Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สื่อการเรียนการสอน

สื่อการเรียนการสอน

Published by Tannoii579, 2019-07-01 04:07:09

Description: สื่อการเรียนการสอน

Search

Read the Text Version

สื่อการเรียนการสอน วิชา สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม จดั ทาโดย นายทศพร สขุ คง ชนั้ ปวส.1 แผนกวชิ าคอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ เสนอ คณู ครูนริศรา ทองยศ วทิ ยาลยั เทคโนโลยีและการจดั การหนองสองห้อง

อริยสัจ 4 มีความจริงอยู่ 4 ประการคือ การมีอยขู่ องทุกข์ เหตุแห่งทุกข์ ความดบั ทุกข์ และ หนทางไปสู่ ความดบั ทุกข์ ความจริงเหล่าน้ีเรียกวา่ อริยสัจ 4 1. ทุกข์ : คือ การมีอยขู่ องทุกข์ เกิด แก่ เจบ็ และตายลว้ นเป็นทุกข์ ความเศร้าโศก ความโกรธ ความอิจฉาริษยา ความวติ กกงั วล ความกลวั และความผดิ หวงั ลว้ นเป็น ทุกข์ การพลดั พรากจาก ของท่ีรักกเ็ ป็นทุกข์ ความเกลียดกเ็ ป็นทุกข์ ความอยาก ความยดึ มน่ั ถือมน่ั ความยดึ ติดในขนั ธท์ ้งั 5 ลว้ นเป็นทุกข์ 2. สมุทยั : คือ เหตุแห่งทุกข์ เพราะอวชิ า ผคู้ นจงึ ไม่สามารถเห็นความจริงของชีวติ พวกเขา ตกอยใู่ นเปลวเพลิงแห่งตณั หา ความโกรธ ความอิจฉาริษยา ความเศร้าโศก ความวติ กกงั วล ความกลวั และความผดิ หวงั 3. นิโรธ : คือ ความดบั ทุกข์ การเขา้ ใจความจริงของชีวติ นาไปสู่การดบั ความเศร้า โศกท้งั มวล อนั ยงั ใหเ้ กิดความสงบและความเบิกบาน 4. มรรค : คือ หนทางนาไปสู่ความดบั ทุกข์ อนั ไดแ้ ก่ อริยมรรค 8 ซ่ึงไดร้ ับการหล่อ เล้ียง ดว้ ยการดารงชีวติ อยา่ งมีสติความมีสตินาไปสู่สมาธิและปัญญาซ่ึงจะปลดปล่อย ใหพ้ น้ จากความ ทุกขแ์ ละความโศกเศร้าท้งั มวลอนั จะนาไปสู่ความศานติและ ความเบิกบาน พระพุทธองคไ์ ด้ ทรงเมตตานาทางพวกเราไปตามหนทางแห่งความรู้แจง้ น้ี

อทิ ธิบาท 4 คาวา่ อิทธิบาท แปลวา่ บาทฐานแห่งความสาเร็จ หมายถึง สิ่งซ่ึงมีคุณธรรม เคร่ืองใหล้ ุถึง ความสาเร็จตามที่ตนประสงค์ ผหู้ วงั ความสาเร็จในสิ่งใด ตอ้ งทาตนใหส้ มบูรณ์ ดว้ ยส่ิงท่ีเรียกวา่ อิทธิบาท ซ่ึงจาแนกไวเ้ ป็น ๔ คือ ๑. ฉันทะ ความพอใจรักใคร่ในสิ่งน้นั ๒. วริ ิยะ ความพากเพยี รในส่ิงน้นั ๓. จิตตะ ความเอาใจใส่ฝักใฝ่ ในส่ิงน้นั ๔. วมิ งั สา ความหมนั่ สอดส่องในเหตุผลของส่ิงน้นั ธรรม ๔ อยา่ งน้ี ยอ่ มเน่ืองกนั แต่ละอยา่ งๆ มีหนา้ ท่ีเฉพาะของตน ฉนั ทะ คือความพอใจ ในฐานะเป็นส่ิงท่ี ตนถือวา่ ดีที่สุด ท่ีมนุษยเ์ รา ควรจะได้ ขอ้ น้ี เป็น กาลงั ใจ อนั แรก ท่ีทาใหเ้ กิด คุณธรรม ขอ้ ต่อไป ทุกขอ้ วริ ิยะ คือความพากเพียร หมายถึง การการะทาท่ีติดต่อ ไม่ขาดตอน เป็นระยะยาว จน ประสบ ความสาเร็จ คาน้ี มีความหมายของ ความกลา้ หาญ เจืออยดู่ ว้ ย ส่วนหน่ึง จิตตะ หมายถึงความไม่ทอดทิ้ง สิ่งน้นั ไปจากความรู้สึก ของตวั ทาส่ิงซ่ึงเป็น วตั ถุประสงค์ น้นั ใหเ้ ด่นชดั อยใู่ นใจเสมอ คาน้ี รวมความหมาย ของคาวา่ สมาธิ อยดู่ ว้ ยอยา่ ง เตม็ ที่ วมิ งั สา หมายถึงความสอดส่องใน เหตุและผล แห่งความสาเร็จ เก่ียวกบั เร่ืองน้นั ๆ ใหล้ ึกซ้ึง ยง่ิ ๆ ข้ึนไปตลอดเวลา คาน้ี รวมความหมาย ของคาวา่ ปัญญา ไวอ้ ยา่ งเตม็ ท่ี

สังคหวตั ถุ 4 สังคหวตั ถุ 4 หมายถึง หลกั ธรรมที่เป็นเคร่ืองยดึ เหน่ียวน้าใจของผอู้ ่ืน ผกู ไมตรี เอ้ือเฟ้ื อ เก้ือกลู หรือเป็นหลกั การสงเคราะห์ซ่ึงกนั และกนั มีอยู่ 4 ประการ ไดแ้ ก่ 1. ทาน คือ การให้ การเสียสละ หรือการเอ้ือเฟ้ื อแบ่งปันของๆตนเพ่ือประโยชนแ์ ก่ บุคคลอ่ืน ไม่ตระหน่ีถี่เหนียว ไม่เป็นคนเห็นแก่ไดฝ้ ่ ายเดียว คุณธรรมขอ้ น้ีจะช่วยใหไ้ ม่เป็นคน ละโมบ ไม่เห็นแก่ตวั เราควรคานึงอยเู่ สมอวา่ ทรัพยส์ ิ่งของท่ีเราหามาได้ มิใช่ส่ิงจีรังยงั่ ยนื เม่ือ เราสิ้นชีวติ ไปแลว้ กไ็ ม่สามารถจะนาติดตวั เอาไปได้ 2. ปิ ยวาจา คือ การพดู จาดว้ ยถอ้ ยคาที่ไพเราะอ่อนหวาน พดู ดว้ ยความจริงใจ ไม่พดู หยาบคายกา้ วร้าว พดู ในส่ิงที่เป็นประโยชนเ์ หมาะสาหรับกาลเทศะ พระพุทธเจา้ ทรงให้

ความสาคญั กบั การพดู เป็นอยา่ งยง่ิ เพราะการพดู เป็นบนั ไดข้นั แรกท่ีจะสร้างมนุษยส์ มั พนั ธ์อนั ดี ใหเ้ กิดข้ึน วธิ ีการที่จะพดู ใหเ้ ป็นปิ ยวาจาน้นั จะตอ้ งพดู โดยยดึ ถือหลกั เกณฑ์ ดงั ต่อไปน้ี เวน้ จากการพดู เทจ็ เวน้ จากการพดู ส่อเสียด เวน้ จากการพดู คาหยาบ เวน้ จากการพดู เพอ้ เจอ้ 3. อตั ถจริยา คือ การสงเคราะหท์ ุกชนิดหรือการประพฤติในสิ่งที่เป็นประโยชนแ์ ก่ผอู้ ื่น 4. สมานัตตา คือ การเป็นผมู้ ีความสม่าเสมอ หรือมีความประพฤติเสมอตน้ เสมอปลาย คุณธรรมขอ้ น้ีจะช่วยใหเ้ ราเป็นคนมีจิตใจหนกั แน่นไม่โลเล รวมท้งั ยงั เป็นการสร้างความนิยม และไวว้ างใจใหแ้ ก่ผอู้ ่ืนอกี ดว้ ย

พรหมวหิ าร 4 ความหมายของพรหมวหิ าร 4 - พรหมวหิ าร แปลวา่ ธรรมของพรหมหรือของท่านผเู้ ป็นใหญ่ พรหมวหิ ารเป็นหลกั ธรรม สาหรับทุกคน เป็นหลกั ธรรมประจาใจท่ีจะช่วยใหเ้ ราดารงชีวติ อยไู่ ดอ้ ยา่ งประเสริฐและบริสุทธ์ิ หลกั ธรรมน้ีไดแ้ ก่ เมตตา ความปรารถนาใหผ้ อู้ ่ืนไดร้ ับสุข กรุณา ความปราถนาใหผ้ อู้ ื่นพน้ ทุกข์ มทุ ติ า ความยนิ ดีเม่ือผอู้ ื่นไดด้ ี อเุ บกขา การรู้จกั วางเฉย คาอธิบายพรหมวหิ าร 4 1. เมตตา : ความปราถนาใหผ้ อู้ ่ืนไดร้ ับสุข ความสุขเป็นส่ิงที่ทุกคนปรารถนา ความสุข เกิดข้ึนไดท้ ้งั กายและใจ เช่น ความสุขเกิดการมีทรัพย์ ความสุขเกิดจากการใชจ้ ่ายทรัพยเ์ พ่อื การ บริโภค ความสุขเกิดจากการไม่เป็นหน้ี และความสุขเกิดจากการทางานที่ปราศจากโทษ เป็นตน้ 2. กรุณา : ความปรารถนาใหผ้ อู้ ื่นพน้ ทุกข์ ความทุกข์ คือ สิ่งท่ีเขา้ มาเบียดเบียนใหเ้ กิด ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ และเกิดข้ึนจากปัจจยั หลายประการดว้ ยกนั พระพทุ ธองคท์ รงสรุปไวว้ า่ ความทุกขม์ ี 2 กลุ่มใหญ่ๆ ดงั น้ี - ทุกขโ์ ดยสภาวะ หรือเกิดจากเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติของร่างกาย เช่น การเกิด การเจบ็ ไข้ ความแก่และ ความตายส่ิงมีชีวติ ท้งั หลายท่ีเกิดมาในโลกจะตอ้ งประสบกบั การเปล่ียนแปลงทางร่างกายอยา่ ง หลีกเล่ียงไม่ได้ ซ่ึงรวมเรียกวา่ กายกิ ทุกข์

- ทุกขจ์ รหรือทุกขท์ างใจ อนั เป็นความทุกขท์ ี่เกิดจากสาเหตุที่อยนู่ อกตวั เรา เช่น เม่ือ ปรารถนาแลว้ ไม่สมหวงั กเ็ ป็นทุกข์ การประสบกบั ส่ิงอนั ไม่เป็นท่ีรักกเ็ ป็นทุกขก์ ารพลดั พราก จากส่ิงอนั เป็นท่ีรัก กเ็ ป็นทุกข์ รวมเรียกวา่ เจตสิกทุกข์ 3. มุทิตา : ความยนิ ดีเม่ือผอู้ ่ืนไดด้ ี คาวา่ \"ดี\" ในท่ีน้ี หมายถึง การมีความสุขหรือมีความ เจริญกา้ วหนา้ ความยนิ ดีเม่ือผอู้ ื่นไดด้ ีจึงหมายถึง ความปรารถนาใหผ้ อู้ ื่นมีความสุขความ เจริญกา้ วหนา้ ยงิ่ ๆข้ึน ไม่มีจิตใจริษยา ความริษยา คือ ความไม่สบายใจ ความโกรธ ความฟ้ ุงซ่าน ซ่ึงมกั เกิดข้ึนเมื่อเห็นผอู้ ่ืนไดด้ ีกวา่ ตน เช่น เห็นเพ่ือนแต่งตวั เรียบร้อยแลว้ ครูชมเชยกเ็ กิดความ ริษยาจึงแกลง้ เอาเศษชอลก์ โคลน หรือหมึกไปป้ ายตามเส้ือกางเกงของเพื่อนนกั เรียนคนน้นั ให้ สกปรกเลอะเทอะ เราตอ้ งหมน่ั ฝึ กหดั ตนใหเ้ ป็นคนท่ีมีมุทิตา เพราะจะสร้างไมตรีและผกู มิตร กบั ผอู้ ื่นไดง้ ่ายและลึกซ้ึง 4. อุเบกขา : การรู้จกั วางเฉย หมายถึง การวางใจเป็นกลางเพราะพจิ ารณาเห็นวา่ ใครทาดี ยอ่ มไดด้ ี ใครทาชวั่ ยอ่ มไดช้ วั่ ตามกฎแห่งกรรม คือ ใครทาสิ่งใดไวส้ ิ่งน้นั ยอ่ มตอบสนองคืน บุคคลผกู้ ระทา เมื่อเราเห็นใครไดร้ ับผลกรรมในทางที่เป็นโทษเรากไ็ ม่ควรดีใจหรือคิดซ้าเติมเขา ในเร่ืองที่เกิดข้ึน เราควรมีความปรารถนาดี คือพยายามช่วยเหลือผอู้ ่ืนใหพ้ น้ จากความทุกขใ์ น ลกั ษณะที่ถูกตอ้ งตามทานองคลองธรรม

มรรค 8 ( อฏั ฐังคกิ มรรค ) (มรรค = อริยมรรค = มชั ฌิมาปฏิปทา = มรรคแปด = ทางดาเนินชีวติ อนั ประเสริฐ = ทางสาย กลาง) แนวทางดาเนินอนั ประเสริฐของชีวติ หรือกาย วาจา ใจ เพอ่ื ความหลุดพน้ จากทุกข์ เรียกวา่ อริยมรรค แปลวา่ ทางอนั ประเสริฐ เป็นขอ้ ปฏิบตั ิที่มีหลกั ไม่อ่อนแอ จนถึงกบั ตกอยใู่ ตอ้ านาจ ความอยากแห่งใจ แต่กไ็ ม่แขง็ ตึงจนถึงกบั เป็นการทรมานกายใหเ้ หือดแหง้ จากความสุขทางกาย เพราะฉะน้นั จึงไดเ้ รียกวา่ มชั ฌิมาปฏิปทา คือทางดาเนินสายกลาง ไม่หยอ่ นไม่ตึง แต่พอเหมาะ เช่นสายดนตรีที่เทียบเสียงไดท้ ี่แลว้ คาวา่ มรรค แปลวา่ ทาง ในท่ีน้ีหมายถึงทางเดินของใจ เป็น การเดินจากความทุกขไ์ ปสู่ความเป็นอิสระหลุดพน้ จากทุกขซ์ ่ึงมนุษยห์ ลงยดึ ถือและประกอบข้ึน ใส่ตนดว้ ยอานาจของอวชิ ชา มรรคมีองคแ์ ปด คือตอ้ งพร้อมเป็นอนั เดียวกนั ท้งั แปดอยา่ งดุจเชือกฟั่นแปดเกลียว องค์ แปดคือ 1. สมั มาทิฏฐิ คือความเขา้ ใจถูกตอ้ ง 2. สัมมาสังกปั ปะ คือความใฝ่ ใจถกู ตอ้ ง 3. สมั มาวาจา คือการพดู จาถูกตอ้ ง 4. สัมมากมั มนั ตะ คือการกระทาถกู ตอ้ ง 5. สัมมาอาชีวะ คือการดารงชีพถูกตอ้ ง 6. สมั มาวายามะ คือความพากเพียรถกู ตอ้ ง 7. สัมมาสติ คือการระลึกประจาใจถกู ตอ้ ง 8. สมั มาสมาธิ คือการต้งั ใจมน่ั ถูกตอ้ ง

โลกธรรม 8 ความหมายของโลกธรรม 8 โลกธรรม 8 หมายถึง เร่ืองของ โลกมีอยปู่ ระจากบั ชีวติ สังคมและโลกของมนุษยเ์ ป็น ความจริงท่ีทุกคนตอ้ งประสบดว้ ยกนั ท้งั น้นั อยา่ งหลีกเล่ียงไม่ได้ ไม่วา่ จะชอบหรือไม่ชอบกต็ าม ขอ้ แตกต่างคือ ใครประสบมาก ประสบนอ้ ย ชา้ หรือเร็ว โลกธรรมแบ่งออกเป็น 8 ชนิด จาแนกออกเป็น 2 ฝ่ ายควบคู่กนั และมีความหมายตรงขา้ มกนั คือ 1. โลกธรรมฝ่ ายอิฏฐารมณ์ คือ ฝ่ายที่มนุษยพ์ อใจมี 4 เร่ือง คือ - ไดล้ าภ หมายความวา่ ไดผ้ ลประโยชน์ ไดท้ รัพยส์ ินเงินทอง ไดบ้ า้ นเรือนหรือที่ สวน ไร่นา - ไดย้ ศ หมายความวา่ ไดร้ ับแต่งต้งั ใหม้ ีฐานนั ดรสูงข้ึน ไดต้ าแหน่ง ไดอ้ านาจเป็น ใหญ่เป็ นโต - ไดร้ ับสรรเสริญ คือ ไดย้ นิ ไดฟ้ ัง คาสรรเสริญคาชมเชย คายกยอ - ไดส้ ุข คือ ไดค้ วามสบายกาย สบายใจ ไดค้ วามเบิกบาน ร่าเริง ไดค้ วามบนั เทิงใจ

2. โลกธรรมฝ่ ายอนิฏฐารมณ์ คือ ฝ่ ายที่มนุษยไ์ ม่พอใจมี 4 เร่ือง คือ - เสียลาภ หมายความวา่ ลาภท่ีไดม้ าแลว้ เสียไป - เสื่อมยศ หมายถึง ถกู ลดความเป็นใหญ่ ถกู ถอดออกจากตาแหน่ง ถกู ถอดอานาจ - ถูกนินทา หมายถึง ถูกตาหนิติเตียนวา่ ไม่ดี มีใครพดู ถึง ความไมด่ ีของเราในที่ลบั หลงั เรียกวา่ ถกู นินทา - ตกทุกข์ คือ ไดร้ ับความทุกขท์ รมานกายทรมานใจ

ทิศหก ทิศหก บุคคลประเภทต่างๆ ท่ีเราตอ้ งเกี่ยวขอ้ งสมั พนั ธ์ ดุจทิศท่ีอยรู่ อบตวั จดั เป็น ๖ ทิศ ดงั น้ี ๑. ปุรัตถิมทิส ทิศเบ้ืองหนา้ ไดแ้ ก่ บิดา มารดา ๒. ทกั ขิณทิสทิศเบ้ืองขวา ไดแ้ ก่ ครูอาจารย์ ๓. ปัจฉิมทิส ทิศเบ้ืองหลงั ไดแ้ ก่ สามีภรรยา ๔. อุตตรทิส ทิศเบ้ืองซา้ ยไดแ้ ก่ มิตรสหาย ๕. อุปริมทิส ทิศเบ้ืองบนไดแ้ ก่ พระสงฆ์ สมณพราหมณ์ ๖. เหฏฐิมทิส ทิศเบ้ืองล่าง ไดแ้ ก่ ลกู จา้ งกบั นายจา้ ง

ความกตญั ญู พระพทุ ธศาสนาสอนใหค้ นเป็นคนดี คนดียอ่ มเป็นท่ีปราถนาที่ตอ้ งการในท่ีทุกหนทุก แห่งในทุกกิจการ และในทุกยคุ ทุกสมยั คนดีทาใหค้ รอบครัวเจริญ โรงเรียนเจริญ ชุมชนเจริญ สังคมและประเทศชาติเจริญ คนดีอยใู่ นครอบครัวใด โรงเรียนใดและสงั คมใด ครอบครัว โรงเรียน และสังคมน้นั ๆ ยอ่ มมีความสุข ความกตญั ญู คือ คุณสมบตั ิและสัญลกั ษณ์ของคนดี กตญั ญูกบั กตเวทีรวมเป็นกตญั ญูกตเวที เป็นคุณธรรมคู่กนั เสมอ เป็นหลกั ถือปฏิบตั ิในการ ดาเนินชีวติ ของสตั บุรุษ คือ คนดี หรือคนในอุดมคตินนั่ เอง ในสังคมชาวพทุ ธ คนมีกตญั ญู กตเวทียอ่ มเป็นผคู้ วรค่าแก่ความรัก เกียรติ ศกั ด์ิศรี และการยกยอ่ งสรรเสริญจากผอู้ ่ืน เพราะได้ ปฏิบตั ิธรรมอนั ถือเป็นมงคลยง่ิ ขอ้ หน่ึง คือ ความกตญั ญู บุคคลยอ่ มมีชีวติ ประสบแต่ความกา้ วหนา้ เจริญรุ่งเรือง ความคิดและความเช่ือตามวฒั นธรรมไทยน้นั สรรเสริญผมู้ ีความกตญั ญูและตาหนิผทู้ ี่ไม่รู้จกั บุญคุณคนอ่ืนเป็นอยา่ งมาก คนไทยมีความเชื่อวา่ ผทู้ ี่มีความกตญั ญูต่อพอ่ แม่ ครูอาจารย์ จะมี ความเจริญรุ่งเรืองประสบความสาเร็จในชีวติ ส่วนผทู้ ่ีเนรคุณน้นั จะประสบความวบิ ตั ิเป็นท่ี รังเกียจในสังคม ไดม้ ีการเปรียบเทียบวา่ คนที่เนรคุณน้นั เป็นคนไร้ค่ามีจิตใจกระดา้ งดงั เน้ือหิน เขาจะกรุณาคนอื่นไดอ้ ยา่ งไรในเม่ือคนท่ีมีบุญคุณต่อเขา ยงั ทาใหเ้ ขา สานึกไม่ได้ กตญั ญู เป็นธรรมอนั เป็นมงคลท่ี 25 ที่พระพุทธเจา้ ทรงตรัสไวโ้ ดยเนน้ ใหน้ าไปพฒั นา คุณสมบตั ิของคนดีแปลตาม ตวั หนงั สือคือผรู้ ู้วา่ คนอื่นทาความความดีอะไรไวแ้ ก่ตนบา้ ง เอาความหมายส้นั ๆ วา่ า \"ผรู้ ู้คุณ คน\" การรู้บุญคุณคน หรือรู้อุปการคุณที่ผอู้ ่ืนทาใหต้ นเองนบั ถือเป็นหลกั แห่งความยตุ ิธรรมและความเป็นธรรมอยา่ ง หน่ึงในสังคมมนุษย์ เพราะเป็นการสอดคลอ้ งกบั หลกั คาสอนวา่ การทาดีไดด้ ี ทาชวั่ ไดช้ วั่ ตามท่ี พระพทุ ธเจา้ ทรงสอนไว้ มีคนทาดีให้

กบั เราแลว้ และเราไดร้ ับผลประโยชนจ์ ากการทาดีของเขา เป็นตน้ วา่ ไดล้ าภ ยศ สรรเสริญ และ ความสุข แต่เรารับรู้แต่ผลประโยชน์ท่ีเกิดข้ึนแก่ตน ไม่รับรู้คุณความดีของเขา ยอ่ มถือไดว้ า่ ไม่ ยตุ ิธรรมต่อกนั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook