรอกี แลว้ พาชวี ติ เขา้ สปู่ ระตูทุกขห์ รอื ประตนู รกเทา่ นนั้ การปฏิบตั ิข้อ 2 สมั มาสงั กปั ปะ ตงั้ เจตนา ตงั้ ใจมนั่ วา่ จะปฏบิ ตั ติ น เขา้ ส่สู ภาวะนิพพาน เป็นการตงั้ ใจใหแ้ น่วแน่เอาจรงิ เป็นการตงั้ เขม็ ทศิ ชวี ติ ใหไ้ ปทางน้ี ทางอ่นื ่ไม่ไป กช็ ่วยใหม้ คี วามเดด็ เดย่ี วในการปฏบิ ตั ิ ศลี - ทาน-ภาวนา ใหด้ ที ส่ี ดุ จนสาํ เรจ็ 41

เหตผุ ลที่ต้องมีศีลและทาน จติ ของผูเ้ ขา้ สู่สภาวะนิพพานนัน้ ละลายเป็นหน่ึงเดยี วกบั สรรพชวี ติ ไม่มกี ารแบ่งแยกว่า นัน่ เขา น่ีเรา จงึ ต้องมคี วามเมตตาสูงมาก การแบ่ง เขาแบ่งเรา เขาไมใ่ ชเ่ รา เราไมใ่ ชเ่ ขา เรากร็ งั แกขม่ เหงเขาได้ และเรากไ็ ม่ ช่วยเหลอื เขาให้พ้นทุกข์ ตวั อย่างง่ายๆ ถ้าคดิ ว่าเราสูงศกั ดกิ ์ ว่าไก่ เราไมเ่ กย่ี วกบั ไก่ ไก่กไ็ มเ่ กย่ี วอะไรกบั เรา มไิ ดเ้ ป็นพวกเดยี วกนั เราจงึ ไม่ สงสารเหน็ ใจไก่ สามารถเชอื ดคอไก่ไดอ้ ยา่ งไมร่ สู้ กึ ละอายสงสาร แถมยงั มี ขอ้ อา้ งดา้ นๆวา่ พระเจา้ ประทานสตั วใ์ หเ้ ป็นอาหารของคน หรอื ดว้ ยเหตุผล อ่ืน ถ้าเราเป็นหน่ึงเดียวกบั ไก่ ก็มีเมตตา ฆ่าไก่ไม่ลง ไม่กินไก่อย่าง เอรด็ อรอ่ ยเหมอื นผอู้ ่นื และเรากค็ อยชว่ ยเหลอื ดแู ลไก่ใหม้ คี วามสขุ ข้อสรปุ การปฏิบตั ิภาวนา จงปฏิบตั ิข้อมรรค 1-2-3-4-5 ให้เรยี บร้อยเป็นปกติ พร้อมกบั มุ่ง ปฏบิ ตั สิ มั มาสติ คอื ระวงั อยา่ รบั เอาโกรธ-เกลยี ด-อยาก-เศรา้ -กงั วล-ยกตน เมอ่ื พบมนั กส็ งั เกตมนั จนมนั หายไป และมสี มั มาสมาธิ ทําใจใหโ้ ล่งว่างรูต้ วั ร่วมกนั ไปดว้ ยกนั (เพราะว่าเก้อื กูล กนั ) ทงั้ สองอย่างน้ีใหป้ ฏบิ ตั อิ ยา่ งยง่ิ ยวดทุกวนิ าทอี ย่างเอาจรงิ เอาจงั โดย ยง่ิ ทาํ ยงิ่ มคี วามสขุ ไมเ่ หน่อื ยไมเ่ ครยี ดเลย 42

แลว้ วนั หน่ึง จะเกดิ ผลมหศั จรรย์ ไดพ้ บว่า ทําไมใจเราเป็นอย่างน้ีได้ ใจมคี วามสุข โล่งว่าง รูต้ วั สบาย และความโกรธ-อยาก-เศรา้ -กงั วล-ยก ตน หายไปเร่อื ยๆ จนหมด คราวน้ีนัง่ เดนิ อยู่ท่ไี หน ก็รู้สกึ เหมอื นไม่มี รา่ งกาย มแี ตจ่ ติ ทไ่ี มไ่ ดผ้ กู ยดึ กบั อะไรเลย ไมใ่ ชว่ า่ งแบบหายไปไมร่ ตู้ วั ขอให้ท่านลงมือปฏิบตั ิตามมรรค 8 ได้เลย รบั รองวา่ ไมผ่ ิดหวงั 43



ประวตั ิย่อ ดร. บญุ เสริม บญุ เจริญผล • เกดิ พ.ศ. 2481 ท่ี จ. ฉะเชงิ เทรา • จบชนั้ ประถมศกึ ษา รร. ไพบลู ยป์ ัญญา วดั สามรม่ ฉะเชงิ เทรา • จบชนั้ มธั ยมศกึ ษา รร. เบญจมราชรงั สฤษฎิ์ ฉะเชงิ เทรา • จบชนั้ เตรยี มนายรอ้ ย ท่ี รร. เตรยี มนายรอ้ ย • จบปรญิ ญาตรี วทิ ยาศาสตร์ รร. นายรอ้ ยพระจลุ จอมเกลา้ รนุ่ 9 • จบ ป.โท พฒั นาการเศรษฐกจิ ท่ี ม. เกษตรศาสตร์ • จบ ป.โท เศรษฐศาสตร์ ภาคภาษาองั กฤษ ท่ี ม. ธรรมศาสตร์ • จบ ป.เอก เศรษฐศาสตร์ ท่ี ม. ธรรมศาสตร์ ประวตั ิการทาํ งาน • กองทพั อากาศไทย ยศเรอื อากาศเอก พ.ศ. 2505 - 2513 • คณะเศรษฐศาสตร์ ม. เกษตรศาสตร์ หวั หน้าสาขาเศรษฐศาสตรเ์ ชงิ ปรมิ าณ พ.ศ. 2513 - 2535 • สาํ นกั นายกรฐั มนตรี ทป่ี รกึ ษารฐั มนตรปี ระจาํ สาํ นกั นายกรฐั มนตรี พ.ศ. 2535 - 2536 • มหาวทิ ยาลยั เกรกิ คณบดคี ณะเศรษฐศาสตร์ พ.ศ. 2536 - 2548 • ปัจจุบนั ผเู้ ขยี นบทความธรรมะและปรชั ญาชวี ติ รวมถงึ เป็นวทิ ยากร ผบู้ รรยายธรรมะ 45

ดร.บญุ เสริม บญุ เจริญผล เขียน ขอบคณุ รปู ภาพจาก www.pexels.com/th-th www.unsplash.com www.canva.com

มลู นิธพิ ระพุทธสันตธิ รรม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook