Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เรื่อง ความสุขจากการไม่มี

เรื่อง ความสุขจากการไม่มี

Published by DHARMA Sawaddee, 2021-05-19 09:53:39

Description: E-Book เรื่อง ความสุขจากการไม่มี

โดย ดร.บุญเสริม บุญเจริญผล

Search

Read the Text Version

มลู นิธิพระพุทธสันตธิ รรม ความสขุ จากการไม่มี โดย ดร.บญุ เสริม บญุ เจริญผล



มลู นิธพิ ระพุทธสันตธิ รรม พนั ธกิจ มลู นิธิพระพทุ ธสนั ติธรรม ⬧ สร้างธรรมสถาน ⬧ เผยแผพ่ ระธรรม ⬧ อปุ ถมั ภพ์ ระสงฆ์ ⬧ สงเคราะหผ์ ยู้ ากไร้ ⬧ ให้ปัญญาแก่ประชาชน

ความสขุ จากการไมม่ ี ไม่ว่าคนหรอื สตั ว์ ดารงชีวิตอยู่ได้ต้องอาศยั ส่ิงของหรอื บริการภายนอกร่างกาย สาหรบั สตั ว์ต้องการปัจจัย เพียง อาหาร ทอ่ี ยอู่ าศยั อาจตอ้ งการยารกั ษาโรคดว้ ย เชน่ หญา้ ท่ี เป็นยาและเป็นอาหารด้วย และแสงแดดธรรมชาติ เพ่อื ทาให้ ร่างกายแข็งแรง สัตว์บางอย่างต้องการท่ีอาศัยเป็นสัดส่วน เฉพาะ คอื มรี งั ส่วนมนุษย์นัน้ มากเร่อื งกว่าสตั ว์ สงิ่ ของท่ี จาเป็นเพ่อื ดารงชวี ติ ต้องมี อาหาร ท่อี ยู่อาศยั เคร่อื งนุ่งห่ม และยารักษาโรค ทัง้ ยังต้องมีสิ่งอานวยความสะดวกสบาย ความสวยงามเขา้ มา เช่น ประกอบอาหาร ประกอบทอ่ี ยอู่ าศยั ประกอบเคร่อื งนุ่งห่ม และประกอบยารกั ษาโรค นอกเหนือ ความสะดวกแก่ปัจจยั จาเป็นแลว้ ยงั ตอ้ งการสง่ิ ของหรอื บรกิ าร ทป่ี รนเปรอทไ่ี มจ่ าเป็น คอื กเิ ลสต่าง ๆ อกี มากมาย ทงั้ หมดท่ี คนต้องการน้ีกห็ วงั ว่าจะทาให้ชวี ติ ไม่มคี วามทุกข์ - มคี วามสุข และสุขมากขน้ึ แต่ความสขุ มไิ ดเ้ กดิ ขน้ึ ตามลาดบั แหง่ การไดม้ ี สง่ิ ของหรอื บรกิ ารมากขน้ึ ๆ 1

สภาวะแห่งการมีและไมม่ ี กบั เป็นสขุ และเป็นทุกข์ ก า ร มี - ไ ม่ มี แ ล ะ ค ว า ม สุ ข - ค ว า ม ทุ ก ข์ มีความเกี่ยวข้องกนั 3 สภาวะดงั นี้ 1. ไมม่ เี ป็นทกุ ข์ มเี ป็นสขุ 2. ไมม่ เี ป็นสขุ มเี ป็นทกุ ข์ 3. ไมม่ กี เ็ ป็นทุกข์ มกี เ็ ป็นทุกข์ 4. ไมม่ กี เ็ ป็นสขุ มกี เ็ ป็นสขุ 2

ความสขุ จากการไม่มี 1. ไม่มีเป็นทุกข์ มีเป็นสขุ มนุษย์ต้องมีสิ่งท่ีจาเป็ นแก่ชีวิต ถ้าขาดแคลนไม่มีแล้ว ทาใหเ้ ป็นทุกข์ สงิ่ ทจ่ี าเป็นเพ่อื ดารงชวี ติ ไดแ้ ก่ อาหาร ทอ่ี ย่อู าศยั เครอ่ื งนุ่งห่ม และยารกั ษาโรค 3

ถา้ ขาดแคลนสง่ิ เหล่าน้ี ชวี ติ ตอ้ งทนทุกขท์ ุรนทุราย และอาจถงึ แก่ชวี ติ เช่น ร่างกายขาดอาหาร ทาใหห้ วิ โหยอดิ โรยและเจบ็ ป่วย จนถงึ เสยี ชวี ติ เม่อื ป่วยไข้ ถา้ เป็นโรคทร่ี กั ษากห็ าย ไม่รกั ษากต็ าย ก็จาเป็ นต้องอาศัยยาหรือบริการรักษาโรค ส่วนท่ีอยู่อาศัยและ เคร่อื งนุ่งห่ม ถ้าขาดแคลนก็ทาใหช้ วี ติ ทุกขท์ รมาน ผูท้ ต่ี ้องนัง่ กรา ฝนอย่นู อกอาคาร ย่อมรสู้ กึ ว่าบ้านมคี วามสาคญั แก่ชวี ติ ในภูมภิ าค ทห่ี นาวจดั หากเราไมม่ ที อ่ี ยอู่ าศยั และเสอ้ื ผา้ ทใ่ี หค้ วามอบอุน่ กต็ อ้ ง ตายแน่นอน ทอ่ี ยู่อาศยั และเสอ้ื ผา้ ทพ่ี อเหมาะแก่ สภาพอากาศจงึ จาเป็นแก่ชวี ติ 4

ความสขุ จากการไม่มี 2. ไม่มีเป็นสขุ มีเป็นทุกข์ สง่ิ ของและบรกิ ารตา่ ง ๆ บางอยา่ งจาเป็นแกช่ วี ติ บางอยา่ งเป็น ส่วนเกนิ ไม่จาเป็นแก่ชวี ติ ส่วนเกินนี้เอง ทาให้เรามีความทุกข์ เกินมากกท็ ุกขม์ าก เกินน้อยกท็ ุกขน์ ้อย แต่มนุษย์ทุกคนมกั ไม่ ยอมรบั ว่าสว่ นเกนิ เป็นความทุกข์ เพราะว่า ความอยากมนั บงั ตาอยู่ ทาใหม้ ขี อ้ อา้ งสาหรบั แกต้ วั ต่าง ๆ เช่น เรามบี า้ นพกั หรหู ราส่วนตวั อย่ตู ามภูเขาหรอื ชายทะเล ทจ่ี รงิ กเ็ ป็นภาระ คอื เป็นทุกขต์ อ้ งเสยี ค่าจ่ายมาก เสียเวลาดูแลให้สะอาดสวยงาม ทงั้ ท่ีนาน ๆ จึงใช้ ประโยชน์ครงั้ หน่งึ 5

ถ้าเจ้าของทาใจให้เป็ นกลาง ไม่ให้ความอยากมันบังตา ก็จะทราบว่า มนั ไม่คุ้มกนั เลยระหว่างความพอใจท่ไี ด้รบั กบั ความ ทุกข์แฝงท่ีเกิดข้นึ นอกจากเสียเวลา เสียค่าใช้จ่ายแล้ว ยงั เสยี ใจ เสยี อารมณ์กบั คนดูแลทจ่ี า้ งไว้ เม่อื ไปพกั ผ่อนก็ต้องพกั ทเ่ี ดมิ จาเจ มไิ ดต้ ่นื เตน้ กบั สง่ิ แวดลอ้ มแปลก ๆ แต่แลว้ กเิ ลสมนั กส็ รา้ งขอ้ แกต้ วั ขน้ึ ว่า ถงึ จะเป็นภาระหนัก แต่กเ็ ป็นหน้าเป็นตาแก่ตนเอง เพ่อื นฝงู ญาตพิ น่ี ้องไดอ้ าศยั พกั บา้ นตากอากาศหลงั น้ี เขากย็ กยอ่ งเราว่าเป็น คนมฐี านะดี แทจ้ รงิ เขายกยอ่ งหรอื อาจตาหนิขอ้ บกพรอ่ งของบา้ นจน หมดศรทั ธาเรากเ็ ป็นได้ ทค่ี าดว่าจะเป็นหน้าเป็นตา กก็ ลายเป็นขอ้ ครหาก็ได้ เรารู้เร่ืองก็โกรธไม่พอใจเขาแทนท่ีจะได้หน้าตา กลบั กลายเป็นทกุ ขเ์ สยี อกี 6

เ ร า ค ง เ ค ย เ ดิ น เ ข้ า ไ ป ใ น บ้ า น ข อ ง เ พ่ื อ น ห รื อ ญ า ติ บ า ง ค น เขาวางสิ่งของต่าง ๆ ไว้เต็มไปหมด ช่องทางเดินก็แทบไม่มี ต้องเดนิ ตวั ลีบหลีกของไปจึงผ่านได้ เขาเป็นคนช่างเก็บ ของไม่ จาเป็นก็เก็บไว้ คาดว่าคงต้องใช้ในวนั ข้างหน้า แต่เขาก็ไม่ได้ใช้ มนั เลย เขามเี พยี งสองเทา้ แต่เกบ็ รองเทา้ ไว้ 50 คู่ ราวกบั ว่าเขามี ตนี เป็นกง้ิ กอื คนอยา่ งน้ี น่าจะเป็นโรคจติ ประเภทหน่งี 7

หลกั ของความจรงิ มอี ย่วู ่า “ เรามสี งิ่ ใด กต็ อ้ งทุกขก์ บั สง่ิ นัน้ แม้สิ่งท่ีจาเป็ นก็เกิดความทุกข์ได้ ถ้าความทุกข์นัน้ น้อยกว่า ประโยชน์จริงท่ีได้รับ ก็ควรมี ถ้าความทุกข์นั้นมากกว่า ประโยชน์จรงิ กไ็ มค่ วรมสี ง่ิ นนั้ ” แต่ความชงั่ ใจระหว่างความทุกข์กบั ประโยชน์ มกั ตงั้ อยู่บน ความลาเอยี งท่กี เิ ลส มนั สรา้ งมาบงั ความคดิ ท่เี ป็นกลาง ทาให้ ต้องทนทุกขอ์ ยู่โดยไม่รู้ว่าทุกข์ คนท่คี ดิ ลาเอยี งกเ็ ป็นคนสามญั ธรรมดา คนท่ีคิดไม่ลาเอียงก็เป็นปราชญ์ ผู้มีความคิดเป็น ปราชญจ์ ะทง้ิ สง่ิ ของหรอื บรกิ ารทไ่ี มจ่ าเป็นออกจากชวี ติ ไป 8

ความสขุ จากการไม่มี 3. ไมม่ ีกเ็ ป็นทุกข์ มีกเ็ ป็นทุกข์ คนบางคนเป็นคนสะสมทุกข์ อะไร ๆ ก็คิดให้เป็นทุกข์ ไว้ก่อน เม่ือยังไม่มีส่ิงของใดหรือสภาวะใด ก็หงุดหงิดใจ อยากจะมแี ลว้ ไมม่ ี ทาใหข้ ดั ขอ้ งรอ้ นรน จงึ ไปแสวงหาสงิ่ ของท่ี อยากได้ ครนั้ ได้มาแล้ว ก็เกิดผิดหวงั อีก ไม่เป็นอย่างท่ีคดิ กก็ ลมุ้ ใจทุกขอ์ กี 9

เช่น หญิงบางคนมีความทุกข์ รู้สึกเดียวดาย อยากมี คู่ครองไว้เป็นคู่ชวี ติ จงึ แสวงหาจนไดม้ าครนั้ อยู่เป็นครอบครวั แลว้ ก็รู้สึกว่า ผู้ชายไม่มีคุณภาพอย่างท่ีคาดหวัง จึงทุกข์ใจอีก เป็นอนั วา่ ไมม่ กี ท็ กุ ข์ มกี ท็ กุ ขอ์ ยา่ งไรกต็ ามเหตุการณ์อยา่ งน้ี เกดิ ขน้ึ ได้กับทุกคน แม้ไม่เป็นคนอมทุกข์ก็ตาม เน่ืองจากเราไม่ทราบ อย่างแทจ้ รงิ ว่า สงิ่ ทจ่ี ะไดม้ ามคี ุณภาพอย่างไรแน่ สงิ่ ทเ่ี ราอยากได้ ผา่ นมาใหเ้ หน็ นนั้ เป็นภาพผวิ เผนิ ส่วนเลวรา้ ยดอ้ ยคุณภาพ ยงั มไิ ด้ เปิดเผยออกมา ฉะนัน้ ในการเลือกซ้ือสงิ่ ของ ก็อย่าใจร้อนรบี ซ้ือ จงสบื สวนหาความจรงิ เสยี ก่อน ยง่ิ เป็นคนด้วยแล้ว ยง่ิ ต้องสืบให้ ชดั เจนวา่ มคี วามดคี วามเลวประการใดบา้ ง 10

ความสขุ จากการไม่มี 4.ไม่มีกเ็ ป็นสขุ มีกเ็ ป็นสขุ คือ มีกด็ ี ไมม่ ีกไ็ ด้ 1. สิ่งของหรือสภาวะนัน้ มลี กั ษณะกง่ึ จาเป็ นก่ึงไม่จาเป็ น คอื ไมถ่ งึ กบั จาเป็นเสยี ทเี ดยี ว เมอ่ื ขาดไปกไ็ มไ่ ดท้ า ให้เป็ น ทกุ ข์ ถา้ มกี ส็ ะดวกขน้ึ 2. บุคคลนัน้ มใี จทพ่ี ฒั นาแลว้ จงึ มไิ ดเ้ ดอื ดเน้ือรอ้ นใจกบั การมี หรอื ไม่มี ใจของผู้นัน้ มไิ ด้ผูกกบั การได้การอยากมเี หมอื นคน ทงั้ หลายทวั่ ไป จงึ สามารถเกดิ สภาพ มกี ด็ ี ไม่มกี ไ็ ด้ เป็นสุข ไดท้ งั้ สองสถานะ 11

หลกั ปฏิบตั ิของการมีน้อยท่ีสดุ มีหลกั ปฏิบตั ิ ดงั นี้ 1. เมื่อจะซื้อ ต้องคิดว่า ส่ิงของหรือบริการน้ี จาเป็นต้องมี หรอื ไม่ ถา้ ไมจ่ าเป็นกอ็ ยา่ ซอ้ื 2. เมื่อมีอยู่ ก็พิจารณาว่า ส่ิงของหรือบริการใดไม่ได้ ใช้เก็บวางไว้นานแล้ว ก็จงนาออกไปขายหรือบริจาค ใหผ้ อู้ ่นื นาไปใชป้ ระโยชน์ต่อไป 12

ประโยชน์ของการมีน้อยท่ีสดุ การมีสิ่ งของและบริการน้ อยท่ีสุดมีคุณประโยชน์ แก่ ชีวิตมาก ดงั นี้ 1. ลดภาระการดแู ลสงิ่ ของสว่ นเกนิ เหล่าน้ี 2. บา้ น ตู้ ชนั้ วางของ โลง่ เตยี นมากขน้ึ บา้ นน่าอยมู่ ากขน้ึ 3. ลดรายจา่ ยการซอ้ื และการดแู ลรกั ษา 4. มีเวลาเหลือจัดการและพิจารณาเร่ืองจาเป็ นแก่ชีวิต มีเวลามากข้ึนสาหรับทาความดีให้ชีวิต โดยเฉพาะ เร่ืองสุขภาพ ความสะอาดเรียบร้อย ภาระงานท่ีต้องทา การฝึกจติ ใหส้ งบสะอาด เป็นตน้ 5. มีโอกาสให้ความสัมพันธ์กับคนในครอบครัวมากข้ึน สมั พนั ธก์ บั บคุ คลอ่นื มากขน้ึ 6. ความเครียดลดลง ( Less stuff, less stress. ) ไม่ต้อง ห่วง กังวลในสิ่งของเหล่านัน้ ว่าจะเสียหรือหาย มีมาก หว่ งมาก มนี ้อยหว่ งน้อย ความหว่ ง คอื ความกงั วล 7. รวมทุกข้อแล้วสรุปได้ว่า การมีแต่พอดี ทาให้มีความสุข มากขน้ึ 13

“ ขอให้ท่านมีทุกอยา่ ง แต่พอดี เท่าท่ีจาเป็น แล้วท่านจะมีความสขุ มากขึน้ ส่วนเกินนัน้ ล้วนทาให้เกิดความทกุ ข์ นาออกไปจากบ้านเสีย ”



พระพทุ ธเจา้ กบั ชายเลีย้ งววั วิถีแห่งความสขุ ไมไ่ ด้อยทู่ ี่ “ ความมี ” หรอื “ ความจน ” แต่อย่ทู ่ีเรา จงยินดีในส่ิงท่ีมี รจู้ กั พอดี ในสิ่งที่ได้ เท่านี้กม็ ีความสขุ แล้ว

ณ ครงั้ พทุ ธกาล… พระพุทธเจ้า เสด็จประทับอยู่กลางป่ า ช่วงปลายฝนต้นหนาว มีชายคนหนึ่ง ซ่ึงมีอาชีพเป็ นคนเลี้ยงโคชื่อว่า นายโคบาล ได้มา พบเข้ากบั พระพทุ ธเจ้า ซึ่งไม่ทราบว่าเป็น “ พระพทุ ธองค์ ” นายโคบาลจงึ เขา้ ไปถามวา่ : “ ขอโทษขอรบั ท่านเป็นใคร ” พระพทุ ธเจา้ ทรงตรสั ตอบว่า : “ เราตถาคต ” นายโคบาลตกใจบอกวา่ : “ พระองคม์ านงั่ อยกู่ ลางป่าไดอ้ ยา่ งไร พระองคม์ คี วามสขุ ไหม ? ” พระพทุ ธองคท์ รงตรสั ตอบวา่ : “ เธอรไู้ หม ในบรรดาคนทม่ี คี วามสขุ ทส่ี ดุ ในโลก ฉนั เป็นหน่งึ ในนนั้ ” 17

นายโคบาลไดย้ นิ พระดารสั เชน่ นนั้ ถงึ กบั ตวั ชาและมคี วามปิติ ดว้ ยอานาจของพระพทุ ธองค์ พระพทุ ธองค์ ตรสั ถามตอ่ วา่ : “ เธอกาลงั ทาอะไร ? ” นายโคบาลตอบวา่ : “ หมอ่ มฉนั ตามหาววั ขอรบั ” พระพทุ ธองค์ ตรสั ถามต่อวา่ : “ ววั ก่ี ตวั ? ” นายโคบาลตอบวา่ : “ 16 ตวั ขอรบั ” พระพทุ ธองค์ ตรสั ถามตอ่ วา่ : “ แลว้ ตอนน้ี ววั อยไู่ หน ? ” นายโคบาลตอบวา่ : “ ววั หายทงั้ หมดเลยขอรบั ” 18

พระพทุ ธองค์ ตรสั ถามต่อวา่ : “ เธอคดิ ว่าฉนั มวี วั ไหม ? ” นายโคบาลตอบวา่ : “ ไมม่ ขี อรบั ” พระพทุ ธองค์ ตรสั ถามตอ่ วา่ : “ คนไมม่ วี วั อยา่ งฉนั มโี อกาส ทกุ ขเ์ พราะไมม่ วี วั ไหม ? ” นายโคบาลตอบวา่ : “ ไมม่ ขี อรบั ” พระพทุ ธองค์ ตรสั ถามต่อวา่ : “ เหน็ ไหมวา่ คนมวี วั ทุกขเ์ พราะ ววั คนไมม่ วี วั กไ็ ม่ทกุ ข์ ” พระพทุ ธเจา้ ตรสั ถามต่อ : “ ในเมอื งน้ี ใครมอี านาจ มเี งนิ ทองมากทส่ี ดุ ? ” นายโคบาลตอบวา่ : “ พระเจา้ พมิ พสิ ารขอรบั ” 19

พระพทุ ธเจา้ ตรสั ถามตอ่ : “ พระเจา้ พมิ พสิ ารมอี านาจเงนิ ทองทส่ี ดุ ในเมอื ง มานงั่ เล่น นายโคบาลตอบวา่ กลางป่าอยา่ งฉนั ไดไ้ หม ? ” พระพทุ ธเจา้ ตรสั ถามตอ่ นายโคบาลตอบวา่ : “ ไมไ่ ด้ ขอรบั ” : “ กม็ อี านาจ เงนิ ทองขนาดนนั้ ทาไมมานงั่ เล่นอยา่ งฉนั ไมไ่ ด้ ? ” : “ ถา้ พระเจา้ พมิ พสิ ารออกมา นงั่ เลน่ ชายป่าอยา่ งพระองค์ กจ็ ะถูกปฏวิ ตั ไิ ดข้ อรบั ” 20

พระพทุ ธเจา้ ตรสั ถามตอ่ : “ เหน็ ไหม…ระหวา่ งฉนั กบั พระ นายโคบาลตอบวา่ เจา้ พมิ พสิ าร ใครมคี วามสุข กวา่ กนั ? ” : “ พระพุทธองค์ ขอรบั ” 21

พระพุทธศาสนาสอนว่า วิถีแห่งความสุขไม่ได้อยู่ท่ี “ ความมี ” หรอื “ ความจน ” แต่อย่ทู เ่ี รา จงยนิ ดใี นสง่ิ ทม่ี ี รจู้ กั พอดใี นสงิ่ ทไ่ี ด้ เท่าน้กี ม็ คี วามสขุ แลว้ โค 16 ตวั ทท่ี ุกคนเลย้ี งไว้ มตี งั้ แต่ พระราชา เศรษฐี ประชาราษฎร์ ทวั่ ไป พอ่ คา้ ฯลฯ พระพุทธเจ้าไม่มี พระปัจเจกพุทธเจ้าไม่มี พระอรหันต์ไม่มี พระอนาคา พระสกทิ าคา พระโสดาบนั มนี ้อย ปถุ ุชนทวั่ ไปมมี ากหนาแน่น … เรยี กวา่ อปุ กเิ ลส 16 อุปกิเลส (อ่านว่า อุปะกิเหลด) แปลว่า ธรรมชาติท่ที าให้ใจเศร้า หมอง, เคร่อื งทาใหใ้ จเศรา้ หมอง หมายถงึ สงิ่ ทท่ี าใหใ้ จเศรา้ หมอง ขุ่นมัวไม่แจ่มใส ทาให้ใจหม่นไหม้ ทาให้ใจเส่ือมทราม กล่าว โดยรวมกค็ อื “ สงิ่ ทท่ี าใหใ้ จสกปรก ไมส่ ะอาด ไมบ่ รสิ ทุ ธนิ์ นั่ เอง ” 22

อปุ กิเลส แสดงไว้ 16 ประการคือ 1. ความเพ่งเลง็ อยากไดไ้ มเ่ ลอื กท่ี 2. ความพยาบาท 3. ความโกรธ 4. ความผกู เจบ็ ใจ 5. ความลบหลบู่ ญุ คุณ 6. ความตเี สมอ 7. ความรษิ ยา 8. ความตระหน่ี 9. ความเจา้ เล่ห์ 10. ความโออ้ วด 11. ความหวั ดอ้ื ถอื รนั้ 12. ความแขง่ ดี 13. ความถอื ตวั 14. ความดหู มน่ิ 15. ความมวั เมา 16. ความประมาทเลนิ เลอ่ ดงั น้แี ล… 23

“ ความสขุ ไม่ได้อย่ทู ี่ “ ความมี ” หรอื “ ความจน ” แต่อย่ทู ี่เรา จงยินดีในสิ่งท่ีมี รจู้ กั พอดีในส่ิงท่ีได้ เท่านี้กม็ ีความสขุ แล้ว ”

ประวตั ิ (โดยย่อ) ดร. บญุ เสริม บญุ เจริญผล • เกดิ พ.ศ. 2481 ท่ี จ. ฉะเชงิ เทรา • จบชนั้ เตรยี มนายรอ้ ย ท่ี รร. เตรยี มนายรอ้ ย • จบปรญิ ญาตรี วทิ ยาศาสตร์ รร. นายรอ้ ยพระจลุ จอมเกลา้ รนุ่ 9 • จบ ป.โท พฒั นา การเศรษฐกจิ ท่ี ม. เกษตรศาสตร์ • จบ ป.โท เศรษฐศาสตร์ ภาคภาษาองั กฤษ ท่ี ม. ธรรมศาสตร์ • จบ ป.เอก เศรษฐศาสตร์ ท่ี ม. ธรรมศาสตร์ ประวตั ิการทางาน • กองทพั อากาศไทย ยศเรอื อากาศเอก พ.ศ. 2505 - 2513 • คณะเศรษฐศาสตร์ ม. เกษตรศาสตร์ ตาแหน่ง ผ.ศจ. พ.ศ. 2513 - 2535 • ดารงตาแหน่ง ทป่ี รกึ ษา รฐั มนตรปี ระจาสานกั นายกรฐั มนตรี พ.ศ. 2535 - 2536 • ตาแหน่งคณบดคี ณะเศรษฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกรกิ พ.ศ. 2536 - 2548 • ปัจจุบนั เป็นผกู้ ่อตงั้ และ กรรมการมลู นิธิ วภิ า-บุญเสรมิ อกี ทงั้ เป็นผเู้ ขยี น บทความธรรมะและปรชั ญาชวี ติ รวมถงึ เป็นวทิ ยากรผบู้ รรยายธรรมะ

อาจารย์ ดร.บญุ เสริม บญุ เจริญผล เขียน ขอบคณุ รปู ภาพจาก www.facebook.com/TheTravelPhotojournalist www.pexels.com/th-th www.unsplash.com

มลู นิธพิ ระพุทธสันตธิ รรม



มลู นิธพิ ระพุทธสันตธิ รรม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook