Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Education 4.0

Education 4.0

Published by b_teddybear, 2016-10-03 00:43:41

Description: Education 4.0

Search

Read the Text Version

\"Education 4.0 in active learning\" ในปัจจุบนั แนวคดิ และหลกั การจดั การเรียนการสอนเนน้ ผเู้ รียนเป็นศูนยก์ ลางของการเรียนรู้(Student Center) เนื่องจากผเู้ รียนแต่ละคนมีพ้ืนฐานความรู้และประสบการณ์ที่แตกต่างกนั ดงั น้นั จาเป็นที่ผสู้ อนจะตอ้ งทราบบทบาทและหนา้ ที่ของตน โดยใหก้ ารสนบั สนุนผเู้ รียน จดั เตรียม และวางแผนขอ้ มูล การสอน การสอดแทรกกิจกรรม การนาสื่อการเรียนการสอนมาประยกุ ต์ และการส่งเสริมการนาความรู้ ไปใช้ซ่ึงช่วยใหผ้ สู้ อนไดพ้ ฒั นาการจดั กระบวนการเรียนรู้อยา่ งเป็ นระบบ และมีประสิทธิภาพไปสู่ จุดประสงค์การเรียนรู้และจุดหมายของหลกั สูตร อีกท้งั ส่งผลให้ผเู้ รียนเกดิ การเรียนรู้ไดด้ ว้ ยตนเอง รูจ้ กั คดิ วเิ คราะห์วางแผน สามารถลงมือปฏบิ ตั ิจริงได้ รู้จกั รับฟังความคิดเห็นของผอู้ ่ืน และสามารถทางาน ร่วมกบั ผอู้ ่นื ไดด้ ี ดงั น้นั การสอนจึงเป็นส่วนหน่ึงในกระบวนการท่ีจะทาใหบ้ รรลวุ ตั ถุประสงคแ์ ละส่งเสริมให้ผเู้ รียนเติบโตท้งั ทางกาย อารมณ์ สงั คม สตปิ ัญญา และพฒั นาข้ึนไปสู่ความเป็นสมาชิกที่ดีของสงั คมต่อไปการสอนจึงเป็นวิธีท่ีให้ความรู้ ทกั ษะ และประสบการณ์แก่ผเู้ รียน เนื่องจากการสอนมีอยมู่ ากมายหลายวธิ ีแต่ละวธิ ีจึงเหมาะสมกบั หลกั สูตรและเน้ือหาเฉพาะวิชาน้นั ๆ นอกจากน้ี ยงั มีองคป์ ระกอบอนื่ ที่เกีย่ วขอ้ งดว้ ย เช่น ขนาดหอ้ งเรียน โสตทศั นูปกรณ์ จานวนนกั ศึกษา เป็นตน้ ดงั น้นั จึงเป็นหนา้ ท่ีของผสู้ อนท่ีจะตอ้ งตดั สินใจเลอื กวิธีการสอนอยา่ งไรให้เหมาะสม และการนาเทคนิคต่างๆ หรือวธิ ีการน าเสนอท่ีจะมากระตุน้ ความสนใจให้แก่นกั ศกึ ษา จึงตอ้ งพิจารณาถงึ ความเหมาะสมไปพร้อมกนัหลกั การและแนวคิดการจดั การเรียนการสอน การสอน (Teaching) คอื การช่วยใหผ้ เู้ รียนเกดิ การเรียนรู้ (Teaching is to Facilitated) ซ่ึงการเรียนรู้จะเกดิ ไดด้ ี ผเู้ รียนตอ้ งเขา้ ใจความหมายของส่ิงท่ีเรียน และการเรียนรู้ จาไดถ้ ือเป็นการ“ต่อยอด” ความรู้ใหม่กบั ความรู้เดิมท่ีมีอยดู่ งั น้นั การท่ีผสู้ อนจะทาให้ผเู้ รียนเขา้ ใจในบทเรียนได้ ผสู้ อนจะตอ้ งทราบพ้ืนฐานความรู้ของผเู้ รียนเพอื่ ที่ผสู้ อนจะช่วยกระตุน้ ให้ผเู้ รียนจาและเพ่ิมความรู้ใหม่ๆใหแ้ กผ่ เู้ รียน ท้งั น้ีหากผเู้ รียนสามารถเช่ือมโยงความรู้ใหม่กบั ความรู้ที่มีอยเู่ ดิม จะทาให้ผเู้ รียนเขา้ ใจความหมายของสิ่งที่เรียนและจาไดน้ านข้ึน เพราะการเรียนรู้เป็นสิ่งท่ีเกิดข้นึ ในสมองของผูเ้ รียนแต่ละคน (Learning is Individual) ทาให้ผเู้ รียนแต่ละคนไดร้ บั ความรู้ไม่เท่ากนั

กลยุทธการเรียนการบรรยาย ที่ผา่ นมา ผสู้ อนส่วนใหญจ่ ะใหค้ วามสาคญั กบั การสอนบรรยายในห้องเรียน การสอนที่ดีไม่ควรใช้การบรรยายเพยี งอยา่ งเดียว แต่ผสู้ อนควรนาส่ิงรอบตวั ที่เกีย่ วขอ้ งกบั เน้ือหาวิชา หรือนาประสบการณท์ ี่พบเห็นมาประยกุ ตใ์ นการสอน เพื่อพฒั นาทกั ษะในการถ่ายทอดการสอนให้ถงึ ผเู้ รียน และควรมีการ สอดแทรกกิจกรรม หรือนาตวั อยา่ ง เช่น รูปภาพ เพลง ภาพยนตร์ หรือ คลิปวีดีโอ มาใชป้ ระกอบการเรียนการสอนบรรยาย และควรเลอื กใชต้ วั อยา่ งที่เหมาะสมกบั วยั และประสบการณ์ของผเู้ รียน เพอ่ื ให้ผเู้ รียนมีอารมณ์ร่วมกบั ผสู้ อน รู้สึกว่าเน้ือหาวชิ าเป็นเร่ืองใกลต้ วั และทาใหผ้ เู้ รียนไดร้ ับความรู้ตามวตั ถปุ ระสงค์Active Learning คอื อะไร Active Learning เป็นรูปแบบการเรียนการสอนท่ีเนน้ ใหผ้ เู้ รียนมีส่วนร่วมในการเรียนมากข้ึน ซ่ึง ไม่แตกต่างจากคาวา่ Student Center เพยี งแต่จะเห็นภาพไดช้ ดั เจนมากข้ึน กลา่ วคือ ผเู้ รียนจะเกิดการ เรียนรู้มากกวา่ ที่ผสู้ อนถ่ายทอดให้ และสามารถลงมือปฏิบตั ิมากกว่าแคก่ ารจดบนั ทึกในช้นั เรียนองค์ประกอบของ Active Learning มีดงั นี้ 1. การพดู และการฟัง (Talking and Listening) 2. การอ่าน (Reading) 3. การเขยี น (Writing) 4. การสะทอ้ น (Reflecting) ท้งั 4 องคป์ ระกอบ เป็นทกั ษะที่เกดิ ข้ึนในการเรียนการสอนทุกวิธี แต่ละวธิ ีจะเกดิ ทกั ษะดงั กลา่ วมากนอ้ ยแตกต่างกนั เช่น การอภิปราย (Discussion) ใชท้ กั ษะการพูดและการฟัง การทากรณีศึกษา (CaseStudy)ใชท้ กั ษะการอ่าน การเขียน และการสะทอ้ น เป็นตน้

คุณลักษณะสาคัญของ Active Learning เนน้ การใหน้ กั ศึกษามีส่วนร่วมในการเรียนการสอนมากข้ึน ซ่ึงเป็นการพฒั นาทกั ษะในหลายๆ ดา้ นและทาใหเ้ กดิ Higher Order Thinking ในระดบั ของการวิเคราะห์ (Analysis) การสงั เคราะห์ (Synthesis)และการประเมินผล (Evaluation) และนกั ศกึ ษายงั มีทกั ษะการอ่าน (Reading) การอภิปราย (Discussing)และการเขียน (Writing) อีกดว้ ยประโยชน์ของ Active Learning 1. มีผลให้ปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งผสู้ อนและผเู้ รียนดีข้ึน เพราะท้งั สองฝ่ายจะมีการพูดคยุ และแลกเปลย่ี นความคดิ เห็นกนั มากข้นึ อีกท้งั ยงั ส่งผลดีต่อปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหว่างผเู้ รียนกบั ผเู้ รียนอีกดว้ ย 2. ผลการเรียนและทกั ษะในการสื่อสารของผเู้ รียนมีแนวโนม้ ท่ีดีข้นึ เพราะผเู้ รียนเกดิ แรงจูงใจในการเรียน มีโอกาสไดเ้ ห็นและลงมือปฏบิ ตั ิดว้ ยตนเอง ซ่ึงทาใหค้ วามรู้ที่ผเู้ รียนไดร้ ับคงทนตลอดไป 3. ผเู้ รียนจะเห็นความสาคญั ของการทางานเป็นทีม รู้วา่ จะตอ้ งทางานกบั บุคคลอ่ืนอยา่ งไรทฤษฎี Cone of Learning เป็นทฤษฎีการเรียนรู้และความจา “Cone of Learning” ของ Edgar Dale นกั การศกึ ษาระดบั โลกซ่ึงกลา่ วไวว้ า่ “มนุษยจ์ ะมีความจาคงเหลือมากกวา่ 90% กต็ ่อเมื่อไดล้ งมือปฏิบตั ิ หรือสมั ผสั จริงในส่ิงน้นั ๆ”

จากภาพ จะเห็นวา่ การเรียนการสอนแบบ Active Learning จะทาใหผ้ เู้ รียนเกิดความจา70-90%กลา่ วคอื ถา้ ผเู้ รียนมีการพดู และการเขียนจะเกดิ ความจา 70% แต่ถา้ ผเู้ รียนไดป้ ฏบิ ตั ิจะเกดิ ความจามากถงึ90% ดงั น้นั ถา้ ผสู้ อนสามารถสอดแทรกการเรียนการสอนแบบ Active Learning ใหผ้ เู้ รียนอยตู่ ลอด จะทให้การเรียนการสอนของผสู้ อนมีประสิทธิภาพมากข้ึน และผเู้ รียนจะไดร้ บั ความรู้ดงั ท่ีคาดหวงั ไว นอกจากน้ี ในปัจจุบนั วงการการศึกษาไดเ้ กดิ ค าศพั ทใ์ หม่ท่ีเรียกว่า Student Engagement ซ่ึงเป็นการนา Active Learning และ Motivation มาผสมผสานกนั เรียกว่า Double Helix Model of Student Engagement

กลยทุ ธการเรียนการสอนแบบ Active Learning 1. Problem Based Teaching เป็นกลยทุ ธก์ ารเรียนการสอนแบบใชป้ ัญหาเป็นพ้ืนฐาน มี 3ข้นั ตอน ดงั น้ี 1.1 รู้วา่ ปัญหาคืออะไร 1.2 หาแนวทางแกไ้ ขปัญหา 1.3 ทดลองทา ตวั อยา่ งปัญหาการขาดเรียน การเขา้ เรียนสาย หรือการไม่สนใจเรียนของผเู้ รียน โดยผสู้ อนอาจแกไ้ ขดว้ ยการนาเสนอวธิ ีการสอนแบบใหม่ๆ เพอ่ื ให้ผเู้ รียนมีการตื่นตวั เช่น การปรบั เปล่ยี นฐานการใหค้ ะแนนการเช็คช่ือผเู้ รียนเป็นกลุ่มและใหค้ ะแนน ซ่ึงเปรียบเสมือนเป็นการให้รางวลั แกผ่ เู้ รียน หรือกาหนดวา่ ถา้ ท่ีนงั่หนา้ ช้นั เรียนวา่ งจะไม่เช็คชื่อใหผ้ เู้ รียน วธิ ีการเหล่าน้ีมีส่วนทาใหผ้ เู้ รียนเกดิ ความกระตือรือร้นท่ีจะเขา้ ช้นัเรียนมากข้นึ ซ่ึงช่วยลดปัญหาขา้ งตน้ ไดม้ าก 2. Lead Thru Technique เป็นรูปแบบการสอนดว้ ยการใชต้ วั อยา่ ง ผเู้ รียนไดส้ มั ผสั และรู้จกั อุปกรณ์ต่างๆ การจูงมือผเู้ รียนให้ลงมือปฏบิ ตั ิ การระดมสมองเพื่อหาวธิ ีคดิ การสร้าง Conceptual Design การ

นาเสนอ และการสร้างตน้ แบบหรือผลงาน ซ่ึงเป็นวธิ ีการท่ีจะทาให้ผเู้ รียนรู้จกั คน้ ควา้ หาความรู้เพิม่ เติมรู้จกัเลอื กวธิ ีท่ีดีท่ีสุดสาหรบั การสร้างผลงานของตนเองได้ ทาใหผ้ เู้ รียนไดเ้ รียนรู้จริง 3. Activity Base เป็นการนากิจกรรมมาประยกุ ตใ์ ชร้ ่วมกบั วิธีการสอน เพอ่ื เป็นการกระตุน้ ใหผ้ เู้ รียนเกิดความสนใจ มีความสนุกสนาน และไดเ้ รียนรู้เน้ือหาวชิ า การสอนแบบ Activity Base จะทให้การสอนของผสู้ อนมีประสิทธิภาพมากยง่ิ ข้ึน ช่วยเพม่ิ มิติของการสื่อสาร ลดปัญหาการไม่ให้ความสนใจของผเู้ รียนในช้นั เรียน และยงั ทาให้ผสู้ อนใกลช้ ิดและเขา้ ถึงผเู้ รียนไดม้ ากยงิ่ ข้ึน เช่น การประเมินผลงานของผเู้ รียนโดยใชว้ ิธี Peer Review ดว้ ยการนาผลงานของผเู้ รียนมาติดบอร์ดหนา้ ช้นั เรียน หรือนาผลงานแสดงผา่ นFacebook แลว้ ใหเ้ พ่อื นๆ และผสู้ อนไดป้ ระเมินผลงาน ซ่ึงถอื ว่าเป็นการนาสิ่งท่ีผเู้ รียนใหค้ วามสนใจและเป็นกิจกรรมที่ทาอยใู่ นชีวิตประจาวนั มาประยกุ ตร์ ่วมดว้ ย 4. Interactive Lecture เป็นการสอนแบบบรรยายก่งึ อภิปราย ท้งั ผสู้ อนและผเู้ รียนสามารถแสดงความคดิ เห็น มีการถาม-ตอบ และมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนร่วมกนั ซ่ึงจะมีการใชส้ ื่อการเรียนการสอนที่เกี่ยวขอ้ งกบั เน้ือหาวชิ าที่กาลงั เรียนมาทากจิ กรรม (Student Activity) เช่น เพลง คลปิ วดี ีโอภาพยนตร์ การใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอรต์ ่างๆ เป็นตน้ มาเป็นสื่อประกอบในการสอนและใหผ้ เู้ รียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมดว้ ยสื่อการสอนที่ดีอีกอยา่ ง คือ การใช้ Hand out ท่ีมีเน้ือหาวชิ าที่อาจารยก์ าลงั สอน และเน้นเฉพาะเน้ือหาท่ีสาคญั เพื่อให้ผเู้ รียนทาความเขา้ ใจในเน้ือหาไดง้ า่ ย และมีความสนใจเรียนมากข้ึน เพราะตอ้ งต้งั ใจฟังผสู้ อน

อธิบายเน้ือหาใน Hand out และทา้ ยชว่ั โมงจะมีการนา Quiz ใหผ้ เู้ รียนทาเพ่ือทดสอบวา่ ผเู้ รียนไดเ้ รียนรู้อะไรบา้ งการเรียนการสอนคุณธรรมและจริยะธรรม ในการประเมินผลการสอนคุณธรรมและจริยธรรมจะใชก้ รอบของ Miller’s Pyramid ซ่ึงมีแนวทาง 4ระดบั ดงั น้ี 1. ระดบั Knows คอื มีความรู้เร่ืองน้นั หรือไม่ รู้ไหมอะไรเรียกว่าถูก อะไรเรียกว่าผดิ 2. ระดบั Knows How คือ ประยกุ ตใ์ ชไ้ ดห้ รือไม่ การนาเอากรณีศึกษามาใหต้ ดั สินว่าถูกหรือผดิ 3. ระดบั Shows How คือ แสดงใหเ้ ห็นในสถานการณจ์ าลอง 4. ระดบั Does คือ การประเมินว่าสามารถทาไดใ้ นสถานการณจ์ ริง ใน 2 ระดบั แรกจะเป็นการประเมินองคค์ วามรู้ดา้ นพทุ ธิปัญญา (Cognitive) แต่ส่ิงสาคญั คือ ผเู้ รียนสามารถแสดงออกให้เห็นไดใ้ นระดบั Shows How และระดบั Does นอกจากน้ียงั มีการประเมินคณุ ธรรมจริยธรรมที่เรียกวา่ Multiple Mini Interview เป็นการสมั ภาษณ์โดยใชค้ าถามที่เป็นโจทยไ์ ม่มีถกู หรือผดิ 100% นิยมใชใ้ นการคดั กรองผเู้ รียน โดยวิธีการสงั เกตพฤติกรรมและแนวคิดของผเู้ รียนในสถานการณจ์ าลอง และจะตอ้ งติดตามประเมินผลของผเู้ รียนในสถานการณ์จริงดว้ ย ดงั น้นั การประเมินผลถอื วา่ เป็นการกากบั พฤติกรรมของผเู้ รียนได้ ซ่ึงหากมีการปฏบิ ตั ิอยา่ งสม่าเสมอจะทาให้พฤติกรรมเหล่าน้นั ติดตวั ผเู้ รียนตลอดไป การเรียนการสอนจะดีหรือไม่ดี ข้ึนอยกู่ บั การเตรียมการสอนของผสู้ อน ถา้ ผสู้ อนอยากใหผ้ เู้ รียนไดร้ บั ความรู้ตามวตั ถุประสงค์ ผสู้ อนควรจะมีเทคนิคการสอนท่ีทาใหผ้ เู้ รียนไดร้ ับความรู้ นอกจากน้ี ชวั่ โมงแรกของการสอนจะเป็นช่วงเวลาท่ีสาคญั ท่ีสุด ที่ผสู้ อนควรจะทาใหผ้ เู้ รียนประทบั ใจต้งั แต่แรก และควรสอนให้ผเู้ รียนไดท้ ราบวา่ ผสู้ อนมีแนวคิดและการวเิ คราะหอ์ ยา่ งไร โดยการหยบิ ตวั อยา่ งมาวเิ คราะหใ์ ห้ผเู้ รียนไดท้ ราบแนวทาง อาจเร่ิมตน้ การสอนดว้ ยตวั อยา่ ง แลว้ นาไปสู่ทฤษฏี หรือการให้ความรู้ภาคทฤษฏีพอสงั เขป แลว้ จึงแสดงตวั อยา่ งแกผ่ เู้ รียน จึงจะเกดิ ความเขา้ ใจและเรียนรู้ในที่สุด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook