ค�านา� หนงั สือ สอ่ื ประกอบการเรยี นการสอน วชิ าเขตทางทะเลของประเทศไทย ทรพั ยากรทางทะเล และชายฝง่ั และผลประโยชนข์ องชาตทิ างทะเล จดั ทา� ขนึ้ เพอ่ื เสรมิ สรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ และความตระหนกั รู้ ในเร่ืองของทะเลรวมถึงแสดงให้เห็นถึงคุณค่าและ ความสา� คัญของทะเลไทย การตระหนักรู้ในหน้าที่ ของคนไทยในการปกป้องดแู ล ในฐานะเป็นเจา้ ของ ทะเลร่วมกัน หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็นจุด เรม่ิ ตน้ ใหค้ นไทยทกุ ภาคสว่ นไดเ้ ขา้ ใจ และตระหนกั ถึงความส�าคัญของทะเลไทย ขอขอบคุณส�านักงาน สภาความมนั่ คงแหง่ ชาติ บรษิ ทั มบู าดาลา ปโิ ตรเลยี ม (ประเทศไทย) จา� กดั ทใ่ี หก้ ารสนบั สนนุ ในการจดั ทา� หนงั สือ คณะทา� งาน 1
สารบญั 4 แบลลกัทะษทคณ่ี ว1าะมภสูมา�ศิ คาัญสตขอรงท์ ทาะงเทละเล 22 เบขทตทที่า2งทะเล 44 เบขทตทก่ีาร3ปกครองของจังหวัดทางทะเล 2
บปรทะทโี่ย4ชน์ของทะเล 54 กบฎทหทม่ี า5ยและหนว่ ยงานทางทะเล 66 หบแลนทะทา้ ผที่ล่ีข6ปอรงะคโนยชไทนยข์ ใอนงชกาาตรทิปากงปทอ้ ะงเลทะเลไทย86 3
4
ลกั ทษณางะภทมู ะศิ เาลสตร์ และความส�าคญั ของทะเล 5
โลกเราเดก็ ๆ รูไ้ หมวา่ โลกเรามพี ื้นน้�ารอ้ ยละ 70 หรอื 3 ใน 4 สว่ น มีพน้ื น�้า ของพ้นื ผวิ โลก เยอะขนาดไหน? รอ้ ยละ 97 ของพนื้ น�า้ จัดเป็นเขตนา�้ เคม็ เป็นท่อี ยูอ่ าศัยของส่งิ มชี วี ิต ทร่ี ะบวุ ่าเป็นชนิดใดแล้ว ถึง 200,000 ชนิด 6
มรอ้พี ย้ืนลดะิน30 หรือ 1 ใน 4 สว่ น ของพ้ืนผวิ โลก ทะเลและมหาสมุทร 7 ยังเป็นแหลง่ รวมของทรพั ยากรธรรมชาติ ทงั้ ที่มีชีวติ และไมม่ ีชีวิต เปน็ ระบบนิเวศทส่ี า� คญั ทส่ี ุดของโลกใบนี้ ทา� ใหท้ ะเล มหาสมทุ ร และชายฝ่งั เปน็ แหลง่ รวม ของกิจกรรมต่าง ๆ ทางทะเลของมนษุ ย์ ต้งั แตใ่ นอดีตจนถงึ ปัจจบุ นั
ไมไ่ ด้แบผแวินตหนรจ่ ้าาะขบอโงคเทห้งะเนมลแอื ูนลนะอมแหอาผกสน่ มมุทการระดาษ เหมอื นเปน็ สว่ นหนง่ึ ของเปลือกโลก ระดับน�า้ ทะเลและมหาสมุทรจะไมค่ งที่ แตจ่ ะเปลย่ี นแปลงได้ เพราะน�้าเป็นของเหลว ทส่ี ามารถเปลีย่ นรปู ทรงไดง้ า่ ย การเปลี่ยนแปลงของระดับน้า� ทะเล จะเป็นการเปลี่ยนเพยี งช่วั ครง้ั ชั่วคราว เกดิ ขึน้ เพราะมนี า้� ข้นึ นา้� ลง หรือ มฝี นตกมากผิดปกติ หรือมีลมพดั มาเหนอื น้�าทะเล และจะทง้ิ ร่องรอย ของการเปล่ียนแปลง ใหส้ ังเกตได้ตามขอบชายฝัง่ 8
ความปลระึกมโาณดย3เ.ฉ7ล่ยีกขิโอลงเมมหตารสมทุ ร ดา้ นตะวนั (12ต,4ก50ขฟอุตงหมรอืห2า.3ส6 มไมุทล)์ รแปซิฟิก เป็นตอนที่ลกึ ทส่ี ุดของทะเล และมหาสมุทรทัง้ หมด มชี ื่อเรียกวา่ รอ่ งลึกบาดาลมาเรียน่ามคี วามล(กึ ถMึง a1r0ia.6n9a2Trกenโิ ลchเ)มตร (35,640 ฟุต หรอื 6.75 ไมล)์ 9
ผนื 5น้�าขมองหโลากสแบม่งอทุอกรเป็น 1. มหาสมทุ รแปซฟิ ิก (Pacific Ocean) เป็นมหาสมุทรทใ่ี หญ่ทีส่ ุด เปน็ อนั ดบั หนึ่ง 2. มหาสมทุ รแอตแลนตกิ (Atlantic Ocean) เปน็ มหาสมทุ รทใ่ี หญเ่ ป็นอันดับสอง 3. มหาสมุทรอนิ เดีย (Indian Ocean) เป็นมหาสมุทรทใ่ี หญเ่ ป็นอันดบั สาม 4. มหาสมุทรใต้ (Southern Ocean) เปน็ มหาสมทุ รทใ่ี หญเ่ ปน็ อันดับสี่ 5. มหาสมุทรอาร์กติก (Arctic Ocean) เปน็ มหาสมทุ รที่เล็กท่สี ุดใน 5 มหาสมทุ ร 10
11
ลักษณะภูมิศาสตร์ ทางทะเลของไทย ประเทศไทยตั้งอยู่ในภูมิภาค เอเชยี -แปซฟิ กิ และเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ระหวา่ งลองจจิ ดู 97 องศาตะวนั ออก กบั 106 องศาตะวนั ออก และละตจิ ดู 5 องศา เหนอื กบั 21 องศาเหนอื นบั เปน็ รฐั ชายฝง่ั (Coastal State) และรฐั ชอ่ งแคบ (Strait State) ท่ีต้ังอยู่ในคาบสมุทร อนิ โดจนี โดยมชี ายฝง่ั ทะเล แยกเปน็ 2 ดา้ น คอื ดา้ นตะวนั ออก ไดแ้ ก่ อา่ วไทย สว่ น ดา้ นตะวนั ตก ประกอบดว้ ยทะเลอนั ดามนั และช่องแคบมะละกา ทา� ให้ประเทศไทย มเี สน้ ทางออกสู่ 2 มหาสมทุ ร คอื มหาสมทุ ร แปซฟิ กิ และมหาสมุทรอินเดีย 12
อนั ทดะเาลมัน อา่ วไทย 13
ประเทศไทยมีพนื้ ทที่ างทะเล 323,488.324ที่ไทยอ้างสิทธติ ามกฎหมายระหวา่ งประเทศ ประมาณ มชี ายฝัง่ ยาว ตารางกิโลเมตร 3,193.44รวมทงั้ ส้ิน กิโลเมตร หรอื 1,724.32 ไมล์ทะเล 14
ลักษณะพ้ืนท้องทะเลอา่ วไทยเปน็ โคลนปนทราย มีความลกึ เฉลีย่ ประมาณ 40 เมตร และมีความลึกสงู สุดประมาณ 80 เมตร สว่ นทะเลด้านตะวันตกมลี ักษณะโดยทวั่ ไป เปน็ ทรายและทรายปนโคลน ความลกึ น้�าเฉล่ียประมาณ 1,000 เมตร และมคี วามลกึ สงู สุดประมาณ 3,000 เมตร 15
มีประเทศทมี่ อี าณาเขตตดิ กับอ่าวไทย ดา้ นนอก 3 ประเทศ คือ กัมพูชา เวยี ดนาม และมาเลเซยี ทา� ให้เกิดพืน้ ที่เหลื่อมทบั 34,ไ0ทย3-ก4ัมพ.0ูชา65 ตารางกิโลเมตร 16
ด6า้1น1ทกะเิโลลอเันมดตารมันหมีครวือาม3ก3ว0้างปไรมะลมาท์ ณะเล วัดจากชายฝั่งด้านทะเลอนั ดามันถงึ หม่เู กาะนโิ คบาร์ของอนิ เดยี ประเทศทมี่ อี าณาเขตติดตอ่ กบั ทะเล ดา้ นตะวันตกของประเทศไทย 4 ประเทศ คือ เมยี นมาร์ อินเดีย อนิ โดนเี ซยี และมาเลเซีย พนื้ ทที่ างทะเลของประเทศไทย มีส่วนทอ่ี ยใู่ นชอ่ งแคบมะละกา ด้านทตี่ ิดกบั มหาสมทุ รอินเดีย โดยขอบชอ่ งแคบทป่ี ระชดิ ขอบฝ่ัง ขมจหอีคารกงอืวปพามร1นื้ 5ยะทเ8าทวที่.9ศขาอไงไทบทมยฝะลเง่ั ลท์ นชดะอ่บัเา้ลงจนแาคตรกวบะแวมนหนัเปลับตน็มไกดพพ้ปรน้ืทรหท้ังะมหป่ีมเมทารณดะพมา1จ2ณ2ัง9ห034ว,ดั 28ภ,ก1ูเ0กิโ2ล็ต0.เม10ไตป2รจตนตาาถรรึงาาจงงงักกหิโิโลวลดัเเมมสตตตรรลู 17
ทะเลความส�าคัญของ 1เปน็ แหล่งอาหารที่ส�าคัญ เพราะในทะเลมสี ัตว์นา้� ทีม่ ากมาย 18
2 3เป็นแหล่งพลังงานคลนื่ คมนาเปค็นมเสทน้ ทาางง ทะเล และลมทะเล ซึ่งสามารถนา� มาผลิต ปัจจบุ ันการคมนาคมทางทะเล กระแแจสลาไกะฟนกฟ�้า๊าา้ มซตันธลอรใดรนจนมทไชดะพ้าเลตลังิงาน รมีก้อารยขลนสะง่ ส9งู ถ0ึง ก็มมี ากมาย และมีแนวโนม้ แสดงให้เหน็ วา่ การคมนาคมทางทะเล ในอนาคตจะยงิ่ มีความสา� คญั เพิ่มมากยิ่งข้นึ ตามลา� ดับ 19
4เปน็ แหลง่ ท่องเที่ยวทสี่ �าคัญ กทาง้ั รกตากรปดล�านา้�าทะกเลาจรึงเปพน็ กั แหผล่อง่ ทน่องชเทายี่ยวทที่สะา� เคลัญ 20 และสามารถนา� รายไดม้ าสูป่ ระเทศอยา่ งมากมาย
5ทะเลเป็นเขตแดนทางทะเล โดยได้แบ่งอาณาเขตทางทะเลตาม อนสุ ญั ญาสหประชาชาตวิ า่ ด้วย กฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 (UniotendULNNaCwaLtiOooSfnst1h9Ce8o2nS)veean:tion เป็นแหล่ง6ท่อี ยู่อาศยั 21
2 22
ทางเขทตะเล 23
อา(ณMaาrเiขtiตmeทาZงonทeะ)เล ประเทศไทยมอี าณาเขตทางทะเล (Maritime Zone) 323,488.32ตามอนสุ ัญญาสหประชาชาตวิ า่ ด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 เท่ากบั ตารางกโิ ลเมตร 513,115ซึ่งคดิ เปน็ ประมาณรอ้ ยละ 60 ของอาณาเขตทางบก ท่มี ีเนอ้ื ทอ่ี ยู่ประมาณ ตารางกโิ ลเมตร โดยมีความยาวชายฝัง่ ทะเล ท้งั ฝง่ั อา่ วไทย และฝัง่ อนั ดามัน รวมถึงชอ่ งแคบมะละกาตอนเหนือ 3,148.23รวมความยาวชายฝง่ั ทะเลในประเทศไทยทง้ั สิน้ กโิ ลเมตร ครอบคลุม 23 จังหวัด 24
สมุทรสงครสามมุทรกสราุงคเทรพมหานคร ฉะเชงิ เทรา สมุทรปราการ ชลบุรี กัมพชู า เพชรบุรี ระยอง จันทบุรี Cambodia เมยี นมาร ตราด Myanmar ประจวบครี ขี นั ธ ทะเลอา วไทย ชุมพร GULF OF THAILAND ระนอง อนั ดามัน สุราษฎรธ านี พงั งา ANDAMAN SEA กระบี่ นครศรธี รรมราช ภเู ก็ต ตรงั พัทลุง สตูล สงขลา ปต ตานี นา นนำ้ ภายใน เขตเศรษฐกจิ จำเพาะ ยะลานราธวิ าส 25 ทะเลอาณาเขต พนื้ ทีพ่ ฒั นารวม ไทย-มาเลเซีย เขตตอ เนอื่ ง มาเลเซยี Malaysia
อ(MาณarคาiเtือขimอตะeทไารZง?oทnะeเล) สมทุ รสงครสามมุทรกสราุงคเทรพมหานคร ฉะเชงิ เทรา ชว่ ยเลา่ ใหฟ้ งั หนอ่ ยครบั สมทุ รปราการ ชลบรุ ี กัมพชู า เพชรบุรี ระยอง จนั ทบรุ ี Cambodia เมียนมาร ตราด Myanmar ประจวบครี ขี นั ธ ทะเลอา วไทย ชมุ พร GULF OF THAILAND ระนอง อนั ดามนั สรุ าษฎรธานี พงั งา ANDAMAN SEA กระบ่ี นครศรธี รรมราช ภเู กต็ ตรัง พัทลุง สตลู สงขลา ปต ตานี ยะลานราธวิ าส นานนำ้ ภายใน เขตเศรษฐกิจจำเพาะ ทะเลอาณาเขต พ้ืนทพี่ ฒั นารวม ไทย-มาเลเซีย มาเลเซยี 26 เขตตอ เนือ่ ง Malaysia
มมอี อีปาปาณรณราะาะเเขเเทขตทตศทศทไาไางทงททยทยะะเลเล (M(MaarirtiitmimeeZZoonnee)) ตตาามมออนนสุ สุ ัญญั ญญาาสสหหปปรระะชชาาชชาาตติวิว่าา่ดด้วว้ยย 3กก23ฎฎ3ห2หม,3ม4า,าย84ยทท8ะะเ.8ลเ3ล.ค23ค.2ศ.ตศ.า.1ตร91า9า8รง8า2กง2กโิเทลโิเทลา่เเม่ากมกตตับบัรร ซซ่ึงงึ่ คคิดิดเปเป็น็นปปรระะมมาาณณรร้ออ้ ยยลละะ 6600 ของขออางณ5อา15ณเ3ข1าต,เ3ข1ทต,1าทง5า1บง5บกตกาตทรทามี่ารม่ี งีเาเีนกนงก้ือโิ ลโิทลเอี่ เมมยยตปตู่ ปู่ รรรระมะมาณาณ โดโดยยมมีคคี ววาามมยยาาววชชาายยฝฝงั่ ัง่ททะะเลเล ทท้ัง้งัฝฝงั่ ั่งออ่าา่ววไทไทยยแแลละะฝฝงั่ ั่งออันันดดาามมันนั รรววมมถถงึ งึชช่ออ่งงแแคคบบมมะะลละะกกาาตตออนนเหเหนนอื ือ รวมรทควัง้ทมวาสค้งัคมควส้ินรยาร้ินอมาอย3บวบาช3ค,วาค1ชล,ยาล41ุมฝยุม48ฝ่ัง2ง่ัท8.2ท2ะ3.ะเ32เล3ลใ3ใจนจกังปังหโิกลหริโวะลเวดั เมเเัดททมตศตศรไรไททยย 27
ทาลงเคกั ขอืษทต.ณ.ะ.ะเล 28
อนสุ ญั ญาสหประชาชาตวิ า่ ดว้ ยกฎหมายทะเล ค.ศ.1982 (1982 United Nations Convention on the Law of the Sea: 1982 UNCLOS) เปน็ อนสุ ญั ญาทป่ี ระมวลกฎหมาย จารตี ประเพณี ทางทะเลเปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร พรอ้ มทง้ั กา� หนด หลักเกณฑ์ให้ครอบคลุมกิจกรรมทางทะเล ในทกุ ดา้ น เชน่ การใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากร ทางทะเล การอนรุ กั ษ์ และการจดั การทรพั ยากร ในทะเล การคุ้มครองส่ิงแวดล้อมทางทะเล การวิจัยและวิทยาศาสตร์ทางทะเล การระงับ ขอ้ พิพาท 29
อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 (1982 United Nations Convention on the Law of the Sea: 1982 UNCLOS) ได้กา� หนดเขตทางทะเล ท่กี �าหนดอา� นาจ สิทธิ และหน้าทีข่ องรฐั ภาคี ไว้ดังน้ี 1. นา่ นนา�้ ภายใน (Internal Waters) คอื นา่ นนา�้ ทางดา้ น แผ่นดินหลังเส้นฐาน (Baselines) ซึ่งรัฐชายฝั่งมีอ�านาจอธิปไตย (Sovereignty) เสมือน อ�านาจอธปิ ไตยเหนอื ดินแดน (Territory) 2. ทะเลอาณาเขต (Territorial Sea) มพี นื้ ทไี่ มเ่ กนิ 12 ไมลท์ ะเล หรือประมาณ 22 กิโลเมตร โดยวัดจากเส้นฐาน (Baselines) โดยรฐั ชายฝง่ั มีอ�านาจอธปิ ไตยเหนือทะเลอาณาเขต 3. เขตตอ่ เนอื่ ง (Contiguous Zone) มพี น้ื ทไี่ มเ่ กนิ 24 ไมลท์ ะเล หรอื ประมาณ 44 กิโลเมตร โดยวัดจากเสน้ ฐาน (Baselines) 4. เขตเศรษฐกจิ จา� เพาะ (Exclusive Economic Zone) คอื บรเิ วณทอ่ี ยเู่ ลยไปจากและประชดิ กบั ทะเลอาณาเขต โดยเขตเศรษฐกจิ จ�าเพาะจะตอ้ งไม่ขยายออกไปเกนิ 200 ไมล์ทะเล หรอื ประมาณ 370 กโิ ลเมตร จากเสน้ ฐาน 30
อนวา่สุ ดัญว้ คยญก.าศฎส.หห19มป8ารย2ะทชะาเชลาติ (1982 United Nations Convention on the Law of the Sea: 1982 UNCLOS) คืออะไร? 31
32
5. ไหลท่ วปี (Continental Shelf) หมายถงึ พนื้ ดนิ ทอ้ งทะเล (Seabed) และดินใตผ้ ิวดิน (Subsoil) ของบรเิ วณใตท้ ะเล ซึ่งขยาย เลยทะเลอาณาเขตของรัฐตลอด ต่อออกไปตามธรรมชาติ (Natural Prolongation) ของดินแดนทางบกจนถึงริมนอกของ ขอบทวีป (Continental Margin) หรือจนถึงระยะ 200 ไมล์ทะเล จากเสน้ ฐาน 6. ทะเลหลวงหรอื น่านน้�าสากล (High Seas) คอื ทุกสว่ น ของทะเลซง่ึ ไมไ่ ดร้ วมอยใู่ นเขตเศรษฐกจิ จา� เพาะ (Exclusive economic zone) ในทะเล อาณาเขต (Territorial sea) หรอื ในนา่ นนา้� ภายใน (Internal waters) ของรฐั หรอื ในน่านน�า้ หมเู่ กาะ (Archipelagic waters) ของรฐั หมเู่ กาะ เสรภี าพแหง่ ทะเลหลวง ใชไ้ ดภ้ ายใตเ้ งอ่ื นไข ทก่ี า� หนดไวโ้ ดยอนสุ ญั ญาฯ และหลกั เกณฑอ์ นื่ ๆ ของกฎหมายระหวา่ ง ประเทศ 7. บรเิ วณพน้ื ที่ (The Area) หมายถึง พ้นื ดินทอ้ งทะเลและ พน้ื มหาสมทุ รและดินใตผ้ วิ ดนิ ท่อี ยูพ่ น้ เขตอา� นาจของรัฐ 33
Baseline 12 M Territorial Sea (ทะเลอำณำเขต) Internal Water 24 M เขตนำ่ นน�้ำภำยใน Con(เtขigตuตoอ่ uเนsอ่ื Zงo) ne 200 M Exc(lเuขsตivเศeรEษcฐoกnิจoจmำ� เiพcำZะo) ne 350 M* Continental Shelf (ไหล่ทวีป) Sovereign territory Sovereiganndrigchotsnttionetnhtealwsahteelrfcolumn 34
1 nautical mile (M) = 1,852 meters เเขปต็นทอายงทา่ งะนเลี้ น่เี อง High Seas ทะเลหลวง The Area บรเิ วณพน้ื ที่ No national right 35
ด้านอ่าวไทยชน้ั ใน จีน ถเวกู ยีลดอ้ นมาดมว้ ยมากเมั ลพเซูชียา อินเดยี เมียนมาร์ ดา้ นอา่ วไทยช้ันนอก ถูกล้อมดว้ ย จนี เวยี ดนาม อนิ โฟดิลนปิ ีเซปยีนิ สแ์ละ ลาว ด้านตะวนั ตก ของพชืน้ อ่ ทง่ีตแอคนบเมหะนลือะกา ไทย ถกู ล้อแมลดะว้ มยาเอลนิ เซโดยี นเี ซีย กัมพชู า ฟลิ ปิ ปินส์ ทะเลอันดามัน อา่ วไทยชอ่ งแคบมะละกมาาเลเซีย ด้านตอนบนของ อนิ โดนีเซยี ทะเลอันดามนั ถูกล้อมดว้ ย อนิ เดีย ทางทขะอเบลเขขอตงไทย เมยี นมาร์ คอื อะไรนะ? 36
ลกั ขษอณงะปพรื้นะเทท่ทีศาไงททยะเล ถูกลอ้ มด้วยพนื้ ทที่ างทะเลของประเทศเพ่ือนบา้ น ท้งั สองดา้ น และประชดิ กบั เขตเศรษฐกจิ จา� เพาะ ของประเทศเพ่ือนบ้าน ดังนั้น ตามหลกั กฎหมายระหว่างประเทศ ในการแบ่งเขตแดนทางทะเลระหว่างประเทศ ประเทศต่าง ๆ รอบอา่ วไทย และทะเลฝั่งตะวันตก จึงไมส่ ามารถขยายเขตเศรษฐกจิ จ�าเพาะ ออกไปไดเ้ ต็มท่ีถงึ 200 ไมล์ทะเล หรือประมาณ 370 กิโลเมตร แตม่ ีสว่ นท่อี ้างสิทธิทับซ้อนกันอยู่ ซึ่งจะต้องเจรจาตกลงกัน 37
ขนาดของพ้ืนท่ีและความยาวชายฝง่ั ทะเลรายจงั หวัด ลา� ดับที่ จงั หวัด ความยาว ขนาดพ้ืนทีท่ างทะเล 1 ตราด (กโิ ลเมตร) (ตารางกิโลเมตร) 2 จันทบุรี 3 ระยอง 187.95 5,847.99 4 ชลบรุ ี 101.50 2,064.70 5 ฉะเชิงเทรา 117.99 2,440.16 6 สมทุ รปราการ 188.34 5,423.81 7 กรงุ เทพมหานคร 15.77 8 สมุทรสาคร 49.54 187.73 9 สมุทรสงคราม 1,204.4 10 เพชรบุรี 6.51 76.33 11 ประจวบคีรีขนั ธ์ 45.26 964.25 12 ชุมพร 26.20 226.38 96.55 3,050.77 254.57 5,759.93 252.60 7,441.42 ลกั ษณะเขต 38 ทาตงนทเะอเงลเใปน็นทยอ้ ังงไถง่ิน
(ท่ีมา : กรมอุทกศาสตร์) ลา� ดบั ที่ จังหวัด ความยาว ขนาดพน้ื ท่ที างทะเล 13 สรุ าษฎรธ์ านี (กิโลเมตร) (ตารางกิโลเมตร) 14 นครศรีธรรมราช 15 สงขลา 179.38 9,058.02 16 ปตั ตานี 246.66 12,375.31 17 นราธวิ าส 158.78 9,690.30 18 ระนอง 144.04 12,866.7 19 พังงา 57.20 2,362.51 20 กระบ่ี 106.85 2,381.87 21 ภเู ก็ต 254.18 12,264.61 22 ตรงั 203.55 4,657.22 23 สตูล 219.07 3,660.04 140.74 3,008.52 รวม 140.21 5,328.82 3,193.44 112,341.84 ดูในเลตยาจรา้าง 39
รับมฟกี งัารคลวงาพมื้นเทหี่ ็น แจลาว้ กถผงึ ้มูมจีสากทเว่งัปนัง้�า็นหไหดว26ส้นดั3กว่ ชดนลจาเแสมุ่ยังบียจหทใ่งงันวะหกพเัดลืน้วลดัทมุ่ ่ี ตามสภาพภมู ิศาสตร์ และพื้นฐานของ กจิ กรรมทางทะเล ท่ีส่งผลกระทบระหวา่ งกัน ตามภาพข้างบนเลย 40
(1) กลุ่มจังหวัดอา่ วไทยตะวันออก ประกอบด้วยจังหวัดชายทะเล 3 จงั หวดั ได้แก่ จงั หวัดตราด จังหวดั จันทบุรี และจงั หวดั ระยอง (2) กล่มุ จังหวัดอา่ วไทยตอนใน ประกอบดว้ ยจังหวัดชายทะเล 7 จงั หวดั ไดแ้ ก่ จงั หวดั ชลบรุ ี จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา จงั หวดั สมทุ รปราการ จงั หวดั สมทุ รสาคร จงั หวดั สมทุ รสงคราม จงั หวดั เพชรบรุ ี และกรงุ เทพมหานคร (3) กล่มุ จงั หวัดอ่าวไทยตอนบน ประกอบด้วยจงั หวดั ชายทะเล 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดชุมพร และจังหวัด สรุ าษฎรธ์ านี (4) กลุ่มจังหวดั อา่ วไทยตอนลา่ ง ประกอบดว้ ยจงั หวดั ชายทะเล 4 จงั หวดั ไดแ้ ก่ จงั หวดั นครศรธี รรมราช จงั หวดั สงขลา จงั หวดั ปตั ตานี และจงั หวดั นราธิวาส (5) กลมุ่ จงั หวดั ฝง่ั ตะวนั ตกตอนบน ประกอบดว้ ยจงั หวดั ชายทะเล 3 จงั หวัด ได้แก่ จงั หวัดระนอง จงั หวัดพังงา และจังหวดั ภเู กต็ (6) กลมุ่ จงั หวดั ฝง่ั ตะวนั ตกตอนลา่ ง ประกอบดว้ ยจงั หวดั ชายทะเล 3 จังหวดั ไดแ้ ก่ จงั หวัดกระบ่ี จังหวัดตรัง และจงั หวัดสตลู แผนทช่ี แลาย้ว ทะเล เขาก�าหนดกนั ยังไงนะ 41
ถ้าอย่างนัน้ 23เขจเตภรังจาาหมงัพวหาดัรดววชูแัดมาผยทนกทางทาะรทเ่แี ลแะสบเดลก่งงทัน้งั เลย 42
สมุทรสงสคมรุทามรกสราุงคเทรพมหานฉคะรเชงิ เทรา แผนทแี่ สดงเขตจังหวัดทางทะเล สมุทรปราการ ชลบุรี เขตทางทะเล เพชรบุรี ระยอง จันทบุรี เสันฐานตรง ทะเลอาณาเขต ประจวบครี ีขันธ ตราด เขตตอ เนอ่ื ง ไหลท วีป/EEZ ชุมพร เขตระหวา งจังหวัดทางทะเล ระนอง เขตแดนทะเล เสนมัธยะไทย-เมียนมาร โดยประมาณ นานน้ำภายใน ทะเลอาณาเขต MT-JDA สรุ าษฎรธ านี พังงา กระบี่นครศรธี รรมราช ภูเกต็ ตรัง พทั ลงุ สตูล สงขลา ปต ตานี ยะลา นราธวิ าส 43
3 44
กรงุ เทพมหานคร สมทุ รสาคร สมุทรสงคราม ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ ชลบุรี เพชรบรุ ี ระยอง จันทบรุ ี ประจวบครี ขี ันธ ตราด เขตชุมพร การปกครองระนอง สุราษฎรธ านี ทขอางงจทังหะวัดเล พังงา นครศรธี รรมราช กระบ่ี ภเู ก็ต ตรงั พัทลุง สตูล สงขลา ปต ตานี ยะลา นราธวิ าส 45
สงสยั จงั เพราะวา่ ประเทศไทยไม่มีหลกั กฎหมาย ทา� ไเขมตถจึงงัตหอ้ วงัดมทกี าางรทกะ�าเหลนด ภายในทบี่ อกถงึ หลกั การแนวทางการปฏบิ ตั ิ ในการแบ่งเขตจังหวัดทางทะเลไว้เป็นการ เฉพาะ คณะอนุกรรมการก�าหนดแนวทาง การปรบั ปรงุ พนื้ ทเี่ ขตการปกครองของจงั หวดั ทางทะเล จึงได้พิจารณาแนวทางในการ กา� หนดการแบง่ เขตจงั หวดั ทางทะเลใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั การทเี่ ปน็ สากล และเปน็ ทย่ี อมรบั ของนานาประเทศ เชน่ หลกั การทกี่ า� หนดไว้ ในอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมาย ทะเล ค.ศ. 1958 และฉบบั ค.ศ. 1982 รวมทง้ั ในคมู่ อื ทอี่ งคก์ ารระหวา่ งประเทศทเ่ี กยี่ วขอ้ ง กา� หนดโดยสามารถสรปุ แนวทาง การกา� หนด เขตทางทะเลทเี่ ปน็ หลกั สากล นา� มาประยกุ ต์ ใชใ้ นการแบง่ เขตจงั หวดั ทางทะเล ของแตล่ ะคู่ จังหวัดที่มีเขตอยู่ประชิดกันหรืออยู่ตรงข้าม กนั ได้ ดงั นี้ 46
เดีย๋ ว 1) ตามพนั ธกรณี อนั สบื เนอื่ งมาจาก เราจะอธิบายใหฟ้ ังเอง ข้อตกลงทท่ี า� ไว้เดมิ ต้ังใจฟังดดี ีนะ 2) กา� หนดตามหลักกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 เชน่ - หลกั การของเสน้ มธั ยะ (หลกั ระยะ ห่างเท่ากัน Principle of Equidistance เป็นหลักการพ้ืนฐานท่ีสามารถน�ามาใช้กับ ทะเลอาณาเขต) - สภาวะแวดล้อมพิเศษ Special Circumstance 3) ก�าหนดตามหลักกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 เช่น หลักของความเที่ยงธรรม (Principle of Equitable) และหลักการ แนวคดิ ทฤษฎขี องนกั กฎหมายทะเล ทส่ี นบั สนนุ หลกั การของความเทยี่ งธรรม รวมทงั้ การศกึ ษา แนวทางการตัดสินของศาลโลกในคดีท่ี เกี่ยวข้องกับเขตทางทะเล 47
แลว้ การก�าหนด 1 เสน้ เขตทางทะเล กล่มุ จังหวัดอา่ วไทยตะวันออก ระหวา่ งจังหวัด แบ่งกันยังไงล่ะ ประกอบดว้ ยจงั หวัดชายทะเล 33 จจงั งั หหววัดดั ไดแ้ ก่ จจงั ังหหววดั ดั ตตรราาดด จงั หวัดจันทบรุ ี ในการก�าหนดเส้นเขตทางทะเล และจงั หวัดระยอง ระหวา่ งจังหวดั ไดก้ า� หนดแบง่ กลุ่ม แแผผนนทที่ ี่ทีส่ ง่ ผลกระทบระหวา่ งกันได้ จงั หวัดชายทะเล ท้ัง 23 จังหวัด ออกเป็น 6 กลมุ่ จงั หวดั ตามสภาพภูมศิ าสตร์และ พน้ื ฐานของกิจกรรมทางทะเล 44ดงั นี้ กลกุ่มลจมุ่ งั จหังวหัดวอัด่าอวไ่าทวไยทตยอตนอลนา่ ลง่าง ปประรกะกอบอบดว้ดยว้ จยงัจหงั วหดั วชัดาชยาทยะทเละเล4 จ4งั หจวังดัหวัด ไดไแ้ ดก้แ่ กจ่ ังจหังวหัดวนัดคนรคศรรศธี รรธี รรมรรมารชาช จังจหังวหดั วสดั งสขงลขาลาจังจหงั วหัดวปดั ัตปตตั าตนาี นี แลแะลจะงั จหงั วหัดวนัดรนารธาิวธาสวิ าส 48
23 กลมุ่ จังหวัดอ่าวไทยตอนใน กลมุ่ จงั หวัดอ่าวไทยตอนบน ประกอบด้วยจงั หวดั ชายทะเล ประกอบดว้ ยจงั หวดั ชายทะเล 7 จงั หวดั ได้แก่ จังหวัดชลบรุ ี 3 จงั หวดั ได้แก่ จังหวัดฉะเชงิ เทรา จงั หวดั สมทุ รปราการ จงั หวัดประจวบครี ีขนั ธ์ จงั หวดั สมทุ รสาคร จงั หวดั ชุมพร และ จังหวดั สมุทรสงคราม จงั หวัดเพชรบรุ ีจงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี จังหวัดชายทะเลและกรุงเทพมหานคร 5 6 กลมุ่ จังหวดั ฝง่ั ตะวันตกตอนบน กลุ่มจังหวดั ฝ่งั ตะวนั ตกตอนลา่ ง ประกอบด้วยจังหวัดชายทะเล ประกอบด้วยจงั หวดั ชายทะเล 3 จงั หวดั ไดแ้ ก่ จงั หวัดกระบี่ 3 จงั หวดั ไดแ้ ก่ จังหวัดระนอง จงั หวัดพงั งา จงั หวดั ตรัง และจังหวัดสตลู และจงั หวัดภูเกต็ 49
Search