Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการสารเคมีอันตราย

โครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการสารเคมีอันตราย

Published by mincyay, 2021-08-19 16:53:44

Description: รวม คู่มือ (ไม่มีเลขหน้า)

Search

Read the Text Version

๑๑   ลําดบั ชือ่ สารเคมอี นั ตราย (ไทย) ช่ือสารเคมีอันตราย (อังกฤษ) CAS No. ขดี จาํ กดั ความเข้มขน้ ขีดจํากัดความเขม้ ขน้ ขดี จํากัด ท่ี ของสารเคมอี ันตราย ของสารเคมอี นั ตรายสาํ หรบั ความเขม้ ข้น 55-63-0 เฉล่ียตลอดระยะเวลา การสมั ผสั ในระยะเวลาส้นั ๆ ของสารเคมี 75-52-5 อันตรายสูงสดุ 230 ไนโตรกลีเซอรนี nitroglycerin 108-03-2 การทํางานปกติ ขดี จํากัด ระยะเวลา ไมว่ า่ เวลาใดๆ 231 ไนโตรมีเธน nitromethane 79-46-9 ความเขม้ ข้น ทกี่ าํ หนด ในระหว่าง 232 1-ไนโตรโพรเพน 1-nitropropane 88-72-2, - ใหท้ ํางานได้ 233 2-ไนโตรโพรเพน 2-nitropropane 99-08-1, - ทาํ งาน 99-99-0 - 0.2 ppm 111-65-9 100 ppm - - - - 25 ppm - - - 25 ppm - - - 234 ไนโตรโทลูอนี ทุกไอโซเมอร์ nitrotoluene, all isomers 5 ppm - - - 235 ออคเทน octane 500 ppm - - - osmium tetroxide, as Os 236 ออสเมยี ม เตตรอกไซด์ ในรูปของ oxalic acid 20816-12-0 0.002 mg/m3 - - - ออสเมียม - 237 กรดออกซาลคิ 144-62-7 1 mg/m3 - - - 7783-41-7 0.05 ppm - - 238 ออกซเิ จน ไดฟลูออไรด์ oxygen difluoride - - 239 พาราควอท อนภุ าคขนาดเล็กท่ีอาจ paraquat, respirable dust 4685-14-7 0.5 mg/m3 - - - สูดเข้าสูร่ ะบบทางเดินหายใจได้ - - 240 พาราไธออน parathion 56-38-2 0.1 mg/m3 - - 19624-22-7 0.005 ppm - - 200 ppm 241 เพนตะบอเรน pentaborane 1321-64-8 0.5 mg/m3 - - 0.5 mg/m3 - - - 242 เพนตะคลอโรแนพธาลีน pentachloronaphthalene 87-86-5 1000 ppm - - - 109-66-0 5 min in - 243 เพนตะคลอโรฟนี อล pentachlorophenol 100 ppm 300 ppm any 3 hr - 127-18-4 - - 244 เพนเทน pentane 5 ppm - 108-95-2 0.1 mg/m3 - - - 245 เพอรค์ ลอโรเอทธิลีน perchloroethylene 95-54-5 0.1 mg/m3 - - (เตตราคลอโรเอทธิลีน) (tetrachloroethylene) 108-45-2 0.1 mg/m3 - - - 106-50-3 0.05 mg/m3 - - - 246 ฟีนอล phenol 298-02-2 - - 247 ออโท-ฟีนิลลีนไดอะมนี o-phenylenediamine 248 เมตา-ฟีนิลลีนไดอะมีน m-phenylene diamine 249 พารา-ฟนี ิลลนี ไดอะมนี p-phenylene diamine 250 โฟเรท phorate 75-44-5 0.1 ppm - - 251 ฟอสจีน (คารบ์ อนลิ คลอไรด์) 252 กรดฟอสฟอรคิ phosgene (carbonyl 7664-38-2 1 mg/m3 - - chloride) 7723-14-0 0.1 mg/m3 - - 10025-87-3 - - phosphoric acid 10026-13-8 0.1 ppm - - 1 mg/m3 253 ฟอสฟอรัส (เหลอื ง) phosphorus (yellow) 254 ฟอสฟอรัส ออกซคี ลอไรด์ phosphorus oxychloride 255 ฟอสฟอรัส เพนตะคลอไรด์ phosphorus pentachloride

๑๒   ลาํ ดับ ช่ือสารเคมอี นั ตราย (ไทย) ช่อื สารเคมอี นั ตราย (องั กฤษ) CAS No. ขดี จํากดั ความเข้มขน้ ขีดจํากดั ความเขม้ ขน้ ขดี จํากดั ที่ ของสารเคมีอนั ตราย ของสารเคมีอนั ตรายสาํ หรบั ความเข้มข้น 1314-80-3 เฉลี่ยตลอดระยะเวลา การสัมผัสในระยะเวลาสั้นๆ ของสารเคมี 7719-12-2 อนั ตรายสูงสุด 256 ฟอสฟอรสั เพนตะซัลไฟด์ phosphorus pentasulfide 85-44-9 การทํางานปกติ ขดี จํากดั ระยะเวลา ไม่วา่ เวลาใดๆ 88-89-1 ความเขม้ ขน้ ท่ีกาํ หนด ในระหวา่ ง 83-26-1 1 mg/m3 ให้ทาํ งานได้ 1310-58-3 - ทํางาน 107-19-7 - - 57-57-8 - 257 ฟอสฟอรัส ไตรคลอไรด์ phosphorus trichloride 79-09-4 0.5 ppm - - - 114-26-1 - 258 พธาลิค แอนไฮไดรด์ phthalic anhydride 109-60-4 2 ppm - - 71-23-8 0.1 mg/m3 - - - 259 กรดพิคริค picric acid 75-55-8 2 mg/m3 75-56-9 260 พินโดน (2-ไพวารลิ -1,3-อินเดนได pindone (2-pivalyl-1,3- 110-86-1 0.1 mg/m3 - - - โอน) indandione) 106-51-4 - 108-46-3 - 261 โปแตสเซียม ไฮดรอกไซด์ potassium hydroxide 83-79-4 - - - - 7783-79-1 1 ppm - - - 262 โพรพากิล แอลกอฮอล์ propargyl alcohol 0.5 ppm - - - 7782-49-2 10 ppm - - - 263 1,3-โพรไพโอแลคโตน 1,3-propiolactone 0.5 mg/m3 - - - 14464-46-1 200 ppm - - - 264 กรดโพรพิโอนิค propionic acid 1317-95-9, 200 ppm - - - 14808-60-7 2 ppm - - - 265 โพรพอกเซอร์ propoxur 26628-22-8 100 ppm - - - 5 ppm - - 266 นอรม์ อล-โพรพิล อะซีเตท n-propyl acetate 0.1 ppm - - - 10 ppm - - 267 นอร์มอล-โพรพลิ แอลกอฮอล์ n-propyl alcohol 5 mg/m3 - - - 268 โพรพลิ ีน อิมีน propylene imine - 269 โพรพลิ ีน ออกไซด์ propylene oxide - 270 ไพรดิ ีน pyridine 0.29 mg/m3 0.11 ppm 271 ควโิ นน quinone 272 รีซอร์ซินอล resorcinol 273 โรทีโนน rotenone 274 เซเลเนยี ม เฮกซะฟลูออไรด์ ในรปู selenium hexafluoride, 0.05 ppm - - ของเซเลเนียม as Se 275 สารประกอบเซเลเนียม ในรปู ของ selenium compounds ,as Se 0.2 mg/m3 - - เซเลเนียม 276 ซลิ กิ า คริสตัลลีน silica, crystalline - ครสิ โตบาไลท์ อนุภาคขนาดเล็กท่ี - cristobalite, respirable 0.025 mg/m3 - - อาจสูดเข้าสรู่ ะบบทางเดินหายใจได้ dust 0.025 mg/m3 - - - แอลฟา-ควอรซ์ อนภุ าคขนาดเลก็ ท่ี - α-quartz, respirable dust อาจสูดเข้าสรู่ ะบบทางเดนิ หายใจได้ 277 โซเดียม อะไซด์ sodium azide - ในรปู ของโซเดยี ม อะไซด์ as sodium azide - -- - -- - ในรปู ไอของกรดไฮดราโซอิก as hydrazoic acid vapour

๑๓   ลาํ ดับ ช่อื สารเคมอี ันตราย (ไทย) ชื่อสารเคมอี ันตราย (องั กฤษ) CAS No. ขีดจาํ กัดความเข้มขน้ ขดี จํากดั ความเขม้ ขน้ ขดี จาํ กัด ท่ี ของสารเคมีอนั ตราย ของสารเคมีอนั ตรายสําหรบั ความเข้มขน้ 7631-90-5 เฉลี่ยตลอดระยะเวลา การสมั ผสั ในระยะเวลาสัน้ ๆ ของสารเคมี 1310-73-2 อันตรายสูงสุด 278 โซเดียม ไบซัลไฟต์ sodium bisulfite การทาํ งานปกติ ขีดจํากัด ระยะเวลา ไม่ว่าเวลาใดๆ sodium hydroxide ความเข้มข้น ทก่ี ําหนด ในระหวา่ ง strontium chromate, as Cr 5 mg/m3 ให้ทํางานได้ strychnine - ทาํ งาน - - - 279 โซเดยี ม ไฮดรอกไซด์ 2 mg/m3 - - - - 280 สตรอนเทยี ม โครเมท ในรปู ของ 7789-06-2 0.0005 mg/m3 - - โครเมียม 200 ppm - 281 สตรคิ นนิ 57-24-9 0.15 mg/m3 - - - 100-42-5 100 ppm 600 ppm - 282 สไตรนี styrene 3689-24-5 0.1 mg/m3 5 min in - any 3 hr - 283 ซัลโฟเทพ sulfotep - - 284 ซลั เฟอร์ ไดออกไซด์ sulfur dioxide 7446-09-5 5 pmm - - - 7664-93-9 1 mg/m3 - - 285 กรดซัลฟูรกิ sulfuric acid - - 286 ทลั ก์ talc 14807-96-6 - - - ท่ีไมม่ สี ว่ นประกอบของเสน้ ใย - containing no asbestos 2 mg/m3 - - - แอสเบสทอส อนุภาคขนาดเลก็ ท่ี fibres, respirable dust - อาจสดู เข้าสู่ระบบทางเดินหายใจได้ - 0.2 ppm - ที่มีสว่ นประกอบของเส้นใยแอส - containing asbestos fibres, 0.1 f/cm3 - - - เบสทอส อนภุ าคขนาดเล็กทอ่ี าจสดู respirable dust 300 ppm เขา้ สูร่ ะบบทางเดินหายใจได้ 0.05 mg/m3 - - 0.02 ppm 287 ทอี พี ีพี (เตตระเอทธลิ ไพโร TEPP (tetraethyl 107-49-3 0.02 ppm - - ฟอสเฟต) pyrophosphate) 5 ppm - - 7783-80-4 0.075 mg/m3 - - 288 เทลลเู ลยี ม เฮกซะฟลูออไรด์ tellurium hexafluoride, as 79-34-5 200 ppm - - ในรปู ของเทลลเู ลยี ม Te 78-00-2 0.075 mg/m3 - - 109-99-9 0.1 mg/m3 - - 289 1,1,2,2-เตตระคลอโรอเี ทน 1,1,2,2-tetrachloroethane 75-74-1 1 ppm - - 7440-28-0 - - 290 เตตระเอทธิล เลด ในรูปของตะกว่ั tetraethyl lead, as Pb 68-11-1 - - - 7719-09-7 5 mg/m3 500 ppm 10 min 291 เตตระไฮโดรฟวิ แรน tetrahydrofuran 137-26-8 200 ppm - - 108-88-3 292 เตตระเมทธลิ เลด ในรูปของตะกั่ว tetramethyl lead, as Pb 584-84-9 - 293 แทลเลียม สารประกอบทีล่ ะลาย thallium, soluble ในรปู ของแทลเลยี ม compounds, as Tl 294 กรดไธโอไกลโคลคิ thioglycolic acid 295 ไธโอนลิ คลอไรด์ thionyl chloride 296 ไธแรม thiram 297 โทลูอีน toluene 298 โทลอู นี -2,4-ไดไอโซไซยาเนท toluene - 2,4-diisocyanate (ทีดีไอ) (TDI)

๑๔   ลําดับ ชื่อสารเคมอี นั ตราย (ไทย) ชอ่ื สารเคมอี ันตราย (องั กฤษ) CAS No. ขีดจาํ กดั ความเขม้ ขน้ ขีดจํากัดความเข้มขน้ ขีดจํากัด ท่ี ของสารเคมอี นั ตราย ของสารเคมีอันตรายสาํ หรับ ความเข้มข้น o-toluidine 95-53-4 เฉลี่ยตลอดระยะเวลา การสัมผัสในระยะเวลาส้นั ๆ ของสารเคมี tributyl phosphate 126-73-8 อนั ตรายสงู สดุ 299 ออโท-โทลูอิดนี trichloroacetic acid 76-03-9 การทํางานปกติ ขดี จาํ กดั ระยะเวลา ไมว่ า่ เวลาใดๆ 1,1,1-trichloroethane 71-55-6 ความเข้มข้น ทีก่ ําหนด ในระหวา่ ง (methyl chloroform) 79-00-5 5 ppm ใหท้ าํ งานได้ 1,1,2-trichloroethane 79-01-6 - ทํางาน 96-18-4 - - trichloroethylene 93-76-5 - 300 ไตรบิวทิล ฟอสเฟต 121-44-8 5 mg/m3 - - - 1,2,3-trichloropropane 8006-64-2 - 301 กรดไตรคลอโรอะซิตคิ 2,4,5 T (2,4,5,- 7440-61-1 0.5 ppm - - - trichlorophenoxyacetic acid) 302 1,1,1-ไตรคลอโรอเี ทน triethylamine 1314-62-1 350 ppm - - 200 ppm (เมทธลิ คลอโรฟอร์ม) turpentine - uranium, as U - 303 1,1,2-ไตรคลอโรอีเทน - soluble compounds 10 ppm - - - - insoluble compounds 100 ppm 300 ppm - 304 ไตรคลอโรเอทธิลีน vanadium 50 ppm 5 min in - any 2 hr - 305 1,2,3-ไตรคลอโรโพรเพน - - 0.5 mg/m3 306 2,4,5 ที (กรด 2,4,5-ไตรคลอโร 10 mg/m3 - - ฟนี อกซอี ะซิตคิ ) 0.1 mg/m3 - 307 ไตรเอทธิลอะมนี 25 ppm - - - 100 ppm - - - 308 เทอร์เพนทีน - - 309 ยเู รเนยี ม ในรปู ของยูเรเนียม - - - สารประกอบที่ละลายได้ 0.05 mg/m3 - - - 0.25 mg/m3 - - - - สารประกอบท่ีไม่ละลาย 310 วาเนเดยี ม - respirable dust, as V2O5 - -- - อนภุ าคขนาดเล็กทีอ่ าจสูดเข้าสู่ - fume, as V2O5 108-05-4 - - - ระบบทางเดนิ หายใจได้ ในรูปของ vinyl acetate 593-60-2 ไดวาเนเดยี มเพนออกไซด์ vinyl bromide 75-01-4 10 ppm - - - ฟูม ในรปู ของไดวาเนเดียม vinyl chloride 75-35-4 0.5 ppm - - เพนออกไซด์ vinylidene chloride 25013-15-4 1 ppm 5 ppm 15 min vinyl toluene 81-81-2 5 ppm - - 311 ไวนลิ อะซีเตท warfarin 100 ppm - - 1330-20-7 0.1 mg/m3 - - 312 ไวนิล โบรไมด์ xylene (o-, m-, p- isomers) 1300-73-8 100 ppm - - 313 ไวนลิ คลอไรด์ xylidine 7646-85-7 zinc chloride fume 5 ppm - - 314 ไวนิลดิ ีน คลอไรด์ 1 mg/m3 - - 315 ไวนลิ โทลอู ีน 316 วาร์ฟาริน 317 ไซลีน (ออโอ เมตา พารา ไอโซ เมอร์) 318 ไซลดิ นี 319 ฟมู ของสงั กะสีคลอไรด์

๑๕   ลาํ ดบั ชื่อสารเคมอี ันตราย (ไทย) ชื่อสารเคมีอนั ตราย (อังกฤษ) CAS No. ขีดจาํ กดั ความเขม้ ขน้ ขีดจํากดั ความเขม้ ขน้ ขีดจํากดั ท่ี ของสารเคมีอนั ตราย ของสารเคมีอันตรายสาํ หรับ ความเข้มข้น zinc chromates, as Cr 13530-65-9, เฉลี่ยตลอดระยะเวลา การสมั ผัสในระยะเวลาสน้ั ๆ ของสารเคมี zinc stearate 11103-86-9, อันตรายสูงสุด - inhalable dust 37300-23-5 การทาํ งานปกติ ขดี จํากัด ระยะเวลา ไมว่ า่ เวลาใดๆ - respirable dust ความเขม้ ขน้ ทก่ี ําหนด ในระหวา่ ง zinc oxide 557-05-1 ใหท้ ํางานได้ - inhalable dust ทาํ งาน 320 ซงิ ค์ โครเมท ในรูปของโครเมยี ม - respirable dust 1314-13-2 0.01 mg/m3 - - zinc oxide fume - 321 ซิงค์ สเตียรเ์ รท zirconium compounds, as 1314-13-2 Zr 7440-67-7 - - อนุภาคทกุ ขนาดท่อี าจสดู เขา้ สู่ 15 mg/m3 - - ระบบทางเดนิ หายใจได้ 5 mg/m3 - - - - อนภุ าคขนาดเล็กที่อาจสดู เข้าสู่ 15 mg/m3 - - - ระบบทางเดนิ หายใจได้ 5 mg/m3 - - 5 mg/m3 - - - 322 สงั กะสี ออกไซด์ 5 mg/m3 - - - - - อนุภาคทุกขนาดท่อี าจสูดเข้าสู่ ระบบทางเดินหายใจได้ - อนภุ าคขนาดเลก็ ที่อาจสดู เข้าสู่ ระบบทางเดินหายใจได้ 323 ฟมู ของสงั กะสี ออกไซด์ 324 สารประกอบ เซอร์โคเนียม ในรปู ของเซอรโ์ คเนียม หมายเหตุ “ขีดจํากัดความเข้มข้นของสารเคมีอันตรายเฉลี่ยตลอดระยะเวลาการทํางานปกติ” หมายถึง ระดับความเข้มข้นของสารเคมีอันตรายเฉลี่ยตลอดระยะเวลาการทํางาน ปกตภิ ายในสถานประกอบกิจการทีล่ กู จา้ งซ่ึงมสี ขุ ภาพปกตทิ าํ งานสามารถสัมผัสหรอื ไดร้ ับเข้าสู่รา่ งกายได้ทุกวันตลอดเวลาที่ทาํ งานโดยไมเ่ ป็นอนั ตรายตอ่ สุขภาพ “ขีดจํากัดความเข้มข้นของสารเคมีอันตรายสําหรับการสัมผัสในระยะเวลาส้ันๆ” หมายถึง ระดับความเข้มข้นของสารเคมีอันตรายท่ีลูกจ้างสัมผัสอย่างต่อเน่ืองใน ระยะเวลาส้ันๆ ตามที่กําหนด โดยไม่มีอาการระคายเคือง เนื้อเย่ือถูกทําลายอย่างถาวรหรืออย่างเรื้อรัง มึนเมา หลับ หรือง่วงซึมจนอาจทําให้เกิดอุบัติเหตุ หรือไม่สามารถช่วย ตนเองได้ หรอื ประสิทธภิ าพการทํางานลดลงอย่างมาก “ขีดจํากัดความเข้มข้นของสารเคมีอันตรายสูงสุดไม่ว่าเวลาใดๆ ในระหว่างทํางาน” หมายถึง ระดับความเข้มข้นของสารเคมีอันตรายสูงสุดซ่ึงต้องไม่เกินกว่าค่าท่ี กําหนดไว้ไมว่ ่าเวลาใดๆ ในระหว่างทํางาน “อนุภาคทกุ ขนาดท่อี าจสดู เขา้ สู่ระบบทางเดนิ หายใจได้ (inhalable dust)” หมายถึง อนุภาคขนาดเล็กกว่าหรือเท่ากับ ๑๐๐ ไมโครเมตร แขวนลอยในอากาศที่อาจ สดู เข้าสู่ระบบทางเดินหายใจได้ “อนุภาคขนาดเล็กที่อาจสูดเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจได้ (respirable dust)” หมายถึง อนุภาคขนาดเล็กกว่าหรือเท่ากับ ๑๐ ไมโครเมตร แขวนลอยในอากาศที่ อาจสูดเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ และสามารถเข้าถึงและสะสมในบรเิ วณพืน้ ทแ่ี ลกเปลีย่ นอากาศของปอด mg/m3 หมายถงึ มิลลกิ รมั ต่ออากาศหนงึ่ ลูกบาศกเ์ มตร f/cm3 หมายถงึ จํานวนเส้นใยต่ออากาศหน่ึงลกู บาศก์เซนติเมตร ppm หมายถึง สว่ นในลา้ นสว่ นโดยปริมาตร

คาํ ชแ้ี จง ประกาศกรมสวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง ขดี จาํ กดั ความเข้มขน้ ของสารเคมอี นั ตราย ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมือ่ วนั ท่ี ๓ สงิ หาคม ๒๕๖๐ ตามที่กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดําเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานเกยี่ วกับสารเคมีอนั ตราย พ.ศ. ๒๕๕๖ ข้อ ๒๘ กาํ หนดไวว้ า่ ให้นายจ้างจัดให้มรี ะบบ ปอ้ งกนั และควบคุม เพ่ือมิให้มรี ะดับความเข้มข้นของสารเคมีอันตรายในบรรยากาศของสถานทีท่ ํางานและสถานที่เก็บ รักษาสารเคมีอันตรายเกินขีดจาํ กัดความเขม้ ขน้ ของสารเคมีอันตรายตามทอ่ี ธิบดปี ระกาศกําหนด ดังนั้น อาศัยอํานาจตามความในข้อ ๒๘ แห่งกฎกระทรวงฯ เกี่ยวกับสารเคมีอันตรายดังกล่าว อธิบดีจึงออก ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง ขีดจํากัดความเข้มข้นของสารเคมีอันตราย ซึ่งได้ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษาแล้ว เม่ือวันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๖๐ โดยท่ีมาของประกาศกรมฉบับนี้นํามาจากกฎหมายภายใต้ ประกาศกระทรวงมหาดไทย เร่ือง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับภาวะแวดล้อม (สารเคมี) ซ่ึงมี ๔ ตาราง มาปรับปรุงโดยรวมตารางทั้ง ๔ ตารางไว้ด้วยกัน เนื้อหาส่วนใหญ่มิได้เปล่ียนแปลงไปจากเดิมยกเว้นสารเคมีรายการ ที่ต้องปรับให้เข้ากับสถานการณ์ปัจจุบัน และท่ีมาของขีดจํากัดความเข้มข้นของสารเคมีอันตรายน้ัน ส่วนใหญ่นํามา จากของ (Occupational Safety and Health Administration : OSHA) ประเทศสหรฐั อเมริกา ดังน้ันเพื่อให้เป็นท่ี เข้าใจกันมากข้ึนเกี่ยวกับที่มาของค่ามาตรฐานดังกล่าวที่กําหนดตามประกาศกรมฯ จึงขอยกตัวอย่างมาตรฐานของ OSHA บางสว่ นมาแสดงดังตัวอย่าง

-๒- • Part Number: 1910 • Part Title: Occupational Safety and Health Standards • Subpart: Z • Subpart Title: Toxic and Hazardous Substances • Standard Number: 1910.1000 TABLE Z-2 • Title: • GPO Source: TABLE Z-2 e-CFR ๑๒ TABLE Z-2 ๕ ๓๔ Substance 8-hour time Acceptable Acceptable maximum peak above the weighted ceiling acceptable ceiling concentration for an 8-hr shift average concentration Concentration Maximum duration Toluene 200 ppm 300 ppm 500 ppm 10 minutes. (Z37.12-1967) 100 ppm 200 ppm 600 ppm 5 mins. in any 3 hrs. Styrene (Z37.15-1969) จากตัวอย่างตามตารางขา้ งต้นเปน็ การกาํ หนดคา่ มาตรฐานของ OSHA ซง่ึ แตล่ ะช่องมคี วามหมายดงั น้ี ช่องหมายเลข ๑ เปน็ การระบชุ ่อื ของสารเคมี ชอ่ งหมายเลข ๒ เป็นคา่ ความเข้มขน้ เฉลี่ยตลอดระยะเวลาทํางานปกติ ๘ ชว่ั โมง ช่องหมายเลข ๓ เปน็ ค่าความเขม้ ขน้ สูงสุดทยี่ อมรบั ได้ ชอ่ งหมายเลข ๔ และ ๕ เปน็ ค่าความเข้มข้นท่สี ูงท่ีสดุ ทยี่ อมให้มีได้มากกว่าคา่ ความเข้มขน้ สูงสุดท่ียอมรับได้ สําหรบั การทาํ งาน ๘ ชว่ั โมง และระยะเวลามากท่สี ดุ ทก่ี ําหนดให้ทํางานได้

-๓- เทคนคิ การเกบ็ ตัวอยา่ ง ในการเก็บตวั อยา่ งสารเคมีดังกลา่ วข้างตน้ ตามตารางน้นั มวี ิธีการเกบ็ ทต่ี ่างกัน เชน่ ช่องหมายเลข ๒ เป็นการเก็บตัวอยา่ งเฉลยี่ ตลอดระยะเวลาการทาํ งานปกติ ๘ ชั่วโมง โดยดําเนินการตาม มาตรฐานที่กาํ หนด เช่น มาตรฐานของ NIOSH เป็นตน้ ช่องหมายเลข ๓ เป็นการเกบ็ ตวั อยา่ งตลอดเวลาในการทํางานทุกช่วงเวลาที่เท่าฯ กนั ซ่งึ มีความย่งุ ยากในทาง ปฏบิ ตั ิจึงแนะนาํ ให้ใช้วิธีการเก็บแบบค่าเฉลยี่ ๑๕ นาทีแทน ช่องหมายเลข ๔ เปน็ การเกบ็ ตัวอย่างในช่วงเวลาทก่ี ําหนดให้ทํางานได้ของสารแตล่ ะตวั จากตวั อย่างสารโทลูอนี ตามมาตรฐานของ OSHA ดังทีก่ ลา่ วมาขา้ งต้น กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน ได้นาํ มาอ้างอิงจดั ทําเปน็ มาตรฐานตามประกาศกรมสวัสดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน เรอื่ ง ขดี จาํ กัดความเข้มข้นของ สารเคมีอนั ตราย จงึ ขอยกตวั อย่างประกาศดังกลา่ วบางสว่ นมาแสดง ดังน้ี ๑๒ ๓ ช่อื ชอ่ื สารเคมี CAS No. ขีดจาํ กดั ความเขม้ ข้น ขีดจาํ กัดความเขม้ ขน้ ของสารเคมีอนั ตรายสําหรบั ขีดจํากดั ความเข้มข้น ลําดับ สารเคมี อนั ตราย ของสารเคมอี ันตราย การสัมผสั ในระยะเวลาสนั้ ๆ ของสารเคมีอนั ตราย (อังกฤษ) เฉลย่ี ตลอดระยะเวลา สูงสดุ ไมว่ ่าเวลาใดๆ อันตราย ขดี จํากดั ความเข้มขน้ ระยะเวลาท่กี ําหนดให้ ในระหว่างทาํ งาน การทํางานปกติ ทําใหท้ าํ งานได้ 297 โทลอู ีน toluene 108-88-3 200 ppm 500 ppm 10 min 300 ppm จากตารางประกาศกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานทแ่ี สดงดังตัวอย่างข้างต้นของสารโทลูอนี มีค่าขีดจํากัด ความเข้มข้นของสารเคมีอันตรายเฉล่ียตลอดระยะเวลาการทํางานปกติ เท่ากับ ๒๐๐ ppm ค่าขีดจํากัดความเข้มข้น ของสารเคมีอันตรายสําหรับการสัมผัสในระยะเวลาสั้นๆ เท่ากับ ๕๐๐ ppm ซ่ึงมีระยะเวลาที่กําหนดให้ทํางานได้ ๑๐ นาที และค่าขีดจํากดั ความเขม้ ข้นของสารเคมอี ันตรายสงู สุดไม่ว่าเวลาใดๆ ในระหว่างทาํ งาน เท่ากับ ๓๐๐ ppm คา่ ขีดจํากดั ทง้ั สามค่าของสารโทลอู ีนตามตารางมคี วามหมาย ดงั น้ี ค่าขีดจํากัดช่องที่ ๑ เป็นค่าขีดจํากัดความเข้มข้นของสารโทลูอีนเฉล่ียตลอดระยะเวลาการทํางานปกติ เท่ากับ ๒๐๐ ppm หมายถึง ค่าความเข้มข้นของสารโทลูอีนเฉลี่ยตลอดระยะเวลาทํางานปกติแปดช่ัวโมง ไม่เกิน ๒๐๐ ppm ค่าขดี จํากัดช่องที่ ๒ เปน็ ค่าขีดจํากัดความเขม้ ขน้ ของสารโทลูอนี สําหรับการสมั ผสั ในระยะเวลาสั้นๆ เทา่ กับ ๕๐๐ ppm ระยะเวลาที่กําหนดให้ทํางานได้ ๑๐ นาที หมายถงึ ค่าความเข้มขน้ ของสารโทลูอีนที่สูงที่สุดท่ียอมให้มีได้ มากกว่าค่าความเข้มข้นสูงสุดของสารโทลูอีนที่ยอมรับได้ (ค่าขีดจํากัดท่ี ๓) ไม่เกิน ๕๐๐ ppm และระยะเวลามาก ทส่ี ดุ ทก่ี าํ หนดใหท้ าํ งานได้ ๑๐ นาที สาํ หรบั การทํางาน ๘ ชั่วโมง -๔-

ค่าขีดจํากัดช่องท่ี ๓ เป็นค่าขีดจํากัดความเข้มข้นของสารโทลูอีนสูงสุดไม่ว่าเวลาใดๆ ในระหว่างทํางาน เท่ากับ ๓๐๐ ppm หมายถึง ค่าความเข้มข้นของสารโทลูอีนสูงสุดท่ียอมรับได้ไม่เกิน ๓๐๐ ppm ไม่ว่าเวลาใดๆ ใน ระหว่างทาํ งาน ในกรณีที่สารเคมีอันตรายบางรายการอยู่ในรูปของอนุภาค เช่น สารแบเรียม ซัลเฟต ซ่ึงอยู่ในลําดับท่ี ๓๗ ของประกาศกรมฯ กําหนดใหม้ ีขีดจาํ กัดความเข้มขน้ เฉล่ียตลอดระยะเวลาการทํางานปกติไว้ ๒ กรณี ดงั น้ี กรณีท่ี ๑ เป็นขีดจํากัดความเข้มข้นเฉล่ียตลอดระยะเวลาการทํางานปกติ ๘ ชั่วโมง ไม่เกิน ๑๕ mg/m3 ใช้กับอนุภาคทุกขนาดที่อาจสูดเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจได้ (Inhalable dust) หมายถึงอนุภาคขนาดเล็กกว่าหรือ เท่ากับ ๑๐๐ ไมโครเมตรและให้หมายความรวมถึงอนุภาคขนาดใหญ่กว่า ๑๐๐ ไมโครเมตรด้วย แขวนลอยในอากาศ ที่อาจสดู เข้าสู่ระบบทางเดินหายใจได้ กรณีท่ี ๒ เป็นขีดจํากัดความเข้มข้นเฉลี่ยตลอดระยะเวลาการทํางานปกติ ๘ ช่ัวโมง ไม่เกิน ๕ mg/m3 ใช้กับ อนุภาคขนาดเล็กที่อาจสูดเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจได้ (respirable dust) หมายถึง อนุภาคขนาดเล็กกวา่ หรือเท่ากับ ๑๐ ไมโครเมตร แขวนลอยในอากาศที่อาจสูดเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ และสามารถเข้าถึงและสะสมในบริเวณพื้นท่ี แลกเปลีย่ นอากาศของปอด กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดกิ ารและคุม้ ครองแรงงาน



























ขอบข่ายกา “นายจ้างท่มี สี ารเคมอี นั ต “ครอบครอง” หมายความว่า การมีไวเ้ พื่อตนเอ ประการอืน่ ใด และรวมถงึ การท้ ิงไว้ หรือปรากฏอยู่ใน “ผลติ ” หมายความว่า ทาํ ผสม ปรงุ ปรงุ แต่ง เป การบรรจุ และแบ่งบรรจุ “การทํางานเกยี่ วกบั สารเคมีอนั ตราย” หมาย ได้รับสารเคมอี นั ตราย เช่น การผลติ การติดฉ การถ่ายเท การขนถ่าย การขนส่ง การกาํ จัด กา รวมท้งั การบาํ รุงรักษา การซ่อมแซม และการท ภาชนะบรรจุสา

ารใชบ้ งั คบั ตรายอยู่ในครอบครอง” องหรือผูอ้ ื่นไม่ว่าจะมีไวเ้ พื่อขาย ขนส่ง ใช้ หรือเพื่อ นบริเวณทีค่ รอบครองดว้ ย ปล่ียนรปู แปรสภาพ และหมายความรวมถงึ ยความว่า การกระทาํ ใด ๆ ซ่งึ อาจทาํ ให้ลูกจ้าง ฉลาก การห่อหุ้ม การเคล่อื นย้าย การเกบ็ รักษา ารทาํ ลาย การเกบ็ สารเคมอี นั ตรายท่ไี ม่ใช้แล้ว ทาํ ความสะอาดเคร่ืองมือ เคร่ืองใช้ ตลอดจน ารเคมีอนั ตราย

“สารเคมอี ธาตุ หรือ สารปร ซ่งึ มสี ถานะเป็นของแขง็ ของเหลว หรือกา๊ ซ ไม่ ท่มี คี ุณสมบตั ิอย่างหน่งึ อย่างใดห ที่มคี ุณสมบตั ิอย่างหนงึ่ อย่าง (๑) มีพิษ กดั กร่อน ระคายเคือง ซึ่งอาจทํา ใ ห้เ กิ ด อ า ก า ร แ พ้ ก า ร ก่ อ ม ะ เ ร็ ง ก า ร เปลี่ยนแปลงทางพนั ธุกรรม เป็ นอนั ตรายต่อ ทารกในครรภห์ รือสุขภาพอนามยั หรือทําให้ ถงึ แก่ความตาย ตามบญั ชีรายชือ่ ประกาศกรมส (จํานวน 1,5

อนั ตราย” สารผสม ระกอบ หรือ มว่าจะอยู่ในรปู ของเส้นใย ฝ่ นุ ละออง ไอ หรือฟูม หรือหลายอย่างรวมกนั ดงั ต่อไปน้ี งใดหรือหลายอย่างรวมกนั (๒) เป็ นตวั ทําปฏิกิริยาที่รุนแรง เป็ นตวั เพิม่ ออกซิเจนหรือไวไฟ ซึ่งอาจทําให้เกิดการ ระเบิดหรือไฟไหม้ ตามบญั ชีรายชื่อประกาศ กรมสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงาน ๑๕๑๖ รายการ สวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงาน 516 ชนดิ )

ตอ้ งกําหนดมาตรฐานในการบ อาชีวอนามยั และสภาพแว ๑.การจดั ทําขอ้ มูลความปลอดภยั ของส ๒.การจัดทําฉลากและป้ าย ๔.การเกบ็ รกั ษา การบรรจุ และการถา่ ย ๕.การขนถา่ ย การเคลือ่ นยา้ ย หรือการ ๖.การจดั การและการกาํ จดั ๘.การควบคุมและปฏิบตั ิการกรณีมเี หต ๙. การควบคุมและปฏิบตั ิการกรณีมเี หตุฉ

บริหาร จดั การ และดําเนินการดา้ นความปลอดภยั วดลอ้ มในการทํางานเกยี่ วกบั สารเคมอี นั ตราย ซึ่งประกอบดว้ ย สารเคมีอนั ตราย ๓.การคมุ้ ครองความปลอดภยั ยเทสารเคมีอนั ตราย รขนส่ง ๗.การดูแลสขุ ภาพอนามยั ตุฉุกเฉิน ฉุกเฉินจากสารเคมีอนั ตราย

๑) จดั ทำบัญชีรำยช่ือสำรเคมอี นั ตรำย และรำยละเอยี ดข้อมูลควำมปลอดภยั ของสำรเคมี อนั ตรำย ตำมแบบ สอ. ๑ ๑. การจดั ทําขอ้ มูลความ อนั ตราย นายจา้ ง ๓) จดั ทําคู่มือเกีย่ วกบั แนวปฏิบตั ิและข้นั ตอน ในการทํางานเกีย่ วกบั สารเคมอี นั ตราย และ ควบคมุ กาํ กบั ดูแลใหท้ ํางานตามวิธีการที่กําหนด

๒) แจ้งข้อมูลควำมปลอดภยั ของสำรเคมอี นั ตรำย เกย่ี วกบั กำรป้องกนั อนั ตรำย ข้อควำม และ เครื่องหมำยต่ำงๆ ทปี่ รำกฏในเอกสำร คู่มือ ฉลำก ป้ำย หรือข่ำวสำรทเี่ กย่ี วข้อง รวมท้งั ข้อมูลต่ำงๆ ให้ลูกจ้ำงทรำบและเข้ำใจ มปลอดภยั ของสารเคมี งตอ้ งปฏิบตั ิ ดงั น้ ี ๔) จดั ใหล้ ูกจา้ งทราบและเขา้ ใจวิธีการทํางาน ทีถ่ ูกตอ้ งและปลอดภยั

รายละเอียดขอ้ มูลความปล (MSDS :Material Safety Data She สอ.๑ 1. ขอ้ มูลเกีย่ วกบั สารเคมอี นั ตราย 2. การบ่งช้ ีความเป็ นอนั ตราย 2. องคป์ ระกอบและขอ้ มูลเกยี่ วกบั ส่วนผสม 3. มาตรการปฐมพยาบาล 5. มาตรการผจญเพลงิ 6. มาตรการจดั การเมอื่ มกี ารหกรวั่ ไหลของสาร 7. การขนถา่ ย เคลือ่ นยา้ ย ใชง้ าน และเก็บรกั ษา 8. การควบคุมการรบั สมั ผสั และการป้ องกนั ส่วน บุคคล

ลอดภยั ของสารเคมีอนั ตราย eet หรือ Safety Data Sheet : SDS) ๑ 9. คุณสมบตั ิทางกายภาพและทางเคมี 10. ความเสถยี รและและการไวต่อปฏิกริ ิยา 11. ขอ้ มูลดา้ นพษิ วิทยา 12. ขอ้ มูลดา้ นนเิ วศวิทยา 13. ขอ้ พจิ ารณาในการกําจดั 14. ขอ้ มูลการขนส่ง 15 ขอ้ มูลดา้ นกฎขอ้ บงั คบั 16. ขอ้ มูลอื่นๆ รวมท้งั ขอ้ มูลการจดั ทําและการ ปรบั ปรงุ แกไ้ ขเอกสารขอ้ มูลความปลอดภยั

คู่มือเกีย่ วกบั แนวปฏิบตั ิและข้นั ตอนใน บทนาํ หลกั การ โครงสรา้ ขอ้ มูล การบริห การบริห วิธีปฏิบตั ขอ้ กําหน การปฏิบ การตรวจ การแจง้ เ

นการทํางานเกีย่ วกบั สารเคมอี นั ตราย รบริหารจัดการความปลอดภยั ทางเคมีในองคก์ ร างขององคก์ รและหนา้ ที่รบั ผดิ ชอบดา้ นความปลอดภยั เครือ่ งมอื และอุปกรณเ์ พอื่ ความปลอดภยั หารจดั การสารเคมีและสญั ลกั ษณอ์ นั ตราย หารจดั การของเสยี ติตามมาตรฐานเพอื่ ความปลอดภยั นดดา้ นการฝึ กอบรมเพอื่ ความปลอดภยั บตั ิตนเมอื่ เกิดอุบตั ิเหตุและ/หรือภาวะฉุกเฉิน จสอบเรือ่ งความปลอดภยั เหตุและการรายงานอุบตั ิเหตุ

๒. การปิ ดฉลากแ เกีย่ วกบั สารเคมีอนั ตราย ๑. จดั ใหม้ กี ารปิ ดฉลากทีเ่ ป็ น ๒. จัดให้มีป้ ายห้าม ป ภาษาไทยไวท้ ีห่ ีบห่อบรรจุภณั ฑ์ หรือป้ ายเตือนในการทํา ภาชนะบรรจุ หรือวสั ดุห่อหมุ้ สารเคมี สารเคมีอันตราย ณ ส อนั ตราย ตอ้ งมีรายละเอียดเกยี่ วกบั ของลูกจา้ ง (๑) ชื่อผลิตภณั ฑ์ (product name) (๒) ชื่อสารเคมีอนั ตราย (hazardous substances) (๓) รูปสญั ลกั ษณ์ (pictograms) (๔) คําสญั ญาณ (signal words) (๕) ขอ้ ความแสดงอนั ตราย (hazard statements) (๖) ขอ้ ควรระวงั หรือขอ้ ปฏิบตั ิเพื่อ ป้ องกนั อนั ตราย (precautionary tatements)

และป้ ายสญั ลกั ษณ์ นายจา้ งตอ้ งปฏิบตั ิ ดงั น้ ี ป้ ายให้ปฏิ บัติ ๓. ณ บริเวณสถานที่ทํางานเกี่ยวกบั สารเคมี างานเกี่ยวกบั อนั ตราย สถานที่เก็บรกั ษาสารเคมีอนั ตราย สถานที่ทํางาน หรือในยานพาหนะขนส่ง สารเคมีอันตราย ให้ปิ ดประกาศหรือจัดทําป้ ายแจ้งขอ้ ความ “ห้ามสู บบุหรี่ รับประทานอาหาร หรือ เครื่องดื่ม ประกอบอาหาร หรือเก็บอาหาร” และควบคุมดูแลมิให้ลูกจ้างมีการฝ่ าฝื น ขอ้ หา้ ม GHS : Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals













ประโยชนข์ องการปิ ดฉล ผูป้ ฏิบตั ิงานเกีย่ วกบั ผู้ประกอบก สารเคมี ๑. ส่งเสริมความปลอดภ ๑. ส่งเสริมความปลอดภยั ในการใช้ ขนส่งสารเคมี และสรา้ งส สารเคมีผ่านการสอื่ สารความเป็ น คนงานผูใ้ ชส้ ารเคมี อนั ตรายทีเ่ ป็ นรูปแบบเดียวกนั ๒.เพมิ่ ประสิทธิภาพและ และเขา้ ใจง่าย ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบใน ๒. ส่งเสริมใหเ้ กิดความตระหนกั ถงึ เกีย่ วขอ้ งกบั การสือ่ สารค อนั ตรายของสารเคมี และใชส้ ารเคมี สารเคมีเนอื่ งจากทกุ ภาค อย่างปลอดภยั ๓. ลดค่าใชจ้ ่ายในระยะย ของอุบตั ิเหตุและการรกั สารเคมี ๔. ส่งเสริมภาพลกั ษณแ์ สถานประกอบการและผล ๕. อํานวยความสะดวกด ระหว่างประเทศ ลดความ ฉลากและเอกสารขอ้ มูลค

ลากและป้ ายสญั ลกั ษณ์ กจิ การ ภาครฐั ภยั ในการทํางานและการ ๑. ลดอบุ ตั เิ หตุจากสารเคมีและภาระ งสมั พนั ธภาพทีด่ ีกบั ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลท่เี กดิ จาก สารเคมี ะลดค่าใชจ้ ่ายในการ ๒. ส่งเสริมการปกป้ องสขุ ภาพคนงาน นภาคส่วนต่างๆ ที่ และผู้บริโภคจากอนั ตรายของสารเคมี ความเป็ นอนั ตรายของ ๓. ลดค่าใช้จ่ายและอาํ นวยความสะดวก คส่วนใชร้ ะบบเดียวกนั ในการประสานความร่วมมอื ในด้าน ยาวเนอื่ งจากการลดลง กฎระเบยี บ การบงั คับใช้ และการเฝ้ าระวัง กษาพยาบาลทีเ่ กิดจาก ๔. ส่งเสริมการส่อื สารความเป็นอนั ตราย ของสารเคมที ้งั ในระดับประเทศและระหว่าง และความนา่ เชื่อถอื ของ ประเทศ ลติ ภณั ฑ์ ดา้ นการคา้ สารเคมี มซ้ําซอ้ นในการจดั ทํา ความปลอดภยั

๓. การคุม้ ครองความปลอดภยั จากสาร ๑. จดั สถานที่และบริเวณที่ลูกจา้ งทํางานเกีย่ วกบั ดงั ต่อไปน้ ี ๑.๑ ถูกสุขลกั ษณะ สะอาด และ ๑.๒ มีระบบระบายอาก เป็ นระเบยี บเรียบรอ้ ย พ้ นื ที่ หรือแบบทีท่ ําใหส้ ารเคม ปฏิบตั ิงานตอ้ งเรียบ สมาํ่ เสมอ จาง หรือแบบทีม่ ีเครือ่ ง ไม่ลนื่ และไม่มีวสั ดุเกะกะ กีด เฉพาะที่ ทีเ่ หมาะสมกบั ขวางทางเดิน สารเคมีอนั ตราย โดยให บรรยากาศ ไม่ตํา่ กว่ารอ จุดหา้ (19.5)โดยปริม

รเคมีอนั ตราย นายจา้ งตอ้ งปฏิบตั ิ ดงั น้ ี บสารเคมอี นั ตราย ใหม้ สี ภาพและคณุ ลกั ษณะ กาศแบบทวั่ ไป ๑.๓ มรี ะบบป้ องกนั และกําจดั อากาศ มีอนั ตรายเจือ เสยี โดยใชร้ ะบบระบายอากาศเฉพาะที่ งดูดอากาศ ระบบเปี ยกการปิ ดคลุม หรือระบบอื่น บประเภทของ เพอื่ มใิ หม้ ีสารเคมีอนั ตรายใน หม้ ีออกซิเจนใน บรรยากาศเกินปริมาณทีก่ าํ หนด และ อ้ ยละ สิบเกา้ ป้ องกนั มใิ หอ้ ากาศทีร่ ะบายออกไปเป็ น มาตร อนั ตรายต่อผูอ้ ื่น

๓. การคุม้ ครองความปลอดภยั จากสาร จดั ใหม้ สี ถานที่และอุปกรณเ์ พอื่ คุม้ ครองความ ๒. อนั ตรายและความรนุ แรงของสารเคมีอนั ตรา ทีล่ า้ งตา ฝักบวั ชําระลา้ งร่างกาย ท อุปกรณแ์ ละเวชภณั ฑท์ ีจ่ ําเป็ นสาํ หร อุปกรณด์ บั เพลิงที่เหมาะสมกบั สา ผจญเพลิงเบ้ อื งตน้ ชดุ ทํางานและทีเ่ ก็บชดุ ทํางานทีใ่ ชแ้ อปุ กรณค์ มุ้ ครองความปลอดภยั ส่วนบ ดูแลใหส้ ถานที่ อุปกรณใ์ ชง้ านไดอ้ ยา่ ง

รเคมอี นั ตราย นายจา้ งตอ้ งปฏิบตั ิ ดงั น้ ี มปลอดภยั ในการทํางานใหแ้ ก่ลูกจ้าง ตามลกั ษณะ าย หรือลกั ษณะของงาน เช่น ทีล่ า้ งมือ ทีล่ า้ งหนา้ หอ้ งอาบน้าํ รบั การปฐมพยาบาลลูกจา้ ง ารเคมีอนั ตรายแต่ละชนิด และเพียงพอสําหรบั การ แลว้ ท้งั น้ ี บุคคล ตามลกั ษณะอนั ตราย อย่างเพยี งพอ งมีประสทิ ธิภาพและปลอดภยั ตลอดเวลาการทํางาน

๓. การคุม้ ครองความปลอดภยั จากสาร ในกรณที ีล่ ูกจา้ งไม่ใชห้ รือไม่สวมใส่อปุ กรณน์ ๓. จนกว่าลูกจา้ งจะไดใ้ ชห้ รือสวมใส่อปุ กรณด์ งั ก หา้ มยนิ ยอม หรือปล่อยปละละเลยใหล้ ูกจา้ งห ๓. ทํางานเกีย่ วกบั สารเคมีอนั ตราย สถานที่เก็บร ขนส่งสารเคมีอนั ตราย

รเคมอี นั ตราย นายจา้ งตอ้ งปฏิบตั ิ ดงั น้ ี น้นั ใหน้ ายจา้ งสงั่ ลูกจา้ งหยุดการทํางานทนั ที กล่าว หรือบุคคลใดเขา้ พกั อาศยั หรือ พกั ผ่อนในสถานที่ รกั ษาสารเคมีอนั ตราย หรือในยานพาหนะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook