Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนขับเคลื่อน อพท.

แผนขับเคลื่อน อพท.

Published by earthvasu.se, 2022-01-02 05:08:11

Description: แผนขับเคลื่อน อพท.

Search

Read the Text Version

แผนขบั เคลื่อนองคก ารบรห� ารการพัฒนาพ�น้ ท่พี เ� ศษเพอ�่ การทอ งเทีย่ วอยา งย่งั ยนื (องคก ารมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคก ารบรห� ารการพฒั นาพ�้นท่พี เ� ศษเพ�่อการทอ งเที่ยวอยา งยงั่ ยืน (องคก ารมหาชน) องคการบรห� ารการพฒั นาพน�้ ที่พเ� ศษเพ่�อการทอ งเทยี่ วอยา งย่ังยนื (องคการมหาชน) แผนขับเคลือ่ นองคการบรห� ารการพฒั นาพ้น� ทพี่ เ� ศษ เพอ�่ การทองเท่ยี วอยางย่งั ยนื (องคการมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562 - 2565) A

แผนขบั เคลือ่ นองคการบรห� ารการพฒั นาพ�น้ ทพ่ี �เศษเพ�อ่ การทองเท่ียวอยา งยงั่ ยนื (องคก ารมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคการบร�หารการพฒั นาพน้� ท่พี �เศษเพ่�อการทองเทยี่ วอยา งยง่ั ยนื (องคก ารมหาชน) สรุปย่อส�ำ หรับผู้บริหาร 1) พฒั นาพน้ื ทต่ี น้ แบบเพอื่ สรา้ งการทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน 2) พัฒนาการบริหารจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน อพท. เป็นองค์การมหาชน ที่มีบทบาท 3) สง่ เสรมิ การท่องเที่ยวสร้างสรรค์เสรมิ สร้างเศรษฐกิจ ชุมชน และ 4) บูรณาการร่วมกับทุกภาคีเพื่อพัฒนา หน้าที่ดำ�เนินงานอย่างหลากหลายด้านการท่องเท่ียว ขีดความสามารถในการบริหารจัดการการท่องเท่ยี วโดย อย่างยัง่ ยืนในการประสานงาน ให้เกดิ การบูรณาการ “แผนขับเคลอ่ื น อพท. ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2562 - 2565)” การบริหารการพัฒนาพ้นื ท่ที ่มี ีทรัพยากรการท่องเท่ยี ว ประกอบด้วย 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ในการดำ�เนินงาน ที่ทรงคุณค่า โดยมีความคล่องตัวและรวดเร็วในการ ประกอบด้วย 1) บรหิ ารการพฒั นาพนื้ ท่ีพเิ ศษส่คู วาม ดำ�เนินงานมากกว่าส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจซึ่ง เป็นต้นแบบการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 2) พัฒนาและ จะมีแรงขับเคล่ือนที่สำ�คัญในการบริหารการพัฒนา ส่งเสริมต้นแบบการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโดยชุมชน อุตสาหกรรมการท่องเท่ียวของประเทศท้ังระยะส้ัน ท่ีได้มาตรฐาน 3) บูรณาการ ประสาน และส่งเสรมิ การ และระยะยาว แผนขับเคลื่อนองค์การบริหารการ มีส่วนร่วมของทุกภาคีในการจัดการการท่องเท่ียวและ พัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 4) ขบั เคล่ือนสู่องคก์ รท่เี ป็นเลศิ ในการบรหิ ารจดั การการ ในระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2562 - 2565) ได้จัดทำ�ขึ้นเพื่อ ท่องเที่ยว โดยมีเป้าหมายและแนวทางการพัฒนาการ เชื่อมโยงและสอดรับกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนเช่ือมโยงพื้นที่พัฒนาที่สำ�คัญเพ่ือ (พ.ศ. 2561 - 2580) ซึ่งจะนำ�ไปสู่การปฏิบัติเพื่อให้ สรา้ งความสมดลุ ทางสงั คมและสง่ิ แวดลอ้ มซง่ึ สอดคลอ้ ง ประเทศไทยบรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความ ตามจุดเน้นของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ มน่ั คง ม่งั คัง่ ย่งั ยนื เป็นประเทศพฒั นาแล้ว ด้วยการ โดย อพท. จะท�ำ หนา้ ทเ่ี ปน็ องคก์ รกลางในการประสาน พัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ส่งเสริมและสนับสนุนทุกภาคีการพัฒนาให้เข้ามามี รวมทั้งการมีส่วนร่วมในการสร้างความหลากหลาย สว่ นร่วมในการบรหิ ารจดั การพ้นื ที่ เพอ่ื การทอ่ งเท่ียว ดา้ นการท่องเที่ยวของประเทศ ตามแนวทางของแผน ในเชิงบรู ณาการ และประสานงานกบั องค์กรปกครอง แม่บทประเด็นสร้างความหลากหลายด้านการท่อง ท้องถ่ินหรือพื้นท่ีท่ีเป็นแหล่งท่องเที่ยวเพื่อพัฒนาพื้นท่ี เที่ยว และแนวทางการปฏริ ปู ประเทศ นอกจากการ ทม่ี ศี กั ยภาพในการทอ่ งเทย่ี ว ใหม้ กี ารบรหิ ารจดั การพน้ื ท่ี เช่ือมโยงเชิงนโยบายและขับเคลื่อนการท่องเท่ียวของ เพื่อการท่องเที่ยวในเชิงคุณภาพ ด้วยกระบวนการมี ประเทศดังกล่าวแล้ว แผนขับเคลื่อนองค์การบรหิ าร ส่วนร่วมแบบ Co-Creation การทอ่ งเที่ยวที่เป็นมติ รกับ การพัฒนาพื้นท่ีพิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างย่ังยืน สงิ่ แวดลอ้ ม (Low Carbon Tourism) การท่องเท่ยี วเชิง ในระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2562 - 2565) ยังเป็นการกำ�หนด สรา้ งสรรค์ (Creative Tourism) ในพนื้ ที่พิเศษ ภายใต้ แนวทางดำ�เนินการที่ชัดเจนของ อพท. ในช่วงแผน กรอบการบริหารจัดการตามเกณฑ์การท่องเที่ยวอย่าง พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. ย่งั ยืนโลก (Global Sustainable Tourism Criteria) 2561 - 2565) และแผนพฒั นาการท่องเท่ียวแห่งชาติ หรือ GSTC ขององคก์ ารการทอ่ งเทยี่ วโลก (United ฉบบั ที่ 2 (พ.ศ. 2560 - 2564) Nations World Tourism Organization: UNWTO) ซึ่งจะก้าวขึ้นเป็นผู้นำ�ในด้านการพัฒนาการท่องเที่ยว “แผนขับเคลื่อน อพท.ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2562- อย่างย่งั ยืนของภูมภิ าค 2565)” มีวิสัยทศั น์ในการดำ�เนนิ งานวา่ “เป็นองคก์ ร แห่งความเป็นเลิศด้านการพัฒนาการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืนเพื่อสร้างชุมชนแห่งความสุข” สำ�หรับ พนั ธกจิ ทต่ี อ้ งด�ำ เนนิ การในชว่ งถงึ ปี 2565 ประกอบดว้ ย B

แผนขับเคล่ือนองคก ารบร�หารการพัฒนาพ้�นท่พี เ� ศษเพ�อ่ การทองเที่ยวอยางย่งั ยนื (องคก ารมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคก ารบรห� ารการพฒั นาพ�้นทีพ่ เ� ศษเพอ่� การทองเทีย่ วอยา งยง่ั ยนื (องคการมหาชน) แผนขับเคลื่อน อพท. ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) (ปรับปรงุ จาก แผนยุทธศาสตร อพท. พ.ศ.2560-2563) วส� ัยทศั น เปน องคก รแหง ความเปน เลิศดา นการพฒั นา การทองเท่ียวอยา งย่ังยืนเพ่อ� สรางชมุ ชนแหง ความสุข พันธกิจ พฒั นาพน�้ ทต่ี น แบบเพ่�อสรางการทองเทย่ี วท่ยี ัง่ ยนื พัฒนาการบรห� ารจัดการการทองเทย่ี วโดยชุมชน สง เสร�มการทอ งเทีย่ วสรา งสรรค เสรม� สรางเศรษฐกจิ ชุมชน บูรณาการรว มกบั ทกุ ภาคีเพ่อ� พัฒนาข�ดความสามารถ ในการบร�หารจดั การการทองเท่ยี ว ประเด็น ประเดน็ ประเดน็ ประเดน็ 01 02 03 04ยทุ ธศาสตรที่ ยุทธศาสตรท ี่ ยทุ ธศาสตรที่ ยุทธศาสตรท ี่ บร�หารการพฒั นา พฒั นาและสง เสร�ม บรู ณาการ ประสานและ ขบั เคลือ่ นสูองคกร พน�้ ทพี่ เ� ศษสคู วามเปน การทอ งเทย่ี วอยาง สง เสร�มการมสี ว นรว ม ทเ่ี ปนเลิศในการ ย่งั ยนื โดยชมุ ชน บรห� ารจดั การ พ้�นทต่ี นแบบการ ของทุกภาคใี นการ การทอ งเทีย่ ว ทองเท่ียวอยางยงั่ ยืน ที่ไดม าตรฐาน จัดการการทอ งเท่ยี ว C

แผนขับเคลอื่ นองคก ารบรห� ารการพฒั นาพ้�นทีพ่ เ� ศษเพ�่อการทอ งเทย่ี วอยา งย่งั ยนื (องคการมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคก ารบรห� ารการพฒั นาพน�้ ท่ีพ�เศษเพ่อ� การทอ งเที่ยวอยางย่งั ยืน (องคการมหาชน) สารบัญ เร่ือง หนา้ ส่วนท่ี 1 บทน�ำ 1 ส่วนท่ี 2 บทบาทและภารกจิ ของ อพท. 4 ความเปน็ มา 5 วตั ถปุ ระสงค/์ อ�ำ นาจหน้าท่ีในการดำ�เนินงานของ อพท. 6 โครงสร้างการบริหารงาน 8 แนวทางในการด�ำ เนินงาน 9 ส่วนที่ 3 นโยบายและแผนท่ีเกย่ี วข้อง 12 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ป ี 13 ประเด็นปฏิรปู 16 แผนแมบ่ ทเพอื่ บรรลเุ ป้าหมายตามยุทธศาสตรช์ าติ ประเดน็ สร้างความหลากหลายดา้ นการทอ่ งเท่ียว (พ.ศ. 2561 - 2565) 18 แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2561 - 2565) 19 แผนพฒั นาการท่องเทยี่ วแหง่ ชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2560 - 2564) 22 แผนยุทธศาสตรอ์ งคก์ ารบริหารการพฒั นาพ้ืนท่พี ิเศษเพ่ือ การทอ่ งเท่ียวอยา่ งยงั่ ยืน (องคก์ ารมหาชน) พ.ศ. 2560 - 2563 25 แผนปฏบิ ตั กิ ารการพัฒนาและส่งเสรมิ การท่องเท่ียวในเขตพัฒนา พเิ ศษภาคตะวนั ออก 26 ส่วนที่ 4 แผนขับเคลอื่ นองคก์ ารบรหิ ารการพฒั นาพน้ื ทีพ่ เิ ศษเพ่ือการท่องเทยี่ ว อยา่ งยงั่ ยืน (องคก์ ารมหาชน) ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2562 - 2565) 34 จุดเน้นการดำ�เนนิ งานของ อพท. ในชว่ งปี 2562 - 2565 44 กลไกการบริหารจดั การแผนเพื่อใหแ้ ผนบรรลุผล ตามวัตถุประสงค/์ เป้าหมาย 46 สว่ นท่ี 5 แผนปฏิบตั ิการ อพท. พ.ศ. 2562 - 2565 47 ภาคผนวก 66 D

แผนขบั เคล่อื นองคการบรห� ารการพฒั นาพ�น้ ท่พี เ� ศษเพ่อ� การทองเที่ยวอยางย่งั ยนื (องคก ารมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคก ารบรห� ารการพฒั นาพ้น� ที่พเ� ศษเพ�อ่ การทองเที่ยวอยา งยั่งยนื (องคก ารมหาชน) บทนำ� 1

แผนขบั เคลอ่ื นองคการบร�หารการพัฒนาพ�น้ ทพี่ �เศษเพ�อ่ การทอ งเทยี่ วอยา งยัง่ ยืน (องคการมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคก ารบร�หารการพฒั นาพน�้ ทพี่ เ� ศษเพอ�่ การทองเทีย่ วอยางย่งั ยืน (องคก ารมหาชน) สว่ นท่ี 1 บทน�ำ องค์การบริหารการพัฒนาพ้ืนท่ีพิเศษเพ่ือการ ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 อพท. ได้มีการ ท่องเท่ยี วอย่างยงั่ ยืน (องค์การมหาชน) หรือ อพท. ทบทวนปรับปรุงแก้ไขพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง จัดต้ังข้ึนตามพระราชกฤษฎีกาจัดต้ังองค์การ องคก์ ร และปรบั ปรงุ โครงสรา้ งองค์กรใหม่ รวมทัง้ บริหารการพัฒนาพื้นท่ีพิเศษเพ่ือการท่องเที่ยว การปรับบทบาทภารกิจให้สอดคล้องกับนโยบาย อยา่ งยั่งยืน (องคก์ ารมหาชน) พ.ศ. 2546 โดยมี รัฐบาล มตคิ ณะรัฐมนตรเี ม่อื วันที่ 24 กรกฎาคม เป้าหมายการทำ�งานเป็นไปตามนโยบายรัฐบาล 2560 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) ท่ีจะพัฒนาการท่องเท่ียวเพ่ือเพ่ิมรายได้และ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 กระจายรายได้ไปสู่ชุมชนท้องถิ่น โดยให้ อพท. (พ.ศ. 2561 – 2565) แผนพัฒนาการท่องเที่ยว มีบทบาทในการบริหารและพัฒนาพ้ืนที่เพื่อการ แหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ. 2560 - 2564) Sustainable ทอ่ งเทย่ี วในเชงิ บรู ณาการเปน็ องคก์ รกลางท�ำ หนา้ ท่ี Development Goals : SDG เป้าหมายการ ก�ำ หนดนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ ประสานงาน พัฒนาอย่างยั่งยืน แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยว กบั ทอ้ งถน่ิ หรอื พน้ื ทท่ี เ่ี ปน็ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วหรอื สง่ เสรมิ ในเขตพฒั นาการทอ่ งเทยี่ ว รวมท้งั การดำ�เนนิ งาน และพัฒนาพื้นท่ีที่มีศักยภาพในการท่องเที่ยว ในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวในปัจจุบัน อพท. จึง ให้มีการบริหารจัดการพื้นที่เพ่ือการท่องเท่ียว จ�ำ เปน็ ตอ้ งมกี ารทบทวนและจดั ท�ำ แผนยทุ ธศาสตร์ ในเชิงคุณภาพ ระดมบุคลากร งบประมาณ และ องค์กรฉบับใหม่ จากแผนยุทธศาสตร์ อพท. เครื่องมือเครื่องใช้มาใช้ในการบริหารจัดการ พ.ศ. 2560 - 2563 เพื่อทบทวนและปรับปรุง การท่องเที่ยวอย่างมีเอกภาพ และแก้ไขปัญหา แผนงาน/โครงการ ให้มีความสอดคลอ้ งกบั ภารกิจ โดยรวดเร็วและส่งเสริมให้มีการนำ�ความรู้ด้านการ ขององค์กรมากยิ่งขึ้น “แผนขับเคลื่อนองค์การ บริหารจัดการสมัยใหม่มาใช้เพ่ือให้บรรลุผลตาม บริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพ่ือการท่องเท่ียว เป้าหมายที่วางไว้ อยา่ งย่งั ยนื (องคก์ ารมหาชน) ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2562 - 2565)” มุ่งเน้นให้เกิดการขับเคลื่อนการ พฒั นาการทอ่ งเทย่ี วอยา่ งยง่ั ยนื อยา่ งแทจ้ รงิ ภายใต้ การน้อมนำ�ศาสตร์พระราชามาประยุกต์ใช้กับการ พฒั นา ทใ่ี หป้ ระชาชนและชมุ ชนไดเ้ ขา้ มามสี ว่ นรว่ ม ในการพฒั นาและรว่ มรับผลประโยชน์อย่างแท้จริง 2

แผนขับเคลื่อนองคการบรห� ารการพัฒนาพ�้นทพี่ เ� ศษเพ่�อการทอ งเทย่ี วอยางย่งั ยืน (องคก ารมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคการบร�หารการพฒั นาพ�้นท่พี เ� ศษเพ่อ� การทอ งเที่ยวอยา งยง่ั ยืน (องคการมหาชน) “แผนขับเคลื่อน อพท. ระยะ 4 ปี (พ.ศ. ซึ่งสอดคล้องตามจุดเน้นของแผนแม่บทภายใต้ 2562 - 2565)” มีวิสัยทัศน์ในการดำ�เนินงานว่า ยุทธศาสตร์ชาติ โดย อพท. จะทำ�หนา้ ทเ่ี ปน็ องคก์ ร “เป็นองค์กรแห่งความเป็นเลิศด้านการพัฒนา กลางในการประสาน สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ทกุ ภาคี การท่องเท่ียวอย่างยั่งยืนเพื่อสร้างชุมชนแห่ง การพฒั นาใหเ้ ขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการบรหิ ารจดั การ ความสุข” สำ�หรับพันธกิจทต่ี ้องดำ�เนนิ การในชว่ ง พื้นที่เพื่อการท่องเที่ยวในเชิงบูรณาการ และ ถึงปี 2565 ประกอบดว้ ย 1) พัฒนาพ้ืนทตี่ ้นแบบ ประสานงานกบั องค์กรปกครองท้องถน่ิ หรือพ้ืนท่ี เพื่อสรา้ งการท่องเทย่ี วโดยชุมชน 2) พฒั นาการ ทเ่ี ป็นแหล่งทอ่ งเท่ยี ว เพอื่ พัฒนาพืน้ ทีท่ ม่ี ศี ักยภาพ บรหิ ารจัดการการทอ่ งเท่ยี วโดยชมุ ชน 3) สง่ เสริม ในการท่องเที่ยว ให้มีการบริหารจัดการพื้นที่เพื่อ การท่องเทย่ี วสร้างสรรค์เสริมสร้างเศรษฐกจิ ชุมชน การท่องเที่ยวในเชิงคุณภาพ ด้วยกระบวนการมี และ 4) บูรณาการร่วมกับทุกภาคีเพื่อพัฒนาขีด ส่วนรว่ มแบบ Co - Creation การทอ่ งเทีย่ วท่ีเปน็ ความสามารถในการบรหิ ารจดั การการทอ่ งเทย่ี วโดย มิตรกับสิ่งแวดล้อม (Low Carbon Tourism) “แผนขบั เคลอ่ื นอพท.ระยะ4ปี(พ.ศ.2562-2565)” การทอ่ งเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ (Creative Tourism) ประกอบดว้ ย 4 ประเดน็ ยทุ ธศาสตรก์ ารด�ำ เนนิ งาน ในพน้ื ท่พี เิ ศษท้ัง 6 แห่ง ได้แก่ พ้ืนท่พี ิเศษหมู่เกาะ ประกอบด้วย 1) บริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษ ช้างและพนื้ ทเ่ี ช่ือมโยง พนื้ ท่ีพเิ ศษเมอื งพทั ยาและ สู่ความเป็นต้นแบบการท่องเท่ียวอย่างยั่งยืน พ้ืนท่ีเชื่อมโยงพ้ืนท่ีพิเศษอุทยานประวัติศาสตร์ 2) พัฒนาและส่งเสรมิ ต้นแบบการท่องเท่ียวอยา่ ง สุโขทัย - ศรีสัชนาลัย - กำ�แพงเพชร พื้นที่พิเศษ ยง่ั ยนื โดยชมุ ชนทไ่ี ดม้ าตรฐาน3)บรู ณาการประสาน เลย พ้นื ที่พเิ ศษเมืองเกา่ น่าน และพน้ื ทพ่ี ิเศษเมือง และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคีในการ โบราณอูท่ อง ภายใต้กรอบการบริหารจัดการตาม จัดการการทอ่ งเทย่ี ว และ 4) ขบั เคล่ือนส่อู งค์กร เกณฑ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลก (Global ทีเ่ ปน็ เลศิ ในการบรหิ ารจดั การการท่องเท่ียว โดย Sustainable Tourism Criteria) หรือ GSTC มีเป้าหมายและแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยว ของสภาการท่องเที่ยวโลก ซึ่งจะก้าวขึ้นเป็นผู้นำ� อย่างย่ังยืนเชื่อมโยงพ้ืนท่ีพัฒนาที่สำ�คัญเพื่อ ในด้านการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างย่ังยืนของ สร้างความสมดุลทางสังคมและส่ิงแวดล้อม ภมู ภิ าค 3

แผนขบั เคลอื่ นองคการบร�หารการพฒั นาพ�น้ ท่พี �เศษเพ�่อการทอ งเทยี่ วอยางยัง่ ยืน (องคการมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคก ารบร�หารการพฒั นาพน้� ทพ่ี เ� ศษเพอ่� การทอ งเท่ียวอยางยงั่ ยืน (องคการมหาชน) อพท.ภบทารบกาจิทขแอลงะ 4

แผนขับเคลื่อนองคก ารบร�หารการพัฒนาพ�น้ ท่ีพเ� ศษเพอ่� การทองเท่ยี วอยา งยง่ั ยืน (องคก ารมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคก ารบร�หารการพัฒนาพน�้ ท่ีพเ� ศษเพอ�่ การทองเทีย่ วอยา งยง่ั ยนื (องคการมหาชน) สว่ นท่ี 2 บทบาทและภารกิจของ อพท. ความเปน็ มา มีการนำ�ความรู้ด้านการบริหารจัดการสมัยใหม่ มาใช้เพอื่ ใหบ้ รรลุผลตามเป้าหมายท่ีวางไว้สมควร พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การบริหารการ จัดตั้งองค์การบริหารการพัฒนาพื้นท่ีพิเศษเพื่อ พัฒนาพ้ืนท่ีพิเศษเพ่ือการท่องเที่ยวอย่างย่ังยืน การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนข้ึนเป็นองค์การมหาชน (องคก์ ารมหาชน) หรือ อพท. ประกาศในราชกจิ ตามกฎหมายว่าด้วยองค์การมหาชนเพื่อปฏิบัติ จานุเบกษา เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2546 หน้าท่แี ละจัดท�ำ ภารกจิ ดงั กล่าว ได้กำ�หนดให้ อพท. เป็นองค์การมหาชนที่มี อพท. มีเป้าหมายการทำ�งานให้เป็นไปตาม บทบาทหน้าท่ีดำ�เนินงานอย่างหลากหลายด้าน นโยบายรัฐบาลที่พัฒนาการท่องเที่ยวเพ่ือเพิ่มราย การท่องเท่ียวอย่างย่ังยืนในการประสานงานให้ ได้และกระจายรายได้ไปสู่ชุมชนท้องถิ่น ภายใต้ เกิดการบรู ณาการ การบรหิ ารการพฒั นาพื้นทท่ี ่ีมี กรอบนโยบายในการบรหิ ารการพฒั นาพื้นที่พิเศษ ทรัพยากรการท่องเที่ยวที่ทรงคุณค่า โดยมีความ เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน โดยรักษาให้เกิด คล่องตัวและรวดเร็วในการดำ�เนินงานมากกว่า ความสมดุล 3 มิติ ทัง้ ดา้ นเศรษฐกจิ สังคม และ ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจซ่ึงจะมีแรงขับเคล่ือน ส่ิงแวดลอ้ ม ด้วยกระบวนการมสี ่วนรว่ ม ที่สำ�คัญในการบริหารการพัฒนาอุตสาหกรรมการ ท่องเท่ยี วของประเทศทั้งระยะสนั้ และระยะยาว เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกา ฉบบั น้ี คอื โดยทรี่ ฐั บาลมีนโยบายทีจ่ ะพัฒนาการ ท่องเท่ียวเพื่อเพ่ิมรายได้และกระจายรายได้ไปสู่ ชุมชนท้องถ่นิ โดยให้มกี ารบรหิ ารและพัฒนาพื้นที่ เพือ่ การทอ่ งเทย่ี วในเชงิ บรู ณาการ มีองค์กรกลาง ทำ�หน้าที่กำ�หนดนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ และประสานงานกับท้องถิ่นหรือพื้นที่ที่เป็นแหล่ง ทอ่ งเทย่ี ว หรอื สง่ เสรมิ และพฒั นาพน้ื ทท่ี ม่ี ศี กั ยภาพ ในการท่องเที่ยวให้มีการบริหารจัดการพ้ืนท่ีเพ่ือ การท่องเท่ียวในเชงิ คณุ ภาพ รวมทงั้ สามารถระดม บุคลากร งบประมาณ และเครอ่ื งมอื เครอ่ื งใช้มาใช้ ในการบริหารจัดการการท่องเที่ยวอย่างมีเอกภาพ และแก้ไขปัญหาโดยรวดเร็ว ตลอดจนส่งเสริมให้ 5

แผนขบั เคลอ่ื นองคการบรห� ารการพัฒนาพ้น� ที่พเ� ศษเพ�อ่ การทองเท่ียวอยางยัง่ ยนื (องคการมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคก ารบรห� ารการพัฒนาพน้� ท่พี เ� ศษเพ่อ� การทอ งเท่ียวอยางยัง่ ยนื (องคก ารมหาชน) วตั ถปุ ระสงค์/อำ�นาจหนา้ ท่ีในการดำ�เนนิ งานของ อพท. 1. ประสานงานการบริหารจัดการการท่องเที่ยวระหว่าง ส่วนราชการ รัฐวสิ าหกิจ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐที่มีอำ�นาจหน้าที่ หรือได้รับ มอบหมายให้บริหารจัดการการท่องเท่ียวไม่ว่าในระดับ ชาติ ระดับภูมิภาค หรอื ระดบั ทอ้ งถิน่ 2. ประสานงานการใช้อำ�นาจหน้าท่ีของส่วนราชการ รัฐวิสาหกจิ องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่นหรอื หน่วยงาน อ่นื ของรัฐท่มี ีอำ�นาจหน้าท่เี ก่ยี วกับการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ชมุ ชน ผังเมอื ง สง่ิ แวดลอ้ ม การทอ่ งเทย่ี ว หรอื การรกั ษาความสงบเรียบร้อย เพือ่ บูรณาการการบริหาร จดั การการทอ่ งเที่ยวอย่างยั่งยนื 3. ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการพัฒนาและรักษา ส่ิงแวดล้อมเพอื่ การท่องเท่ียวอย่างยัง่ ยนื 4. ส่งเสริมการใช้ศกั ยภาพของหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทัง้ ภาครฐั และภาคเอกชนในการพัฒนาตลาดการท่องเที่ยว 5. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนและชุมชนเข้ามา มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว ในพืน้ ท่ีชมุ ชนทอ้ งถิ่นของตน 6. ส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และชมุ ชนทอ้ งถิน่ จดั ให้มกี ารบ�ำ รุงรักษาศิลปะ จารตี ประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือวัฒนธรรมอันดีงาม ของท้องถน่ิ 7. สง่ เสรมิ การจดั ทำ�ข้อมูลสารสนเทศ และการวิจัยเกีย่ วกับ การท่องเที่ยวและพัฒนากลไกการบริหารจัดการองค์ ความร้ดู า้ นการท่องเท่ยี วทัง้ ในและต่างประเทศ รวมท้ัง พัฒนาต้นแบบหรือศูนย์เรียนรู้ด้านการพัฒนาการ ทอ่ งเที่ยว 8. สง่ เสรมิ การพฒั นาพน้ื ทท่ี ม่ี ศี กั ยภาพในดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว เพื่อให้เกิดการจ้างงานและยกระดับคุณภาพชีวิต และ ความเป็นอย่แู หง่ ทอ้ งถ่นิ ให้ดขี น้ึ 9. ดำ�เนินการในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวหรือแหล่ง ท่องเท่ียวตามท่ีคณะกรรมการนโยบายการท่องเท่ียว แห่งชาติมอบหมาย 6

แผนขับเคล่อื นองคก ารบรห� ารการพฒั นาพ�้นที่พ�เศษเพ�อ่ การทอ งเที่ยวอยางยั่งยนื (องคการมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคก ารบรห� ารการพฒั นาพ้�นทีพ่ �เศษเพ�อ่ การทอ งเที่ยวอยา งย่งั ยนื (องคการมหาชน) อ�ำ นาจหนา้ ทขี่ อง อพท. ประสาน สงเสรม� สนบั สนุน เลขานกุ าร คณะกรรมการ ประสานภาคี พัฒนาการ ทกุ ภาคสวนในการ ทำงานรว มกนั เพ่�อ ทองเที่ยว พฒั นาการทอ งเที่ยว สงเสรม� องคก ร สนับสนนุ Best Practice ใหคำแนะนำ เสนอแนะ อยางยัง่ ยนื ปกครองสว นทอ งถิ�น ผานการจัดสรรทนุ มรษุ ย (Advise) ชมุ ชนเจาของทรัพยากร ตดิ ตามประเมนิ ผล การทอ งเทยี่ วใหมี ทุนงบประมาณ (Monitor) ศกั ยภาพในการบรห� าร องคค วามรู รายงานผล จัดการการทองเทีย่ ว เพ�อ่ เปา หมายของ (Report) การทอ งเทยี่ วอยางย่ยั ืน อยา งยงั่ ยืน 7

แผนขบั เคล่ือนองคก ารบร�หารการพฒั นาพ้�นทีพ่ �เศษเพ่อ� การทอ งเท่ยี วอยางย่ังยนื (องคก ารมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคก ารบรห� ารการพฒั นาพน้� ทพ่ี �เศษเพอ่� การทองเทีย่ วอยา งยงั่ ยืน (องคก ารมหาชน) โครงสร้างการบริหารงาน กพท. คณะกรรมการการตรวจสอบ สำนักงานตรวจสอบภายใน อพท. สำนกั งานพน�้ ทีพ่ �เศษ (9 แหง 1 สาขา) งานประชาสัมพันธ ฝา ยปฎบิ ตั ิงาน ฝายอำนวยการ สำนกั สำนกั สำนกั พัฒนา สำนกั ทองเทยี่ ว ศูนยแหงความ บร�หารกลาง บร�หารยุทธศาสตร ข�ดความสามารถ โดยชมุ ชน เปนเลิศดานการ ทองเที่ยวอยา งยงั่ ยืน การทอ งเทีย่ ว งานการเงน� และการบญั ชี งานแผนยทุ ธศาสตร งานทอ งเที่ยวเชงิ งานองคความรแู ละพฒั นา งานบรห� ารทรพั ยากรบคุ คล งานแผนปฏบิ ตั กิ ารและ งานขอมลู สารสนเทศ สรา งสรรค หลักสตู ร งานกฎหมายและพสั ดุ แผนงบประมาณ การทองเทย่ี ว งานเสร�มสรางศกั ยภาพ งานพฒั นาความรว มมอื งานเทคโนโลยีสารสนเทศ งานตดิ ตามและประมวนผล งานพัฒนานวตั กรรม การทองเทย่ี ว และสง เสรม� การเร�ยนรู งานบร�หารทัว่ ไป งานบรห� ารความเสี่ยง การทอ งเทีย่ ว งานบรห� ารภาคเี คร�อขา ย งานถายทอดองคค วามรู งานสื่อสารภายใน และควบคมุ ภายใน งานมาตรฐานการ งานยกระดบั การทองเท่ยี ว และใหคำปรก� ษา งานวเ� ทศสมั พนั ธ ทอ งเที่ยวอยางยงั ยื่น โดยชมุ ชน งานประเมนิ ข�ดความ สามารถในการรองรับ 8

แผนขบั เคลอ่ื นองคการบรห� ารการพัฒนาพน�้ ทพี่ เ� ศษเพ�่อการทองเท่ียวอยา งย่ังยืน (องคก ารมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคก ารบรห� ารการพฒั นาพ�น้ ท่พี �เศษเพ่อ� การทอ งเที่ยวอยา งย่งั ยนื (องคก ารมหาชน) แนวทางในการดำ�เนนิ งาน อพท. บรู ณาการงานพัฒนาการท่องเทยี่ วให้เกิดความ ยั่งยืน ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมแบบ Co-Creation “ร่วมคดิ ร่วมวางแผน ร่วมปฏิบตั ิ รว่ มรบั ผิดชอบ และ ร่วมรับประโยชน์” กับภาคีเครือข่ายการพัฒนาทั้งในและ ต่างประเทศ อพท. ได้ปรับเพิ่มบทบาทและมุ่งเน้นภารกิจ ดำ�เนินงานการพัฒนาการท่องเท่ียวเพื่อสนองตอบต่อ นโยบายรัฐบาล “มนั่ คง มั่งค่ัง ย่ังยนื ” โดยการพัฒนาการ ทอ่ งเทย่ี วทต่ี อบสนองนโยบาย “มน่ั คง” นน้ั อพท. ไดพ้ ฒั นา และฟื้นฟแู หล่งท่องเที่ยวทสี่ �ำ คญั ของประเทศ รวมทัง้ แหล่ง ท่องเที่ยวใหม่ และเร่งดำ�เนินงานตามแผนการขับเคลื่อน โครงการภายใต้แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่พิเศษ ในด้านการพัฒนาที่ตอบสนองนโยบาย “มั่งคั่ง” อพท. ได้ดำ�เนินกลยุทธ์ใหม่ทางการตลาดเพื่อยกระดับตลาด นักท่องเที่ยวที่มีศักยภาพ ด้วยนโยบายการท่องเที่ยวเชิง สร้างสรรค์ (Creative Tourism) และนโยบายการท่องเท่ียว แบบคาร์บอนต�ำ่ (Low Carbon Tourism) สว่ นในด้าน การพฒั นาท่ีตอบสนองนโยบาย“ยัง่ ยนื ”อพท.ได้สนับสนนุ การพัฒนาคุณภาพของบุคลากรและผู้ประกอบการใน อตุ สาหกรรมทอ่ งเทย่ี ว ตลอดจนด�ำ เนนิ งานตามเปา้ ประสงค์ การเปน็ Center of Excellence ดา้ นการทอ่ งเทีย่ วอย่าง ยั่งยืนที่ได้รับการยอมรับ และเพื่อสนองตอบต่อนโยบาย ของรฐั บาลทต่ี อ้ งการใหอ้ ตุ สาหกรรมทอ่ งเทย่ี วเปน็ เครอ่ื งมอื ในการ “แก้ไขปัญหาความยากจน ลดความเหลื่อมล้ำ� ทางสังคม” และ “ยกระดับเศรษฐกิจของประเทศ” อีกทั้งจุดยืนการทำ�งานของ อพท. ดังกล่าวยังสอดคล้อง และสนองตอบต่อแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ในยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมและ ลดความเหลื่อมล้ำ�ในสังคม มากกว่ายุทธศาสตร์การสร้าง ความเขม้ แข็งทางเศรษฐกิจใหส้ ามารถแข่งขนั ไดอ้ ย่างยั่งยนื 9

องคก ารบรห� ารการพัฒนาพ้�นท่ีพ�เศษเพ่�อการทอ งเท่ียวอยา งยงั่ ยืน (องคการมหาชน) แผนขบั เคล่ือนองคการบรห� ารการพัฒนาพน�้ ทีพ่ เ� ศษเพ�่อการทอ งเทีย่ วอยา งยั่งยืน (องคก ารมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) บร�บทการพัฒนาและบร�หารจัดการ การทอ งเท่ยี วอยางย่งั ยืนโดยชมุ ชน แบบ อพท. การจดั การ การจดั การทอ งเทยี่ ว การทองเท่ียวอยางยงั่ ยนื โดยการมีสวนรวม ของทุกภาคสวน ตามเกณฑ GSTC (Co-Creation) ทองเท่ยี วภายใตข �ดความสามารถ บูรณาการความรวมมอื และการมสี ว นรวม ในการรองรบั ของทุกภาคี การทอ งเทยี่ วทสี่ มดุลกับส�งิ แวดลอ ม ความเปนเอกภาพในการพฒั นาการทอ งเท่ียว สงั คม และวัฒนธรรม ความเขมแข็งของชมุ ชนในการจัดการทองเที่ยว ความย่ังยืนของทรพั ยากรการทอ งเที่ยว การบร�การทอ งเทย่ี วทเ่ี ปนมิตรกับส�งิ แวดลอม การสงเสรม� การบร�หารจดั การเพ่อ� ไปสู การทอ งเทยี่ วเชิงสรา งสรรค Creative City (Creative Tourism) การจดั การทองเท่ียว แบบมสี ว นรว มของชมุ ชน อตั ลกั ษณแ ละความโดดเดนท่มี ีคณุ คา (Community-Based ทางการทองเทยี่ ว คุณคา และมลู คาเพม�่ ของการทองเทีย่ ว Approach) รายไดจากการทองเที่ยวเพม่� ข�้น การตอ ยอด Creative Tourism สรางภาคเี ครอ� ขายการทอ งเทีย่ วโดยชมุ ชน สู Creative City การทองเทยี่ วโดยชมุ ชนทีส่ อดคลองกับมาตรฐาน กระจายผลประโยชนจากการทองเทีย่ ว สรางโอกาสทางเศรษฐกิจของชมุ ชน ลดความเหล่อื มลำ้ ทางรายได การทอ งเทยี่ วอยา งยง่ั ยืน (Sustainable Tourism) 10

แผนขบั เคลื่อนองคก ารบรห� ารการพฒั นาพน�้ ท่พี เ� ศษเพ่�อการทอ งเท่ยี วอยา งยง่ั ยืน (องคก ารมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคก ารบรห� ารการพฒั นาพ้น� ทพ่ี �เศษเพอ่� การทอ งเทย่ี วอยางยง่ั ยนื (องคก ารมหาชน) พ้�นทด่ี ำเนินงาน ของ อพท. 6 5 42 7 3 เขตพัฒนาการทอ งเทย่ี ว 1 8 เขตพัฒนาการทอ งเท่ียวอารยธรรมอีสานใต 9 เขตพัฒนาการทอ งเที่ยวฝง ทะเลตะวนั ออก เขตพฒั นาการทอ งเท่ยี วมรดกโลกดา นวฒั นธรรม เขตพฒั นาการทอ งเท่ียววิถชี ีวติ ลมุ แมน ํ้าโขง เขตพัฒนาการทองเท่ียวอารยธรรมลานนา เขตพัฒนาการทองเทีย่ ววถิ ชี วี ติ ลมุ แมน าํ้ เจา พระยาตอนกลาง เขตพฒั นาการทอ งเท่ยี วฝง ทะเลตะวันตก เขตพฒั นาการทองเทย่ี วอันดามัน 1 คงุ บางกระเจา 2 อารายธรรมอสิ านใต 3 ฝง ทะเลตะวนั ออก 4 มรดกโลกดา นวัฒนธรรม 5 วิถีชีวิตลุม นํ้าโขง 6 อารยธรรมลา นนา 7 ลุมนา้ํ เจา พระยาตอนกลาง 8 ฝง ทะเลตะวันตก 9 อันดามนั และหมเู กาะทะเลใต พ�้นท่ีดำเนินงานตามภารกิจเชงิ นโยบาย พน้ื ท่โี ครงขายสเ่ี หลย่ี มวฒั นธรรมลานชา ง พืน้ ทโี่ ครงขายสามเหล่ียมมรกต พ้ืนท่ีพฒั นาระเบียงเศรษฐกิจพเิ ศษภาคตะวันออก พน้ื ทโ่ี ครงขา ยลาํ นํา้ คลองดาํ เนินสะดวก พนื้ ทโี่ ครงขาย Thailand Riviera พืน้ ที่พัฒนาชายแดนใต 11

แผนขับเคลอ่ื นองคก ารบรห� ารการพฒั นาพน้� ทีพ่ �เศษเพอ่� การทอ งเทีย่ วอยางยั่งยนื (องคก ารมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคก ารบรห� ารการพัฒนาพ�้นทีพ่ �เศษเพอ�่ การทองเทย่ี วอยา งยง่ั ยืน (องคการมหาชน) นโยบายและ แผนทเ่ี กยี่ วขอ้ ง 12

แผนขบั เคล่อื นองคการบร�หารการพัฒนาพ้�นทพ่ี เ� ศษเพ�่อการทองเทย่ี วอยา งยั่งยืน (องคการมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคก ารบรห� ารการพฒั นาพ�้นท่พี เ� ศษเพ่อ� การทอ งเทยี่ วอยา งยั่งยนื (องคก ารมหาชน) ส่วนท่ี 3 นโยบายและแผนท่ีเกีย่ วขอ้ ง ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) เป็น ยุทธศาสตร์ชาติฉบับแรกของประเทศไทยตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งจะนำ�ไปสู่การปฏิบัติเพื่อให้ประเทศไทยบรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศ พฒั นาแลว้ ดว้ ยการพฒั นาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง”ภายในชว่ งเวลาดังกลา่ วเพ่อื ความสุขของคนไทย ทกุ คนโดยมเี ป้าหมายการพฒั นาประเทศ คอื “ประเทศชาติ มั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจ พัฒนาอย่าง ต่อเนื่อง สงั คมเปน็ ธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาตยิ ง่ั ยนื ” โดยยกระดบั ศกั ยภาพของประเทศในหลากหลายมติ ิ พฒั นา คนในทุกมติ ิและในทุกช่วงวัยให้เปน็ คนดี เกง่ และมีคณุ ภาพ สรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม สร้างการเตบิ โต บนคุณภาพชีวิตทเี่ ปน็ มิตรกับสงิ่ แวดลอ้ ม และมีภาครัฐของ ประชาชนเพื่อประชาชนและประโยชน์ส่วนรวมโดยการ ประเมินผลการพฒั นาตามยุทธศาสตรช์ าติประกอบดว้ ย 1. ความอย่ดู ีมีสขุ ของคนไทยและสงั คมไทย 2. ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั การพัฒนา เศรษฐกจิ และการกระจายรายได้ 3. การพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์ของประเทศ 4. ความเทา่ เทียมและความเสมอภาคของสังคม 5. ความหลากหลายทางชวี ภาพ คุณภาพสง่ิ แวดลอ้ ม และความยัง่ ยนื ของทรพั ยากรธรรมชาติ 6. ประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การและการเขา้ ถงึ การใหบ้ รกิ ารของภาครฐั 13

แผนขบั เคลอ่ื นองคการบรห� ารการพฒั นาพ�้นทีพ่ �เศษเพอ�่ การทองเที่ยวอยางยัง่ ยืน (องคก ารมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคก ารบร�หารการพฒั นาพน�้ ทพี่ เ� ศษเพอ่� การทอ งเที่ยวอยางยั่งยนื (องคการมหาชน) ยทุ ธศาสตร์ชาติทเ่ี กย่ี วข้อง กบั การบริหารจัดการโดย อพท. ประกอบด้วย ยทุ ธศาสตร์ชาติดา้ นการสรา้ งความ ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ า้ นการสร้างโอกาส สามารถในการแข่งขัน และความเสมอภาคทางสังคม มีเป้าหมายการพัฒนาท่ีมุ่งเน้นการยกระดับ มีเป้าหมายการพัฒนาท่สี ำ�คัญท่ใี ห้ความสำ�คัญ ศกั ยภาพของประเทศในหลากหลายมติ ิ บนพน้ื ฐาน การดึงเอาพลังของภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งภาคเอกชน แนวคิด 3 ประการ ได้แก่ (1) “ต่อยอดอดีต” ประชาสังคม ชุมชน ท้องถิ่น มาร่วมขับเคลื่อน โดยมองกลบั ไปที่รากเหงา้ ทางเศรษฐกิจอตั ลักษณ์ โดยการสนับสนุนการรวมตัวของประชาชนในการ วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต และจุดเด่นทาง รว่ มคดิ รว่ มท�ำ เพอ่ื สว่ นรวม การกระจายอ�ำ นาจและ ทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลาย รวมทั้งความ ความรับผิดชอบไปสู่กลไกบริหารราชการแผ่นดิน ไดเ้ ปรยี บเชิงเปรียบเทียบของประเทศในดา้ นอืน่ ๆ ในระดับท้องถิ่น การเสริมสร้างความเข้มแข็งของ นำ�มาประยุกต์ผสมผสานกับเทคโนโลยีและ ชุมชนในการจัดการตนเอง และการเตรียมความ นวัตกรรม เพื่อให้สอดรับกับบริบทของเศรษฐกิจ พร้อมของประชากรไทยทั้งในมิติสุขภาพ สังคม และสังคมโลกสมัยใหม่ (2) “ปรับปัจจุบัน” เพื่อ เศรษฐกิจและสภาพแวดล้อม ให้เป็นประชากร ปูทางสู่อนาคต ผ่านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ที่มีคุณภาพ สามารถพึ่งตนเองและทำ�ประโยชน์ ของประเทศในมติ ติ า่ ง ๆ ทง้ั โครงขา่ ยระบบคมนาคม แก่ครอบครวั ชุมชน และสังคมให้นานท่ีสุด โดยรฐั และขนสง่ โครงสรา้ งพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยี ให้หลักประกันการเข้าถึงบริการและสวัสดิการที่มี และดิจทิ ลั และการปรบั สภาพแวดลอ้ มให้เอื้อตอ่ คณุ ภาพอยา่ งเปน็ ธรรมและท่วั ถงึ การพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการอนาคต และ (3) “สร้างคุณค่าใหม่ในอนาคต” ด้วยการเพิ่ม ศักยภาพของผู้ประกอบการ พัฒนาคนรุ่นใหม่ รวมถึงปรับรูปแบบธุรกิจ เพื่อตอบสนองต่อความ ต้องการของตลาด ผสมผสานกับยุทธศาสตร์ที่ รองรับอนาคต บนพื้นฐานของการต่อยอดอดีต และปรบั ปจั จบุ นั พรอ้ มทง้ั การสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ จากภาครฐั ใหป้ ระเทศไทยสามารถสรา้ งฐานรายได้ และการจ้างงานใหม่ ขยายโอกาสทางการค้าและ การลงทุนในเวทีโลกควบคู่ไปกับการยกระดับราย ไดแ้ ละการกนิ ดอี ยู่ดี รวมถงึ การเพมิ่ ข้นึ ของคนชน้ั กลางและลดความเหล่ือมล้ำ�ของคนในประเทศได้ ในคราวเดียวกนั 14

แผนขบั เคล่อื นองคการบร�หารการพฒั นาพ�น้ ท่พี �เศษเพ�่อการทองเทีย่ วอยางยัง่ ยืน (องคก ารมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคการบรห� ารการพฒั นาพ้�นที่พเ� ศษเพ�อ่ การทอ งเที่ยวอยา งยง่ั ยืน (องคการมหาชน) ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นการปรับสมดุลและ พฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการภาครัฐ มเี ปา้ หมายการพฒั นาท่สี ำ�คัญเพ่อื ปรับเปลย่ี น ภาครัฐที่ยึดหลัก “ภาครัฐของประชาชนเพื่อ ประชาชน และประโยชน์ส่วนรวม” โดยภาครัฐ ตอ้ งมขี นาดทเ่ี หมาะสมกบั บทบาทภารกจิ แยกแยะ บทบาทหน่วยงานของรัฐที่ทำ�หน้าท่ีในการกำ�กับ หรือในการให้บริการในระบบเศรษฐกิจท่ีมีการ แข่งขันมีขีดสมรรถนะสูง ยึดหลักธรรมาภิบาล ปรับวัฒนธรรมการทำ�งานให้มุ่งผลสัมฤทธ์ิและ ผลประโยชนส์ ่วนรวม มีความทันสมัย และพรอ้ ม ท่ีจะปรับตัวให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงของโลกอยู่ ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนำ�นวัตกรรม เทคโนโลยขี อ้ มลู ขนาดใหญ่ ระบบการท�ำ งานทเ่ี ปน็ ดิจิทัลเข้ามาประยุกต์ใช้อย่างคุ้มค่าและปฏิบัติงาน เทียบได้กับมาตรฐานสากล รวมทั้งมีลักษณะ เปดิ กว้าง เชือ่ มโยงถึงกันและเปดิ โอกาสใหท้ กุ ภาค ส่วนเข้ามามสี ว่ นรว่ ม เพ่ือตอบสนองความตอ้ งการ ของประชาชนไดอ้ ยา่ งสะดวก รวดเรว็ และโปรง่ ใส โดยทกุ ภาคสว่ นในสงั คมตอ้ งรว่ มกนั ปลกู ฝงั คา่ นยิ ม ความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ ความมธั ยสั ถแ์ ละสรา้ งจติ ส�ำ นกึ ในการปฏิเสธไม่ยอมรับการทุจริตประพฤติมิชอบ อย่างสิ้นเชิง นอกจากนั้น กฎหมายต้องมีความ ชัดเจนมีเพียงเท่าทจี่ �ำ เปน็ มีความทันสมัย มีความ เปน็ สากล มปี ระสทิ ธภิ าพ และน�ำ ไปสกู่ ารลดความ เหลื่อมลำ้�และเอ้ือต่อการพัฒนาโดยกระบวนการ ยุติธรรมมีการบริหารที่มีประสิทธิภาพ เป็นธรรม ไม่เลือกปฏบิ ตั ิ และการอำ�นวยความยุติธรรมตาม หลกั นิติธรรม 15

แผนขบั เคลื่อนองคก ารบร�หารการพฒั นาพ้น� ที่พ�เศษเพ่อ� การทอ งเท่ียวอยางยั่งยืน (องคการมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคก ารบรห� ารการพัฒนาพน้� ทพ่ี เ� ศษเพ่อ� การทอ งเที่ยวอยางย่ังยนื (องคการมหาชน) ประเดน็ ปฎริ ปู ประเดน็ ปฏริ ูปเพอ่ื ให้สอดคล้องกับบทบญั ญัตติ ามรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย และเป้าหมาย ในการปรับเปลยี่ นภาครัฐ สู่การเปน็ “ภาครัฐของประชาชน เพือ่ ประชาชน” ตามยุทธศาสตรช์ าติทย่ี ดึ ประชาชนเปน็ ศนู ยก์ ลาง มงุ่ ตอบสนองความตอ้ งการของประชาชน อนั จะสง่ ผลใหภ้ าครฐั ไดร้ บั ความเชอ่ื ถอื ไวว้ างใจจากประชาชน (Public Trust) แผนปฏิรปู ประเทศด้านการบริหารราชการแผ่นดนิ จึงกำ�หนด เร่อื งและประเด็นปฏริ ปู ไว้ 6 ประการ โดยแตล่ ะเรอ่ื งมกี ลยทุ ธ์ แผนและข้ันตอนการดำ�เนนิ การ สรุปได้ ดงั ตอ่ ไปนี้ เรอ่ื งและประเดน็ ปฏิรูปท่ี 1 : บรกิ ารภาครัฐ สะดวก รวดเร็ว และตอบโจทย์ชีวติ ประชาชน ประกอบด้วย 1 กลยุทธ์ ดังนี้ 1. เพม่ิ สมรรถนะของหนว่ ยงานภาครฐั ในการตอบสนองตอ่ ประชาชนในสถานการณห์ รอื ภาวะฉกุ เฉนิ 2. ยกระดับการใหข้ อ้ มูลและใหค้ ำ�ปรกึ ษาจากหนว่ ยงานของรฐั 3. ยกระดบั การให้บรกิ ารประชาชนสกู่ ารบรกิ ารที่เร็วขึน้ งา่ ยขน้ึ และถูกลง (Faster, Easier and Cheaper) เรอื่ งและประเดน็ ปฏริ ปู ที่ 2 : ระบบขอ้ มลู ภาครัฐมมี าตรฐาน ทันสมัย และเช่อื มโยงกนั กา้ วสรู่ ัฐบาลดจิ ทิ ัล ประกอบดว้ ย 3 กลยุทธ์ ดังน้ี 1. บูรณาการและยกระดับโครงสรา้ งพ้ืนฐานรัฐบาลดจิ ทิ ัล 2. น�ำ ระบบดิจทิ ัลมาใช้ในการปฏิบตั งิ าน และการบรหิ ารราชการ 3. บรู ณาการขอ้ มลู ของหน่วยงานภาครัฐเพื่อการบรหิ ารราชการแผ่นดิน เรอื่ งและประเดน็ ปฏิรูปที่ 3 : โครงสร้างภาครัฐกะทดั รัด ปรับตัวได้เรว็ และระบบงานมีผลสัมฤทธิส์ ูง ประกอบดว้ ย 6 กลยุทธ์ ดงั นี้ 1. ปรบั ปรงุ และพฒั นาโครงสรา้ งและระบบบริหารงานของรัฐ 2. เพิ่มประสิทธภิ าพและสร้างความเขม้ แขง็ ของการบรหิ ารจัดการเชิงพ้ืนที่ 3. พัฒนาขดี ความสามารถในการจดั บริการสาธารณะขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ 4. พฒั นาระบบงบประมาณและการคลังภาครัฐเพ่ือเพิม่ ประสิทธิภาพในการบริหารจดั การ 5. สร้างระบบธรรมาภิบาลที่ย่ังยืนในหนว่ ยงานภาครัฐ 6. พฒั นากฎหมายเกย่ี วกบั ระเบยี บบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ใหส้ อดคลอ้ งกบั สถานการณท์ เ่ี ปลย่ี นแปลงไป 16

แผนขับเคลือ่ นองคก ารบร�หารการพฒั นาพน้� ทพ่ี เ� ศษเพ่อ� การทองเทยี่ วอยา งยัง่ ยืน (องคการมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคการบร�หารการพฒั นาพ้น� ท่พี เ� ศษเพอ่� การทอ งเท่ยี วอยา งย่งั ยืน (องคก ารมหาชน) เรอ่ื งและประเดน็ ปฏริ ูปท่ี 4 : กำ�ลังคนภาครัฐมขี นาดที่เหมาะสมและมีสมรรถนะสูง พรอ้ มขบั เคลอ่ื นยทุ ธศาสตร์ชาติ ประกอบดว้ ย 4 กลยทุ ธ์ ดังน้ี 1. จดั กำ�ลังคนใหส้ อดคลอ้ งกบั ความจำ�เปน็ ในการบริการสาธารณะที่สำ�คัญ และขบั เคล่ือนขีดความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ 2. ลดขนาดกำ�ลงั คนและคา่ ใชจ้ ่ายดา้ นบุคคลภาครัฐท่มี ีผลผกู พันภาระงบประมาณในระยะยาว 3. พฒั นาทักษะและสมรรถนะใหมเ่ พอื่ สร้างความพร้อมเชิงกลยุทธ์ใหก้ บั กำ�ลังคนภาครัฐ (New Mindsets and Skillsets) 4. ติดตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผลการใช้กำ�ลังคนในส่วนราชการและหน่วยงานของรฐั (Workforce Audit) เรอื่ งและประเด็นปฏิรูปท่ี 5 : ระบบบรหิ ารงานบุคคลท่ีสามารถดึงดูด สร้างและรกั ษาคนดี คนเกง่ ไว้ในภาครัฐได้ ประกอบดว้ ย 6 กลยทุ ธ์ ดงั น้ี 1. ดึงดูดผ้มู คี วามรูค้ วามสามารถและมจี ิตสาธารณะเข้ามาทำ�งานในหนว่ ยงานของรัฐ 2. ส่งเสรมิ จูงใจ และรกั ษาผมู้ ีความรู้ความสามารถและมีจิตสาธารณะไวใ้ นภาครัฐ 3. พัฒนาทรพั ยากรบคุ คลภาครฐั ใหม้ ขี ดี ความสามารถและความผกู พันตอ่ องคก์ ร 4. พัฒนาผนู้ �ำ ทีเ่ ป็นตวั อยา่ ง (Leadership by Example) 5. ส่งเสรมิ คุณธรรมและจรยิ ธรรมในการบริหารทรพั ยากรบคุ คล 6. พฒั นาทางกา้ วหน้าในสายอาชีพและสร้างความตอ่ เนื่องในการด�ำ รงต�ำ แหน่ง เร่ืองและประเดน็ ปฏิรูปที่ 6 : การจดั ซอื้ จัดจ้างภาครัฐ คล่องตวั โปร่งใส และมกี ลไก ป้องกันการทุจรติ ทกุ ข้ันตอน ประกอบดว้ ย 2 กลยุทธ์ ดงั น้ี 1. นำ�เทคโนโลยีดจิ ิทลั มาใชป้ รบั ปรุงระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐให้มีความคล่องตัวและ มปี ระสิทธิภาพมากขึ้น 2. สง่ เสริมและสร้างความเขม้ แข็งให้กบั กลไกการติดตามตรวจสอบการจดั ซ้ือจดั จา้ งภาครัฐ เพื่อให้เกดิ ความโปร่งใสและตรวจสอบได้ 17

แผนขบั เคลอื่ นองคการบรห� ารการพฒั นาพ�้นทีพ่ �เศษเพอ่� การทอ งเที่ยวอยา งย่ังยนื (องคก ารมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคการบรห� ารการพัฒนาพน�้ ที่พ�เศษเพอ�่ การทอ งเที่ยวอยา งยง่ั ยืน (องคก ารมหาชน) แผนแมบ่ ทเพอื่ บรรลุเปา้ หมายตามยุทธศาสตรช์ าติ ประเด็นสรา้ งความหลากหลายดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว (พ.ศ. 2561 - 2565) ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา อุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยได้มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ทั้งในมิติของ จำ�นวนนกั ท่องเทีย่ ว รายไดจ้ ากการท่องเทีย่ ว การจัดอนั ดบั ด้านการท่องเทยี่ ว และมูลคา่ ทางเศรษฐกจิ จากธุรกิจท่เี ก่ียวเนือ่ งกับการท่องเทยี่ ว เน่อื งจากไทยมีข้อได้เปรียบจากประเทศคู่แขง่ หลายประการ เชน่ ท�ำ เลทต่ี ง้ั เปน็ จดุ ศนู ยก์ ลางของภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ความหลากหลายของทรพั ยากรธรรมชาติ ศลิ ปวฒั นธรรม ประเพณที ีเ่ ป็นเอกลกั ษณ์ อธั ยาศยั ไมตรขี องคนไทย ความพร้อมของโครงสร้างพนื้ ฐาน ทง้ั ทางถนน ทางน�ำ้ ทางอากาศและทางราง รวมทง้ั โอกาสการขยายตวั ของตลาดทอ่ งเทย่ี วโลก โดยเฉพาะ ตลาดจีน ยุโรป และสหรฐั อเมริกา ธุรกจิ สายการบนิ ต้นทุนต่�ำ ขยายตวั เพิ่มขน้ึ การสือ่ สารทางออนไลน์ สามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าเป้าหมายได้อย่างรวดเร็วและสะดวก เป็นต้น อย่างไรก็ตามในอนาคต อุตสาหกรรมท่องเที่ยวมีการแข่งขันอย่างรุนแรงมากขึ้น เนื่องจากหลายประเทศจะใช้การท่องเที่ยวเป็น เคร่ืองมอื ส�ำ คัญในการสร้างรายได้ให้กบั ประเทศ โดยเฉพาะในกลมุ่ ประเทศอาเซียน ดงั น้ัน ประเทศไทย จ�ำ เปน็ ตอ้ งอาศยั ความไดเ้ ปรยี บของท�ำ เลทต่ี ง้ั และความหลากหลายของทรพั ยากรดา้ นการทอ่ งเทย่ี วทม่ี อี ยู่ เพื่อพัฒนายกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันและสร้างความหลากหลายให้สอดคล้องกับความ ต้องการของนักท่องเที่ยว เช่น การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การท่องเที่ยวเชิงธุรกิจ การท่องเที่ยวเชิง สุขภาพ การท่องเที่ยวทางน้ำ� และการท่องเที่ยวเชื่อมโยงภูมิภาค ทั้งนี้ หากประเทศไทยมีทิศทางการ พฒั นาการท่องเท่ยี วที่ชัดเจน สอดคล้องกบั สถานการณ์ และบริบทต่าง ๆ ทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ อตุ สาหกรรม ท่องเทย่ี ว การทอ่ งเทยี่ วไทยจะเป็นเครอ่ื งมอื ในการสร้างรายได้ และกระจายรายได้สู่เศรษฐกิจฐานราก รวมท้ังชว่ ยยกระดบั ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ เป้าหมายและตวั ช้วี ัดของแผนแมบ่ ทประเด็นสรา้ งความหลากหลายดา้ นการทอ่ งเทยี่ ว (พ.ศ. 2561-2565) เป้าหมาย ตวั ชว้ี ัด 1. มลู ค่าของผลติ ภัณฑ์มวลรวมดา้ นการท่องเที่ยวขยายตัวไม่ 1. มลู ค่าของผลติ ภณั ฑ์มวลรวมด้านการ นอ้ ยกว่า ร้อยละ 10 ตอ่ ปี ท่องเทย่ี ว 2. สดั ส่วนผลติ ภณั ฑม์ วลรวมภายในประเทศดา้ นการทอ่ งเทยี่ ว 2. รายไดร้ วมจากการท่องเทีย่ ว ตอ่ ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมภายในประเทศ คิดเป็นร้อยละ 22 3. คา่ ใชจ้ า่ ยเฉล่ียของนักท่องเทีย่ วต่อคร้งั ในปี 2565 การเดินทาง 3. รายไดร้ วมจากการทอ่ งเทีย่ วมอี ัตราการขยายตัวไมน่ ้อยกวา่ 4. การจา้ งงานของอุตสาหกรรมทอ่ งเทย่ี ว รอ้ ยละ 10 ต่อปี 5. อนั ดบั ขีดความสามารถทางการแข่งขัน 4. อันดับขดี ความสามารถทางการแขง่ ขนั ดา้ นการทอ่ งเทย่ี วของ ด้านการทอ่ งเทยี่ วของประเทศไทย ประเทศไทย (TTCI) อยู่ในอนั ดับ 30 ของโลก ในปี 2565 6. แหล่งทอ่ งเทีย่ วและสถานประกอบการ 5. จำ�นวนของแหลง่ ท่องเทย่ี วและสถานประกอบการใน ในอุตสาหกรรมทอ่ งเท่ียวท่ไี ด้รับการ อุตสาหกรรมท่องเท่ียวได้รับการรบั รองมาตรฐานเพิ่มขึ้น รับรอง มาตรฐาน รอ้ ยละ 5 ต่อปี 18

แผนขับเคลือ่ นองคการบร�หารการพฒั นาพ�้นทีพ่ �เศษเพ�อ่ การทอ งเที่ยวอยา งยัง่ ยืน (องคก ารมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคการบร�หารการพฒั นาพ้น� ทพี่ �เศษเพอ่� การทองเท่ียวอยา งยัง่ ยนื (องคการมหาชน) (แพผ.นศพ. ัฒ25น6า1เศ-ร2ษ5ฐ6ก5ิจ) และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ภาพสำ�หรบั ประชากรกลุม่ รอ้ ยละ 40 รายไดต้ �่ำ สุด ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2561 - 2565) เป็นแผนพัฒนา ผู้ด้อยโอกาส สตรี และผ้สู งู อายุ อาทิ การสนับสนนุ ประเทศในระยะ 5 ปี ซึ่งแปลงยุทธศาสตร์ชาติ ธรุ กจิ ขนาดเลก็ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม วสิ าหกจิ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) สู่การปฏบิ ตั อิ ย่าง ชุมชนและวิสาหกิจเพื่อสังคม การพัฒนาองค์กร เปน็ รปู ธรรม ทิศทางการพัฒนาของแผนพฒั นาฯ การเงิน ฐานราก และการเข้าถึงเงินทุนเพื่อสร้าง ฉบบั ท่ี 12 จงึ มงุ่ เตรยี มความพรอ้ มและวางรากฐาน อาชพี และการสนบั สนุนการเขา้ ถงึ ปจั จยั การผลิต ในการยกระดับประเทศไทยให้เป็นประเทศท่ี คุณภาพดีที่ราคาเป็นธรรม เป็นต้น และในขณะ พัฒนาแล้ว มีความม่ันคง มัง่ คง่ั ยง่ั ยืน ด้วยการ เดียวกันก็ต้องเพ่มิ ประสิทธิภาพการใช้งบประมาณ พัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมี เชงิ พน้ื ทแ่ี ละบรู ณาการเพอ่ื การลดความเหลอ่ื มล�้ำ กรอบวิสัยทัศน์และเป้าหมายอนาคตประเทศไทย ซึ่งกำ�หนดไว้ในยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี เป็น ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 การสร้างความเข้มแขง็ กรอบที่แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 มุ่งตอบสนอง วัตถุประสงค์และเป้าหมายการพัฒนาแผนพัฒนา ทางเศรษฐกจิ และแข่งขันไดอ้ ยา่ งยง่ั ยนื เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. การขับเคล่ือนให้เศรษฐกิจเจริญเตบิ โตจะเน้น 2561 - 2565 ประกอบด้วยยุทธศาสตร์หลัก การพัฒนาและใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ 10 ยุทธศาสตร์ ซง่ึ ไดม้ กี ารบรรจุประเดน็ สำ�คญั ที่ นวัตกรรมขั้นก้าวหนา้ ท่เี ขม้ ขน้ มากข้นึ การพฒั นา สอดคล้องกับโครงการในด้านของการจัดการการ เศรษฐกจิ ดิจิทลั การพฒั นาและยกระดบั คุณภาพ ท่องเทีย่ วไว้ 4 ยทุ ธศาสตร์ ดังน้ี ของก�ำ ลังคน และความคิดสร้างสรรค์ในการขยาย ฐานเศรษฐกิจและฐานรายได้ใหม่ควบคู่กับการ ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 การสรา้ งความเปน็ เพิ่มผลิตภาพของฐานการผลิตและบริการเดิม ธรรมและลดความเหลื่อมลำ�้ ในสงั คม รวมทั้งการต่อยอดการผลิตและบริการเดิมโดยใช้ ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมและลด ดิจทิ ลั และเทคโนโลยอี จั ฉริยะ นอกจากน้นั จะให้ ความเหลื่อมล้�ำ ใหค้ วามส�ำ คัญกบั การด�ำ เนินการ ความสำ�คัญกับการใช้ศักยภาพของทรัพยากร ย ก ร ะ ดั บ คุ ณ ภ า พ บ ริ ก า ร ท า ง สั ง ค ม ใ ห้ ทั่ ว ถึ ง ชวี ภาพ การสง่ เสรมิ การเชอ่ื มโยงตลอดหว่ งโซม่ ลู คา่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการศึกษาและสาธารณสุข อย่างมีประสิทธิภาพ การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจ รวมท้ังการปิดช่องว่างการคุ้มครองทางสังคม ใหม่และการพัฒนาตามแนวระเบียงเศรษฐกิจ มงุ่ เนน้ มากข้นึ ในเรอื่ งการเพิม่ ทกั ษะแรงงาน และ การผสมผสานภาคบริการเข้ากับการค้าและการ การใช้นโยบายแรงงานท่ีสนับสนุนการเพิ่มผลิต เตรียมความพร้อมของภาคบริการให้สามารถ ภาพแรงงานและเสริมสร้างรายได้สูงขึ้น และการ รองรับการแขง่ ขันทเ่ี สรขี ้นึ การเสริมสร้างศกั ยภาพ สร้างโอกาสทางเศรษฐกิจและสังคม โดยเฉพาะ การแขง่ ขนั ใหก้ บั วสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม อยา่ งยง่ิ การสนบั สนนุ ในเรอ่ื งการสรา้ งอาชพี รายได้ รวมทง้ั การสรา้ งสงั คมผปู้ ระกอบการทผ่ี ลติ ไดข้ ายเปน็ และให้ความช่วยเหลือท่ีเช่ือมโยงการเพิ่มผลิต โดยพิจารณาการเปล่ียนแปลงความต้องการของ ผู้บริโภคอย่างรวดเร็วและมาตรฐานสากลของ 19

แผนขบั เคล่อื นองคการบร�หารการพฒั นาพ้น� ทพี่ �เศษเพ�่อการทอ งเท่ียวอยางย่ังยนื (องคการมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคก ารบร�หารการพฒั นาพน�้ ทพี่ เ� ศษเพอ่� การทองเที่ยวอยา งยัง่ ยนื (องคการมหาชน) สินค้าและบริการท่ีสูงข้ึนรวมถึงมาตรฐานด้าน ชุมชนเมือง ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของ สง่ิ แวดลอ้ ม รวมทง้ั พฒั นาระบบและกลไก ตลอดจน ประชาชนและต้นทุนทางเศรษฐกจิ ในขณะทกี่ าร การพัฒนาเชิงพ้ืนท่ีเพื่อกระจายโอกาสเศรษฐกิจ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติทาง ใหค้ นในชมุ ชนและทอ้ งถน่ิ และแบง่ ปนั ผลประโยชน์ ธรรมชาติมีความผันผวนและรุนแรงมากขึ้น โดย อยา่ งเปน็ ธรรมเพอ่ื ลดความเหลอ่ื มล�ำ้ ทางเศรษฐกจิ เฉพาะอทุ กภัยและภยั แล้ง ซึง่ สง่ ผลกระทบตอ่ ภาค เศรษฐกิจและห่วงโซ่การผลิตภายในประเทศและ ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การเติบโตทเ่ี ปน็ มติ รกบั ขอ้ ตกลงระหวา่ งประเทศเก่ยี วกับการเปล่ยี นแปลง สภาพภูมิอากาศซึ่งทวีความเข้มข้นทำ�ให้ประเทศ สง่ิ แวดลอ้ มเพื่อการพฒั นาอยา่ งย่ังยนื ไทยต้องเตรียมพร้อมรับภาระในการลดการปล่อย ปัจจุบันสภาพทรัพยากรธรรมชาติและ ก๊าซเรือนกระจกภายใต้กระแสการแข่งขันทาง ส่ิงแวดล้อมกำ�ลังเป็นปัญหาและเป็นจุดอ่อนของ การค้า ดังน้ัน ประเดน็ ทา้ ทายทตี่ อ้ งเรง่ ด�ำ เนนิ การ การรักษาฐานการผลิตและให้บริการ รวมทั้งการ ได้แก่ การสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากร ดำ�รงชีพที่ยั่งยืน ฐานทรัพยากรธรรมชาติถูกนำ� ธรรมชาติและยกระดับคุณภาพสิ่งแวดล้อม เพื่อ ไปใช้ในการพัฒนาจำ�นวนมากก่อให้เกิดความ สนับสนุนการเติบโตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและ เสอ่ื มโทรมอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง พน้ื ทป่ี า่ ไมล้ ดลง ทรพั ยากร คุณภาพชีวิตของประชาชน เรง่ แกไ้ ขปญั หาวิกฤติ ดินเสื่อมโทรม ความหลากหลายทางชีวภาพถูก สิ่งแวดล้อมเพื่อลดมลพิษที่เกิดจากการผลิต และ คกุ คาม ทรัพยากรน้�ำ ยงั มีส่วนท่ไี มส่ ามารถจัดสรร การบริโภค พัฒนาระบบบริหารจัดการที่โปร่งใส ได้ตามความต้องการและมีความเสี่ยงในการ เปน็ ธรรมสง่ เสรมิ การผลติ และการบรโิ ภคทเ่ี ปน็ มติ ร ขาดแคลนในอนาคต เกดิ ปญั หาความขดั แยง้ ในการ กบั สิง่ แวดลอ้ มเปน็ วงกว้างมากขึ้น ต้องเร่งเตรียม ใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติมากขึ้น จากการ ความพร้อมในลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เข้าถึงและการจัดสรรการใช้ประโยชน์ทรัพยากร และเพ่ิมขีดความสามารถในการปรับตัวต่อการ ธรรมชาติทไี่ มเ่ ป็นธรรม รวมท้ังปญั หาสงิ่ แวดลอ้ ม เปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ รวมทง้ั บรหิ ารจดั การ เพิ่มสูงข้ึนตามการขยายตัวของเศรษฐกิจและ เพอื่ ลดความเสี่ยงดา้ นภัยพบิ ตั ทิ างธรรมชาติ 20

แผนขับเคล่อื นองคก ารบร�หารการพฒั นาพ้น� ทีพ่ เ� ศษเพ่อ� การทองเท่ียวอยางยงั่ ยืน (องคการมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคการบรห� ารการพฒั นาพ้น� ที่พเ� ศษเพ�่อการทอ งเท่ยี วอยางยัง่ ยนื (องคก ารมหาชน) ยทุ ธศาสตร์ท่ี 9 การพัฒนาภาค เมอื ง และพืน้ ทเี่ ศรษฐกจิ การยกระดับฐานการผลิตและบริการเดิมให้มีความ เข้มแข็งมากขึ้น และการขยายฐานใหม่ที่ให้ความสำ�คัญ กับการกระจายโอกาสทางเศรษฐกิจและสังคมควบคู่ไป ด้วยเป็นเป้าหมายที่สำ�คัญ ประเทศไทยต้องใช้ประโยชน์ จากศักยภาพและภูมิสังคมเฉพาะของพื้นที่การดำ�เนิน ยุทธศาสตร์เชิงรุกเพ่ือเสริมจุดเด่นในระดับภาคและ จังหวัดในการเป็นฐานการผลิตและบริการที่สำ�คัญ ประกอบกับการขยายตัวของประชากรในเขตเมืองเป็น โอกาสในการกระจายความเจริญและยกระดับรายได้ของ ประชาชน โดยการพัฒนาเมืองให้เป็นเมืองน่าอยู่และ มีศักยภาพในการรองรับการค้าการลงทุน และในขณะ เดยี วกันก็เป็นการช่วยเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน และทำ�ให้เกิดผลตอบแทนในเชิงเศรษฐกิจและสังคมของ การลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ท่ีเป็น โครงข่ายระหว่างเมืองที่จะเป็นระบบสมบูรณ์ขึ้น เช่น เดียวกับการยกระดับคุณภาพและการส่งเสริมการพัฒนา พื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเลตะวันออก ทำ�ให้มีโอกาสเป็น เขตเศรษฐกิจชั้นนำ�ของอาเซียน สามารถเพิ่มขีดความ สามารถในการแข่งขันของประเทศไดด้ ี นอกจากน้นั การ เป็นส่วนหน่ึงของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเป็นโอกาส ในการเปิดพื้นที่เศรษฐกิจใหม่บริเวณชายแดนเชื่อมโยง การค้าการลงทุนในภูมิภาคของไทยกับประเทศเพ่อื นบ้าน แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 จึงมุ่งเน้นการพัฒนาและเร่ง ด�ำ เนนิ การในประเดน็ ทา้ ทาย ไดแ้ ก่ การสรา้ งความเขม้ แขง็ ของฐานการผลิตและบริการเดิมและขยายฐานการผลิต และบริการใหม่ที่สร้างรายได้ สำ�หรับประชาชนในภาค การพฒั นาเมืองให้เตบิ โตอย่างมคี ุณภาพ การพัฒนาและ ฟ้ืนฟูพื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเลตะวันออกให้รองรับการ ขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมแห่งอนาคตอย่างมีสมดุล และการบริหารจัดการ พื้นที่เศรษฐกิจชายแดนให้เจริญ เตบิ โตแขง่ ขันไดอ้ ย่างยงั่ ยนื รวมท้งั การเพ่มิ ประสิทธิภาพ กลไกการขับเคลื่อนการพัฒนาภาคและเมืองให้เกิดผล อยา่ งเป็นรปู ธรรม 21

แผนขบั เคลื่อนองคการบร�หารการพฒั นาพ�้นทีพ่ �เศษเพอ�่ การทอ งเท่ยี วอยางยงั่ ยนื (องคการมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคการบรห� ารการพัฒนาพ้�นท่พี เ� ศษเพ่�อการทองเทย่ี วอยา งยัง่ ยืน (องคการมหาชน) แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 2 (พ.ศ. 2560 - 2564) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องและอยู่ในภารกิจของ (พ.ศ. 2560 - 2564)ภายใตค้ ณะกรรมการนโยบาย อพท. ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาคุณภาพแหล่ง การท่องเที่ยวแห่งชาติ ได้คำ�นึงถึงบริบทของ ทอ่ งเทย่ี วสนิ คา้ และบรกิ ารดา้ นการทอ่ งเทย่ี วใหเ้ กดิ ประเทศไทยในการพฒั นาภายใตก้ รอบการวเิ คราะห์ ความสมดุลและยั่งยืน โดยมีตัวชี้วัดที่มีส่วนร่วม แบบองค์รวม ประกอบด้วย 5 ยทุ ธศาสตร์ ด�ำ เนินการ คือ แหล่งทอ่ งเทย่ี ว สนิ ค้า และบรกิ าร ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 การพัฒนาคุณภาพแหล่ง ดา้ นการทอ่ งเทย่ี วไดร้ บั การรบั รองมาตรฐานเพม่ิ ขน้ึ ทอ่ งเที่ยว สินคา้ และบรกิ ารด้านการทอ่ งเที่ยวให้ และจำ�นวนเครือข่ายการท่องเท่ียวโดยชุมชน เกดิ ความสมดลุ และย่งั ยืน เพม่ิ ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 การสรา้ ง ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 การพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐาน ความสมดลุ ให้กบั การทอ่ งเทีย่ วไทย ผ่านการตลาด และสิ่งอำ�นวยความสะดวก เพื่อรองรับการขยาย เฉพาะกลุ่ม การส่งเสริมวถิ ไี ทยและการสร้างความ ตวั ของอุตสาหกรรมท่องเท่ียว เชอ่ื ม่นั ของนักทอ่ งเทยี่ ว โดยมีตวั ชี้วัดท่มี สี ว่ นร่วม ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนาบุคลากรด้าน ดำ�เนินการ คือ จำ�นวนจังหวัดที่มีผู้เยี่ยมเยือน การท่องเที่ยว และสนับสนุนการมีส่วนร่วมของ มากกวา่ 3 ล้านคนตอ่ ปี เพิม่ สูงขึ้นทกุ ปี (จาก 10 ประชาชนในการพฒั นาการท่องเทยี่ ว จงั หวดั ในปี 2558) โดยสาระส�ำ คญั ใน 2 ยทุ ธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การสร้างความสมดุลให้กับ ที่ อพท. ร่วมขับเคลื่อนภายใต้แผนพัฒนาการ การท่องเที่ยวไทย ผ่านการตลาดเฉพาะกลุ่ม การ ท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2560 - 2564) ส่งเสริมวิถีไทยและการสร้างความเชื่อม่ันของ มีดังนี้ นักท่องเท่ียว ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5 การบูรณาการการบริหาร จัดการการท่องเท่ียวและการส่งเสริมความร่วมมือ ระหว่างประเทศ 22

แผนขับเคล่ือนองคการบร�หารการพฒั นาพ�้นที่พ�เศษเพ�่อการทอ งเท่ยี วอยางยงั่ ยืน (องคการมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคก ารบรห� ารการพฒั นาพ�้นที่พเ� ศษเพ�อ่ การทอ งเทีย่ วอยางย่ังยืน (องคก ารมหาชน) ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 การพฒั นาคุณภาพ พัฒนาสินค้าและบริการที่โดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ แหล่งท่องเท่ยี ว สนิ คา้ และบริการดา้ น ของแต่ละท้องถิ่น เป็นต้นและการส่งเสริมความ สมดุลเชิงเวลาและฤดูกาลในการท่องเที่ยว ได้แก่ การทอ่ งเทย่ี วใหเ้ กดิ ความสมดลุ และยง่ั ยนื การสร้างสรรค์กิจกรรมหรือเทศกาลประจำ�ปี 1. พัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยว สินค้า ในพนื้ ทีต่ า่ ง ๆ การสรา้ งสถานท่ีท่องเท่ยี วแหง่ ใหม่ และบริการทุกรูปเเบบอย่างมีมาตรฐาน โดยการ (Man - Made Attractions) เป็นต้น ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพสินค้าและบริการ ด้านการท่องเที่ยวทั้งระบบ เสริมสร้าง พัฒนา ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 การสรา้ งความสมดุล และปรับปรุงมาตรฐานด้านการท่องเท่ียวและ ให้กบั การทอ่ งเทีย่ วไทย ผา่ นการตลาด บริการให้ครอบคลุมทุกรูปแบบ และส่งเสริมขีด ความสามารถในการแข่งขันด้านธุรกิจการถ่ายทำ� เฉพาะกลมุ่ การส่งเสรมิ วถิ ีไทยและการ ภาพยนตร์ต่างประเทศในประเทศไทย รวมถงึ การ เพิ่มขีดความสามารถในการรองรับด้านการท่อง สร้างความเช่อื มนั่ ของนักท่องเทีย่ ว เที่ยวเพื่อก้าวสู่การเป็นผู้นำ�คุณภาพของแหล่ง 1. เสริมสร้างภาพลักษณ์คุณภาพเเละความ ท่องเท่ียว สนิ ค้า และบริการระดับโลกสากล ปลอดภัยให้กับประเทศไทย โดยการพัฒนาภาพ 2. พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวสินค้าและบริการ ลักษณ์และความเชื่อมั่นด้านคุณภาพ มุ่งเน้นการ อย่างยั่งยืน โดยการส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายการ สื่อสารคุณค่าและภาพลักษณ์ประเทศไทยเป็น ทอ่ งเท่ียว ท้งั ภาครัฐ เอกชน และชมุ ชน เข้ามามี แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วยอดนยิ ม (Preferred Destination) ส่วนร่วมด้านการบริหารจัดการ ตั้งอยู่บนพื้นฐาน ที่มีคุณภาพสูงต่อนักท่องเที่ยว การทำ�การตลาด การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ทั้งในเชิง เป้าหมายและสร้างการรับรู้แก่นักท่องเท่ียวผ่าน อัตลักษณ์ วิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี และ ช่องทางตา่ ง ๆ ดา้ นมาตรการรักษาความปลอดภยั สิ่งแวดล้อมในระดับพื้นที่ ได้แก่ การกำ�หนดขีด และมาตรการปอ้ งกนั ของประเทศไทย ขอ้ ควรปฎบิ ตั ิ ความสามารถในการรองรบั นกั ทอ่ งเทย่ี ว การสง่ เสรมิ เพื่อความปลอดภัย และสิ่งที่ควรกระทำ�ในกรณี การลงทนุ ในพน้ื ท่ี การสง่ เสรมิ สรา้ งสรรคน์ วตั กรรม ฉกุ เฉนิ เพอ่ื ชว่ ยสง่ เสรมิ ภาพลกั ษณข์ องประเทศไทย ดา้ นการท่องเท่ียว และสนับสนนุ ผู้ประกอบการให้ เป็นแหลง่ ท่องเที่ยวทีป่ ลอดภัย รวมถงึ การส่งเสรมิ ใชน้ วัตกรรมในการผลิตสินค้าและบริการ การดแู ล การบังคับใช้และให้ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายท่ี รักษาและปลูกจิตสำ�นึกในการอนุรักษ์ทรัพยากร เกยี่ วขอ้ งแก่นักท่องเทีย่ วและสาธารณชน การทอ่ งเท่ยี ว เป็นตน้ 2. ส่งเสริมการตลาดเฉพาะกลุ่มเพื่อดึงดูด 3. สร้างสมดุลในแหล่งท่องเท่ียวสินค้าและ การเดนิ ทางท่องเที่ยว และกระต้นุ การใชจ้ า่ ยของ บรกิ าร ทั้งในเชิงพนื้ ทีเ่ ชงิ เวลา ฤดูกาลและรูปแบบ นักทอ่ งเทยี่ วกลุ่มต่าง ๆ โดยการสง่ เสริมการตลาด การท่องเท่ียวโดยการส่งเสริมความสมดุลเชิงพ้ืนที่ แบบเฉพาะกลุ่มสำ�หรับนักท่องเที่ยวทั่วไป กลุ่ม ในการท่องเที่ยว ทั้งในแง่การกระจายรายได้และ ตลาดระดบั กลาง - บน (มีรายไดส้ ่วนบุคคลสงู กวา่ จำ�นวนนักท่องเที่ยว ได้แก่ การจัดตั้งเขตพัฒนา 20,000 เหรียญสหรัฐต่อปี) ในพื้นที่ตลาดที่มี การท่องเท่ียว เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวในจงั หวดั ศักยภาพและการทำ�การตลาดแบบเฉพาะกลุ่ม และพน้ื ที่ที่มีศกั ยภาพ การพัฒนาการท่องเท่ยี วใน สำ�หรับนักท่องเที่ยวกลุ่มความสนใจพิเศษ เช่น เมืองรองการพัฒนาการท่องเที่ยวในชนบท การ กลมุ่ นกั ท่องเทย่ี วเชิงสุขภาพ กลุ่มนกั ท่องเทยี่ วเชิง สิ่งแวดล้อมและนเิ วศ 23

แผนขบั เคลอ่ื นองคก ารบรห� ารการพัฒนาพ�้นทีพ่ �เศษเพอ�่ การทอ งเทยี่ วอยา งย่งั ยนื (องคก ารมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคก ารบรห� ารการพฒั นาพน้� ทพ่ี �เศษเพ�อ่ การทองเท่ียวอยางยั่งยืน (องคการมหาชน) 3. ส่งเสริมเอกลักษณ์ของประเทศไทย ภาคเอกชน เป็นต้น การสง่ เสรมิ “ไทยเท่ยี วไทย” และของแตล่ ะท้องถ่นิ ดว้ ยการส่อื สารเอกลกั ษณ์ ได้แก่ การสร้างค่านิยมการเดินทางท่องเที่ยวใน ความเปน็ ไทยใหเ้ ป็นทีเ่ ข้าใจในเวทโี ลก อาทิ การ ประเทศให้แก่คนไทยทุกคนในทุกเพศทุกวัย การ สร้างคุณค่าความเป็นไทยในสินค้าและบริการ สง่ เสรมิ การตลาดแบบมีเปา้ หมายเฉพาะ เช่น กลุ่ม ต่างๆ ผ่านสัญลกั ษณ์ “Thainess” บนสินค้าและ ผู้สูงอายุ กลุ่มนักเรียนนักศึกษา กลุ่มสุภาพสตรี บริการที่คงอัตลักษณ์ความเป็นไทย การสื่อสาร รวมถึงการสนับสนุนมาตรการทางการเงินเพ่ือส่ง เอกลักษณ์ความเป็นไทยผ่านส่ือสร้างสรรค์และ เสรมิ การใช้จา่ ยช่วงการทอ่ งเทยี่ ว อาทิ มาตรการ นวัตกรรมทางสอ่ื ตา่ ง ๆ เช่น รายการโทรทศั น์ การ การลดหย่อนทางภาษี จัดแสดง Roadshow เป็นต้น และการส่งเสริม 5. สง่ เสรมิ ความรว่ มมอื กบั ผทู้ ม่ี สี ว่ นเกย่ี วขอ้ ง เอกลักษณ์ของแต่ละภูมิภาคและจังหวัดโดยการ เเละการใชเ้ ทคโนโลยใี นการท�ำ การตลาด ดว้ ยการ พัฒนาแบรนด์และส่ือสารความแตกต่างของภาค ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างภาคส่วนในการ และจังหวัดต่าง ๆ ในรูปแบบการเล่าเรื่อง (Story ทำ�การตลาด ได้แก่ การร่วมมือกับชุมชนในการ telling) การสื่อสารเรื่องราวอย่างสร้างสรรค์ผ่าน สร้างสรรค์สินค้าและบริการทางการท่องเที่ยว ช่องทางการตลาดท่ีเปน็ ที่นิยมในกลมุ่ เป้าหมาย ให้สะท้อนอัตลักษณ์ของชุมชนและสอดคล้อง 4. ส่งเสริมการท่องเที่ยวภายในประเทศ แบรนด์จังหวัด การส่งเสริมการตลาดร่วมกัน เเละการท่องเที่ยวที่สมดุลเชิงพื้นที่เเละเวลา โดย ระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน และการส่งเสริม การสรา้ งการรบั รสู้ นิ คา้ บรกิ าร และแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว การใช้เทคโนโลยีสนับสนุนการตลาด เช่น การ เพอื่ กระตุน้ การทอ่ งเทยี่ วนอกฤดูกาล อาทิ การจัด สนับสนุนการพัฒนาและต่อยอดแอปพลิเคชันท่ี กิจกรรม เทศกาล และงานประเพณีประจำ�ถิ่น สง่ เสรมิ การท�ำ การตลาดเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพหนว่ ยงาน ในแต่ละเดือน การสร้างความนิยมของจังหวัด ที่รับผิดชอบการตลาดดิจิทัล ทั้งในด้านการดูแล ทอ่ งเท่ียวรอง เช่น การโฆษณาประชาสมั พนั ธ์ และ บริหาร และวิเคราะห์สถติ ิ ขอ้ มลู ออนไลนเ์ กย่ี วกับ การส่งเสริมการขายแพ็กเกจการท่องเท่ียวร่วมกับ การทอ่ งเทย่ี วไทย 24

แผนขับเคล่อื นองคการบรห� ารการพัฒนาพ้น� ทีพ่ เ� ศษเพ่อ� การทอ งเทีย่ วอยางย่งั ยนื (องคก ารมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคการบรห� ารการพฒั นาพน้� ทพี่ �เศษเพอ่� การทอ งเท่ยี วอยา งย่งั ยืน (องคก ารมหาชน) แผนยุทธศาสตรอ์ งคก์ ารบริหารการพัฒนา พ้ืนทพ่ี ิเศษเพอื่ การทอ่ งเทย่ี วอย่างยั่งยนื (องคก์ ารมหาชน) พ.ศ.2560 - 2563 วสิ ัยทศั น์ “ เปน็ องคก์ รแหง่ ความเปน็ เลศิ ดา้ นการพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วอยา่ งยง่ั ยนื เพอ่ื สรา้ งชมุ ชนแหง่ ความสขุ ” พันธกจิ 1. บรหิ ารจัดการการพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วสู่ความยง่ั ยืนดว้ ยแนวคดิ การมสี ว่ นร่วมของชมุ ชน (Community – based Approach) 2. เปน็ องคก์ รท�ำ งานเชิงประสานและบรู ณาการการท�ำ งานรว่ มกับทุกภาคี 3. พฒั นาขดี ความสามารถการทอ่ งเท่ยี วใหท้ ันต่อพลวตั การท่องเที่ยว ประเด็นยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ประสานและสง่ เสรมิ ภาคใี นการพฒั นาการท่องเท่ียวในพ้นื ท่โี ดยเครือข่ายประชารฐั ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 พัฒนาขีดความสามารถด้านการท่องเทีย่ วในพนื้ ที่โดยกระบวนการการมีสว่ นรว่ ม แบบบรู ณาการ ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 ขบั เคลื่อนการพฒั นาการท่องเทย่ี วในพื้นท่ีเพื่อสร้างตน้ แบบการพฒั นาการทอ่ งเทีย่ ว อยา่ งยง่ั ยนื ดว้ ยแนวคิดการมีสว่ นรว่ มของชมุ ชน ยุทธศาสตร์ที่ 4 พฒั นาระบบบริหารจัดการการท่องเที่ยวอย่างยง่ั ยนื ทีม่ ีธรรมาภิบาล 25

แผนขับเคลื่อนองคการบร�หารการพัฒนาพ�้นท่ีพ�เศษเพอ�่ การทอ งเที่ยวอยางย่งั ยืน (องคการมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคก ารบรห� ารการพัฒนาพ้�นทีพ่ �เศษเพ�่อการทอ งเทย่ี วอยา งย่งั ยืน (องคก ารมหาชน) แผนปฏบิ ตั กิ ารการพฒั นาและส่งเสรมิ การทอ่ งเทยี่ ว ในเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก EEC EEC เป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพในการพัฒนาเป็น 1. พัฒนาแหล่งท่องเที่ยว เพ่อื ดึงดดู และจงู ใจให้ แหล่งท่องเท่ียวท่ีสำ�คัญจำ�นวนมากและมีความ นักท่องเท่ยี วเดินทางมาท่องเท่ยี วในพ้นื ท่เี พ่มิ หลากหลายของแหล่งท่องเท่ยี ว รวมทั้งผ้ปู ระกอบ มากขึ้น เช่น ส่งเสริมให้เกิดเทรนด์ท่องเที่ยว การธุรกิจท่องเที่ยวในพืน้ ท่ี EEC ยังไดพ้ ัฒนาและ ใหม่ที่มีความหลากหลายรองรับกลุ่มนักท่อง นำ�เสนอกิจกรรมการท่องเท่ียวในรูปแบบที่ เทีย่ วไดม้ ากย่ิงข้ึน หลายหลากและสอดคล้องกับความต้องการของ นักท่องเที่ยวแต่ละกลุ่มตลาด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง 2. พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและสิ่งอำ�นวย นักท่องเที่ยวแบบกลุ่มครอบครัว กลุ่มธุรกิจและ ความสะดวก เพื่อรองรับการขยายตัวของ การลงทุน ระดบั นานาชาติ ในพืน้ ท่ี EEC มแี นว อุตสาหกรรมท่องเที่ยว และอำ�นวยความ ทางการพฒั นาด้านการท่องเที่ยวที่ส�ำ คัญซงึ่ อพท. สะดวกให้แก่นักท่องเท่ียวเดินทางเข้ามาท่อง ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการนโยบายการ เที่ยวไดส้ ะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย รวมทัง้ พัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ช่วยกระจายตัวของนักท่องเท่ียวไปสู่เมือง ให้ร่วมเป็นหน่วยงานหลักในการขับเคล่ือนแผน ท่องเที่ยวรอง ด้วยการสนับสนุนการลงทุน ปฏิบัติการการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเท่ียว พัฒนาคมนาคมและโลจิสติกส์ ในเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก ประกอบดว้ ย 3. พัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยว เพื่อให้ สอดคล้องกบั มาตรฐานสากล และเพยี งพอตอ่ ความต้องการของตลาดและครอบคลุมทุก สาขาการทอ่ งเที่ยว 4. สรา้ งความเชื่อมั่นของนักทอ่ งเทีย่ ว เพ่ือเพิ่ม รายไดจ้ ากการทอ่ งเทย่ี วอนั เปน็ การสรา้ งมลู คา่ เพิ่มทางเศรษฐกิจ เสริมสร้างภาพลักษณ์ คณุ ภาพเเละความปลอดภยั มงุ่ เนน้ การสอื่ สาร คณุ คา่ และภาพลกั ษณ์แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วยอดนยิ ม (Preferred Destination) ที่มคี ณุ ภาพสูงต่อ นักทอ่ งเท่ยี ว 26

แผนขบั เคล่อื นองคการบรห� ารการพฒั นาพ้น� ท่พี เ� ศษเพ่อ� การทองเที่ยวอยางย่งั ยนื (องคการมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคก ารบร�หารการพัฒนาพ้น� ที่พเ� ศษเพ�่อการทอ งเที่ยวอยา งย่ังยนื (องคการมหาชน) 27

องคก ารบร�หารการพัฒนาพน้� ท่พี เ� ศษเพอ�่ การทอ งเทย่ี วอยางยงั่ ยนื (องคก ารมหาชน) แผนขับเคลอื่ นองคการบรห� ารการพฒั นาพน้� ที่พ�เศษเพ�่อการทอ งเทีย่ วอยา งยงั่ ยนื (องคการมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) ผงั การเชือ่ มโยงเชิงนโยบาย 20ยทุ ธศาสตรชาติ ป (พ.ศ. 2561-2580) “ม่นั คง มั่งค่ัง ย่งั ยืน” แผนพฒั นาเศรษฐกจิ แผนพฒั นาการ แผนยทุ ธศาสตร และสังคมแหง ชาติ ทองเท่ยี วแหงชาติ องคการบร�หาร การพัฒนาพ�้นทีพ่ เ� ศษ ฉบบั ที่ 12 ฉบับที่ 2 เพ่�อการทองเท่ยี วอยา ง (พ.ศ. 2561-2565) (พ.ศ. 2560-2564) ยั่งยืน(องคการมหาชน) พ.ศ.2560-2563 แผนยุทธศาสตร การทอ งเท่ยี วโดยชมุ ชน อยางยั่งยืน ป พ.ศ. 2559-2563 EEC CBT GSTC พฒั นาแหลง ทอ งเท่ยี ว PMQA พัฒนาโครงสรา งพน�้ ฐานและ ส�งิ อำนวยความสะดวก พัฒนาบุคลากรดา นการทองเทีย่ ว สรางความเชอื่ มนั่ ของนักทองเที่ยว 28

แผนขบั เคล่ือนองคการบรห� ารการพฒั นาพ้น� ท่พี เ� ศษเพอ�่ การทองเทยี่ วอยางย่ังยืน (องคการมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคก ารบรห� ารการพัฒนาพน้� ที่พ�เศษเพ่อ� การทอ งเท่ยี วอยา งยั่งยนื (องคก ารมหาชน) ยทุ ธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ. 2561-2580) “ม่นั คง มง่ั คั่ง ย่งั ยนื ” ยทุ ธศาสตรช าติดานการสรา งความสามารถในการแขง ขัน ยุทธศาสตรช าตดิ านการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ยุทธศาสตรชาตดิ า นการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบรห� ารจดั การภาครัฐ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2561-2565) รายไดจากการทองเท่ยี วไมตำ่ กวา 3 ลานลานบาท อันดับความสามารถในการแขงขันดานการทอ งเที่ยว (The Travel & Tourism Competitiveness Index: TTCI) ไมต่ำกวาอนั ดับที่ 30 ยุทธศาสตรท ี่ 2 การสรา งความเปน ธรรมและลดความเหลอื่ มลำ้ ในสงั คม ยทุ ธศาสตรที่ 3 การสรางความเขม แขง็ ทางเศรษฐกจิ และแขง ขนั ไดอยา งยั่งยืน ยทุ ธศาสตรท ี่ 4 การเตบิ โตทเ่ี ปน มิตรกบั ส�งิ แวดลอมเพ่�อการพฒั นาอยางยัง่ ยนื ยทุ ธศาสตรที่ 9 การพัฒนาภาค เมอื ง และพน�้ ที่เศรษฐกจิ แผนพัฒนาการทอ งเทีย่ วแหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2560-2564) การเปน แหลง ทองเทย่ี วคณุ ภาพ เพอ�่ ยกระดบั ขด� ความสามารถในการแขง ขนั ดา นการทอ งเท่ยี ว การเพม่� มูลคาทางเศรษฐกจิ ของอุตสาหกรรมทองเท่ยี วอยางสมดุล การกระจายรายไดแ ละผลประโยชนจากการทองเที่ยวสูทกุ พน้� ท่แี ละทกุ ภาคสว น การพฒั นาการทองเที่ยวอยา งย่งั ยนื บนพ�้นฐานอัตลักษณและว�ถีไทย ยุทธศาสตรท ี่ 1 การพัฒนาคณุ ภาพแหลง ทองเที่ยว สินคาและบรก� ารดานการทองเท่ียวใหเกิดความสมดุลและยงั่ ยนื ยุทธศาสตรท ่ี 4 การสรา งความสมดุลใหก ับการทองเที่ยวไทย ผา นการตลาดเฉพาะกลมุ การสง เสรม� วถ� ีไทยและการสรางความเชอ่ื ม่ันของนกั ทอ งเทย่ี ว แเพผ่อ�นกยาุทรธทศอางสเทตีย่รวอ องคยาก งายร่ังบยรนื ห� า(อรงกคากรพารฒั มหนาาชพน�น้ )ทพพี่ .ศ�เศ.2ษ560-2563 \"เปนองคกรแหง ความเปนเลศิ ดา นการพัฒนาการทอ งเที่ยวอยา งยง่ั ยืนเพอ่� สรางชุมชนแหง ความสขุ \" ประสานและสง เสรม� ภาคใี นการพฒั นาการทอ งเท่ยี วในพ้น� ทโ่ี ดยเครอ� ขา ยประชารัฐ พฒั นาข�ดความสามารถดานการทองเท่ียวในพน้� ที่โดยกระบวนการการมีสวนรว มแบบบรู ณาการ ขับเคลือ่ นการพัฒนาการทอ งเทีย่ วในพ�น้ ที่เพ่อ� สรางตน แบบการพัฒนาการทอ งเท่ียวอยา งยง่ั ยืนดวยแนวคดิ การมีสว นรวมของชมุ ชน พฒั นาระบบบร�หารจัดการการทอ งเทีย่ วอยา งยัง่ ยืนทีม่ ธี รรมาภิบาล แผนยทุ ธศาสตรการทองเที่ยวโดยชมุ ชนอยางยง่ั ยนื ป พ.ศ. 2559-2563 \"การทอ งเทีย่ วโดยชุมชนของไทยพัฒนาสสู ากลอยางมีเอกภาพบนฐานการรกั ษา และการจัดการทรัพยากรชมุ ชนอยางยั่งยนื สูช มุ ชนแหงความสขุ \" เสร�มสรา งคณุ ภาพ ทักษะและความสามารถของทรัพยากรมนษุ ยในชุมชนใหม ศี กั ยภาพในการจดั การการทอ งเทีย่ ว โดยชมุ ชนแบบพ�่งพาตนเองบนฐานความพอเพย� งและความรู สงเสรม� การเพม่� คุณคา และมูลคา ของตน ทุนทรัพยากรชมุ ชนสกู ารเปน สนิ คา และบรก� ารบนฐานอัตลักษณ เอกลกั ษณ และการมสี ว นรวมของชมุ ชนสูตน แบบการเปน แหลงเร�ยนรูการพัฒนาและจัดการทองเท่ียวโดยชุมชนในระดบั ตา งๆ พัฒนาการบร�หารจดั การ การตลาดการทองเท่ยี วโดยชุมชนท่มี งุ เนน การสรา งสมดลุ ของความสุขทัง้ ของคนในชมุ ชนและนักทองเทย่ี ว พฒั นากลไกการขับเคลื่อน ระบบการบร�หารจดั การและการทำงานเช่อื มโยงเชิงเครอ� ขายประชารฐั ทีม่ ีเอกภาพ มัน่ คง และยง่ั ยนื พฒั นาดชั นีชีว้ ดั ความสุข ระหวา งชมุ ชนและนักทอ งเทยี่ ว ตลอดจนพฒั นาไปสกู ารเปน แหลงเรย� นรูในภูมิภาคอาเซยี น GSTC การบรห� ารจดั การดา นความยัง่ ยืนทมี่ ีประสิทธภิ าพ CBT การเพ่ม� ผลประโยชนแ ละลดผลกระทบเชิงลบ ทางสังคม-เศรษฐกิจแกชุมชนทอ งถิน� PMQA การเพ�่มผลประโยชนแ ละลดผลกระทบเชงิ ลบ ทางวัฒนธรรมแกชุมชนและนกั ทองเท่ียว การเพ�ม่ ผลประโยชนและลดผลกระทบดา นลบทางสง�ิ แวดลอ ม การบร�หารจัดการการทอ งเทย่ี วโดยชมุ ชน การจดั การเศรษฐกิจ สงั คม และคุณภาพชวี ต� ทดี่ ี การอนุรักษและสง เสร�มมรดกทางวัฒนธรรมชมุ ชน การจดั การทรพั ยากรธรรมชาติหรอ� สิ�งแวดลอมอยา งเปนระบบและยั่งยนื คณุ ภาพการบรก� ารการทองเทีย่ วโดยชุมชน ประสทิ ธิภาพในการดำเนนิ งานตามหลักภารกจิ พน้� ฐาน (Function Based) ประสทิ ธิภาพในการดำเนินงานตามหลกั ภารกิจยทุ ธศาสตร (Agenda Based) ประสทิ ธิภาพในการดําเนินงานตามหลักภารกจิ พน�้ ท/่ี ทอ งถ�ิน (Area Based) ประสิทธภิ าพในการบรห� ารจัดการและพฒั นานวัตกรรม (Innovation Based) ศักยภาพในการดําเนินการตามแผนยุทธศาสตร 20 ป (Potential Based) 29

แผนขับเคลอื่ นองคก ารบรห� ารการพฒั นาพ�้นท่พี �เศษเพ�อ่ การทองเที่ยวอยางยง่ั ยนื (องคการมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคก ารบร�หารการพฒั นาพ�น้ ท่พี �เศษเพอ่� การทองเทย่ี วอยางย่ังยนื (องคก ารมหาชน) การบรู ณาการและถา ยทอดความเชือ่ มโยงของนโยบายและเปา หมาย ดานการทอ งเท่ียวของประเทศสแู ผนการขบั เคลื่อน องคก ารบร�หาร การพัฒนาพ�น้ ทพ่ี เ� ศษเพ�่อการทองเทยี่ วอยา งยัง่ ยนื (องคการมหาชน) ยทุ ธศาสตรชาติ 20 ป แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2561-2565) “ประเทศไทยมคี วามมั่นคง มง่ั คงั่ ยัง่ ยนื เปนประเทศพฒั นาแลว ดว ยการพฒั นาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพ�ยง” เปาหมายดา นการทอ งเทีย่ ว แนวทางท่ีใหค วามสำคัญดา นการพัฒนาภาค เปา หมายที่ 4 ประเทศไทยมรี ายไดจากการทองเที่ยวเพม�่ ข้น� การผลิตและบร�การ และมีขด� ความสามารถในการแขง ขันดา นการทองเทย่ี วสงู ข�น้ ภาคบร�การ โดยขยายฐานการบรก� ารใหม คี วามหลากหลาย มคี วาม เปนเลศิ และเปนมติ รตอส�ิงแวดลอ ม โดยการยกระดับบร�การท่ีเปนฐาน ตวั ช้ีวัด 4.1 รายไดจากการทองเท่ยี วไมต ่ำกวา 3 ลานลานบาท รายไดเดิม เชน การทองเทยี่ ว และพฒั นาใหป ระเทศไทยเปน ศูนยกลาง ตวั ช้วี ัด 4.2 อันดบั ความสามารถในการแขงขันดา นการทอ งเท่ยี ว การใหบรก� ารสุขภาพ ธุรกจิ บรก� ารดา นการเง�น และธรุ กจิ บรก� าร (The Travel & Tourism Competitiveness Index: TTCI) ทม่ี ศี กั ยภาพอื่นๆ เปน ตน ไมต ่ำกวา อันดับท่ี 30 วส� ัยทัศนการทองเทย่ี วไทย พ.ศ. 2579 แผนพฒั นาการทอ งเทีย่ วแหงชาติ ฉบับท่ี 2 (พ.ศ.2560-2564) \"ประเทศไทยเปนแหลงทองเทีย่ วคุณภาพช้ันนำของโลกทเ่ี ตบิ โต อยา งมดี ลุ ยภาพบนพน�้ ฐานความเปน ไทยเพอ�่ สง เสร�มการ เปา ประสงคระยะ 5 ป (พ.ศ. 2560-2564) พัฒนาเศรษฐกจิ สังคม และกระจายรายไดส ปู ระชาชน การเปน แหลงทอ งเทย่ี วคุณภาพเพ�่อยกระดบั ข�ด ทกุ ภาคสวนอยางยง่ั ยืน\" ความสามารถในการแขง ขันดานการทองเท่ียว แนวทางขับเคล่อื นในระยะสน้ั หร�อภายใน 5 ป (พ.ศ. 2564) การเพ�ม่ มูลคา ทางเศรษฐกิจของอตุ สาหกรรมทอ งเทยี่ ว อยา งสมดุล อตุ สาหกรรมการทองเท่ียวยงั คงเปน หนึ่งในตวั จกั รสำคญั ในการ การกระจายรายไดและผลประโยชนจากการทองเทย่ี ว พฒั นาเศรษฐกิจและการพัฒนาโครงสรา งพน�้ ฐาน โดยมกี าร สทู กุ พน�้ ทแี่ ละทกุ ภาคสวน สนบั สนุนจากภาครัฐใหภาคเอกชนและชุมชนทอ งถิน� มสี ว นรว ม การพัฒนาการทองเทยี่ วอยา งย่งั ยืนบนพ�น้ ฐาน มากข้�นในการพฒั นาการทอ งเทย่ี ว อตั ลกั ษณและวถ� ีไทย ประเทศไทยยงั คงเปน แหลง ทองเทีย่ วชน้ั นำในดา นการทอ งเท่ยี ว เชงิ วัฒนธรรม ทางทะเล และการแพทย และการใชจา ยตอ หัวเตบิ โต อยางตอเนื่องสำหรบั กลุมภมู ิศาสตรหลกั ปจจบ� นั (เชน จนี และ ASEAN) ทัง้ น้ี เร่ม� มกี ารสงเสร�มและสนบั สนุนการเปนแหลง ทองเที่ยวช้ันนำในรปู แบบการทอ งเทย่ี ว (segments) ใหม และเรม�่ มกี ารขยายเปาหมายกลมุ ภมู ิศาสตรเ พ่�มเตมิ กฎและขอ บังคบั เครงครัดมากข้น� ในดานความย่ังยนื และผูที่ เกย่ี วขอ งกบั อุตสาหกรรมการทองเทยี่ วมีความเขาใจและ ตระหนกั ถึงความสำคัญของความยงั่ ยืน ประเทศไทยเปน Gateway สูการทองเทีย่ วในอนุภมู ิภาค CLMV โดยนกั ทอ งเท่ียวจำนวนมากเดนิ ทางมาทอ งเทย่ี วในประเทศไทย กอนการไปทอ งเทย่ี วในประเทศอื่นๆ ในอนุภูมิภาค 30

แผนขบั เคลือ่ นองคก ารบร�หารการพฒั นาพน้� ทพี่ �เศษเพ่�อการทอ งเทีย่ วอยางยงั่ ยืน (องคก ารมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคการบรห� ารการพัฒนาพ้�นที่พ�เศษเพ�อ่ การทอ งเท่ยี วอยางยัง่ ยืน (องคก ารมหาชน) เปาหมายการพัฒนาทยี่ ง่ั ยนื แผนการปฎริ ปู ประเทศ แผนขับเคลอ่ื นองคการบร�หารการพฒั นา พ�้นที่พ�เศษเพ่�อการทอ งเทย่ี วอยางยัง่ ยนื ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) แผนงานในภารกิจหลักของ แผนยทุ ธศาสตร อพท. อพท. ระยะ 20 ป พ.ศ. 2560-2563 วส� ยั ทศั น “เปนองคก รแหง ความเปนเลิศดานการพฒั นาการทอ งเที่ยวอยางย่งั ยืนเพ�่อสรา งชุมชนแหงความสขุ พนั ธกิจ เปา ประสงคหลกั พฒั นาพน้� ทที่ องเที่ยวเพอ่� สรางความเปนธรรมและ ชุมชนในพน้� ทเี่ ปนชมุ ชนแหงความสขุ ลดความเหลื่อมล้ำในสงั คม เพม�่ ขด� ความสามารถทางการแขง ขนั ทางการทอ งเท่ยี ว บรห� ารจัดการพัฒนาการทอ งเทีย่ วสคู วามยัง่ ยนื ดว ย สรางตน แบบของการพฒั นาการทองเท่ียวอยางยง่ั ยืน แนวคิดการมสี วนรว มของชุมชน เปน องคกร เพ�อ่ ขยายผลไปยังพ�้นที่อนื่ ทำงานเชิงประสานและบรู ณาการ พัฒนาและเสรม� สรา งศกั ยภาพกลไกการขับเคล่อื น การทำงานรว มกับทุกภาคีพฒั นาขด� การทองเท่ียวในพน�้ ท่ี ความสามารถการทอ งเทีย่ วดวย พฒั นาระบบบร�หารจดั การการทองเที่ยวทีน่ ำไปสคู วามยง่ั ยนื นวัตกรรมใหท ันตอพลวตั การทองเทีย่ ว พ�น้ ท่ีไดร ับการพัฒนาตามเกณฑก ารทองเท่ยี ว อยา งยงั่ ยืนโลก (GSTC) 31

องคก ารบร�หารการพัฒนาพน้� ทีพ่ �เศษเพอ�่ การทองเท่ียวอยา งย่งั ยนื (องคก ารมหาชน) แผนขับเคลอื่ นองคการบร�หารการพัฒนาพ้น� ท่พี เ� ศษเพอ�่ การทอ งเที่ยวอยางย่ังยืน (องคก ารมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) กลไกของแผนขบั เคลอื่ นองคก ารบร�หาร การพัฒนาพ�้นท่ีพเ� ศษเพอ่� การทองเทย่ี วอยางยัง่ ยืน ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562 - 2565) ระดบั นโยบาย คณะกรรมการบูรณาการ นโยบายพัฒนาภาค (ก.บ.ภ.) การดำเนนิ งานในพ�้นท่พี เ� ศษเพอ�่ การทองเท่ียวอยางยง่ั ยืน แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ ประกาศกำหนดพน้� ท่พี เ� ศษโดยความเห็นชอบจากคณะรฐั มนตร� ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2561 - 2565) กำหนดนโยบายและแผนยุทธศาสตรส ำหรับพ้น� ที่พเ� ศษ บร�หารจัดการเพอ่� พฒั นา สง เสรม� สนับสนุนดานการทองเทีย่ วในพ�น้ ทพี่ �เศษ บูรณาการสรา งความรว มมือดานการทอ งเทีย่ วในทุกภาคสว น การดำเนินงานในพ�น้ ท่ีในเขตพฒั นาการทองเทย่ี ว รวมจดั ทำแผนปฏิบัติการพัฒนาและสงเสร�มการทอ งเทีย่ ว เสนอแนะมาตรการในการพฒั นาและสง เสรม� การทองเที่ยว รวมถงึ สรางกลไกการมีสว นรว มของชมุ ชน สง เสร�มและสนบั สนุนการขับเคล่อื นการทอ งเท่ยี วอยา งยั่งยนื และการทอ งเท่ียวโดยชมุ ชน รวมติดตามประเมินผลเพอ่� รายงานตอ ททช. บูรณาการและขบั เคลื่อนแผนปฏบิ ตั กิ ารพัฒนาการทอ งเทยี่ วในเขต พัฒนาการทอ งเที่ยว หร�อแหลงทอ งเทย่ี วตามที่ ททช.มอบหมาย ระดบั พน�้ ที่ คณะอนุกรรมการบรู ณาการนโยบายพฒั นาภาค (อ.ก.บ.ภ.) คณะกรรมการบร�หารกลุมจงั หวดั (ก.บ.ก.) คณะกรรมการบร�หารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (กบจ.) หนว ยงานราชการ องคก รปกครอง สภาอตุ สาหกรรม ท่ีเกยี่ วขอ ง สว นทองถ�ิน ทองเที่ยว ระดับชมุ ชน 32

แผนขบั เคลอ่ื นองคก ารบรห� ารการพฒั นาพ�้นท่ีพเ� ศษเพ่�อการทอ งเท่ยี วอยางยั่งยืน (องคก ารมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคการบรห� ารการพฒั นาพ�้นท่พี �เศษเพ�่อการทอ งเท่ยี วอยา งย่งั ยนื (องคการมหาชน) คณะรฐั มนตร� ย(พทุ ธ.ศศ.า2ส5ต6ร1ช-าต2ิ52800ป)  คณะกรรมการบร�หารการพฒั นาพ้�นทีพ่ �เศษ คณะกรรมการนโยบาย เพ่อ� การทอ งเท่ยี วอยา งย่ังยืน (กพท.) การทองเทีย่ วแหง ชาติ (ททช.) แผนพัฒนาการทอ งเทีย่ วแหงชาติ ยทุ ธศาสตรท ี่ 1 การพฒั นาคุณภาพ ฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2560 - 2564) แหลง ทองเทย่ี ว สินคา และบรก� ารดา นการ ทอ งเทีย่ วใหเ กดิ ความสมดุลและยงั่ ยืน แผนขบั เคล่อื นองคก ารบรห� ารการพฒั นาพน�้ ทีพ่ เ� ศษเพ่อ� ยทุ ธศาสตรที่ 3 การพัฒนาบุคลากรดาน การทองเที่ยวอยา งย่ังยืน ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562 - 2565) การทอ งเที่ยวและสนับสนุนการมสี ว นรวม ของประชาชนในการพัฒนาการทอ งเที่ยว ยทุ ธศาสตรท ่ี 4 การสรา งความสมดลุ ใหกบั การทองเท่ยี วไทย ผานการตลาด เฉพาะกลมุ การสง เสร�มวถ� ีไทย และการ สรางความเชอื่ มน่ั ของนกั ทองเที่ยว ยุทธศาสตรท่ี 5 การบูรณาการการ บรห� ารจดั การการทอ งเท่ยี วและการ สง เสรม� ความรว มมือระหวางประเทศ สำนักงานพ้น� ที่พ�เศษ ตามประกาศ กพท. คณะกรรมการ สำนักงานพน�้ ทีพ่ เ� ศษในเขตคลสั เตอรท่ี พฒั นาการทอ งเที่ยวประจำเขต ททช. มอบหมาย สมาคม/สมาพันธุ/ สถาบนั การศึกษา/ ความรว มมือ เครอ� ขายประชารัฐ ภาคเอกชน สถาบนั ว�จัย ระหวางประเทศ ดา นการทองเทย่ี ว ภาคีเครอ� ขาย/พ้�นที่ตนแบบ/ชุมชนทอ งเที่ยว/ปราชญช าวบาน/ประชาชนในชุมชนทอ งถ�ิน 33

แผนขับเคลอื่ นองคก ารบร�หารการพัฒนาพ้�นที่พเ� ศษเพ�่อการทอ งเท่ยี วอยางยั่งยืน (องคก ารมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคก ารบรห� ารการพฒั นาพ�้นท่ีพเ� ศษเพ�่อการทอ งเทย่ี วอยา งยง่ั ยืน (องคก ารมหาชน) แผนขบั เคลื่อนองคก์ าร บรหิ ารการพฒั นาพ้ืนที่ พเิ ศษเพื่อการทอ่ งเที่ยว อยา่ งย่งั ยืน ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2562-2565) 34

แผนขับเคล่อื นองคการบรห� ารการพฒั นาพ้�นทพ่ี �เศษเพ�่อการทอ งเทีย่ วอยางยง่ั ยืน (องคการมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคการบร�หารการพฒั นาพ้น� ท่พี �เศษเพ�่อการทองเท่ยี วอยา งย่งั ยืน (องคการมหาชน) สว่ นที่ 4 แผนขับเคล่อื นองค์การบริหารการพฒั นาพืน้ ที่พเิ ศษ เพื่อการทอ่ งเที่ยวอย่างยัง่ ยืน ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2562-2565) แผนขับเคลื่อนองค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2562 - 2565) เป็นแผนที่จัดทำ�ขึ้นโดยการทบทวนแผนยุทธศาสตร์ อพท. ที่มีอยู่เดิม ประกอบ กับการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกขององค์กร และการประชุมรับฟัง ความคิดเห็นของผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ รวมทั้งการพัฒนาแผนให้มีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ นโยบายรฐั บาล แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2560 - 2564) แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวในเขต พฒั นาการทอ่ งเทย่ี ว แผนแมบ่ ทพน้ื ทพ่ี เิ ศษ รวมทง้ั สะทอ้ นถงึ ภารกจิ อ�ำ นาจหนา้ ท่ี ตามพระราชกฤษฎกี า จัดตง้ั อพท. วสิ ยั ทศั น์ เป็นองค์กรแหง่ ความเป็นเลิศด้านการพฒั นาการท่องเทีย่ วอยา่ งยงั่ ยนื เพื่อสรา้ งชุมชนแหง่ ความสุข พันธกจิ 1. พัฒนาพนื้ ท่ีตน้ แบบเพ่ือสรา้ งการท่องเที่ยวอยา่ งยัง่ ยืน 2. พฒั นาการบรหิ ารจดั การการท่องเที่ยวโดยชมุ ชน 3. ส่งเสรมิ การทอ่ งเทย่ี วสร้างสรรค์ เสรมิ สรา้ งเศรษฐกิจชมุ ชน 4. บูรณาการรว่ มกบั ทกุ ภาคเี พอื่ พัฒนาขดี ความสามารถในการบรหิ ารจดั การการทอ่ งเทยี่ ว เปา้ ประสงคห์ ลัก 1. พัฒนาการท่องเทย่ี วในพ้ืนทพ่ี ิเศษเพ่อื มงุ่ สูช่ มุ ชนแห่งความสขุ 2. สรา้ งเสรมิ และกระจายรายไดเ้ พื่อลดความเหลอ่ื มล้�ำ ดว้ ยการท่องเทีย่ วโดยชมุ ชน 3. สร้างต้นแบบของการพฒั นาการท่องเท่ยี วอยา่ งย่ังยนื เพื่อขยายผลไปยงั พ้นื ทีอ่ ่นื 4. ประสานความรว่ มมอื ทกุ ภาคเี พอ่ื เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพกลไกและระบบบรหิ ารจดั การ การทอ่ งเทยี่ วทีน่ ำ�ไปสูค่ วามยัง่ ยนื อยา่ งบูรณาการ 5. พน้ื ท่ีท่ีได้รบั การพฒั นาตามแนวทางของเกณฑก์ ารทอ่ งเท่ยี วอยา่ งยั่งยนื โลก (Global Sustainable : GSTC) 6. เพิ่มขดี ความสามารถการแขง่ ขันทางการท่องเทยี่ ว 7. ร่วมพัฒนาการทอ่ งเท่ียวในพ้นื ทเี่ ขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (EEC) 35

แผนขับเคลือ่ นองคก ารบร�หารการพฒั นาพน้� ท่ีพ�เศษเพ�อ่ การทองเที่ยวอยางยง่ั ยนื (องคการมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคก ารบรห� ารการพฒั นาพ�น้ ทีพ่ �เศษเพ�่อการทองเทย่ี วอยางยั่งยืน (องคก ารมหาชน) แผนขับเคล่ือนองคการบร�หารการพฒั นาพ�้นที่พ�เศษเพ�อ่ การทองเทย่ี วอยางยัง่ ยนื (องคการมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) ว�สัยทศั น เปนองคกรแหงความเปนเลศิ ดานการพัฒนาการทอ งเทยี่ วอยา งย่ังยืนเพอ่� สรา งชุมชนแหง ความสขุ พันธกิจ 1. พัฒนาพ�้นทีต่ น แบบเพอ่� สรางการทอ งเที่ยวอยางย่ังยนื 2. พัฒนาการบรห� ารจัดการการทองเท่ยี วโดยชุมชน เปาประสงค 1. พัฒนาการทอ งเที่ยวในพ้น� ทพี่ เ� ศษเพ�อ่ มงุ สชู มุ ชนแหงความสขุ 2. สรางเสรม� และกระจายรายไดเพ�อ่ ลดความเหลื่อมล้ำดว ยการทองเทยี่ วโดยชมุ ชน ยทุ ธศาสตร 3. สรา งตนแบบของการพฒั นาการทอ งเทยี่ วอยา งยงั่ ยนื เพ่�อขยายผลไปยงั พน�้ ทอ่ี ่นื เปา หมาย 4. ประสานความรว มมอื ทกุ ภาคีเพ่อ� เสร�มสรางศักยภาพกลไกและระบบบรห� ารจัดการการทอ งเที่ยว ทน่ี ำไปสูความยงั่ ยนื อยา งบูรณาการ ยุทธศาสตรที่ 1 ยทุ ธศาสตรท ่ี 2 บร�หารการพฒั นาพ้�นที่พ�เศษสคู วามเปน ตนแบบ พฒั นาและสงเสร�มตน แบบการทองเทยี่ วอยา งย่งั ยนื การทอ งเทยี่ วอยา งย่ังยืน โดยชมุ ชนท่ีไดมาตรฐาน การเปนตน แบบการพฒั นาและการบร�หารจดั การ พัฒนา สง เสร�ม และสรางตน แบบการทอ งเทยี่ วอยา งยงั่ ยืน การทอ งเท่ยี วอยา งย่งั ยืน โดยชมุ ชนทไ่ี ดมาตรฐานในรปู แบบของพ�น้ ทีพ่ �เศษ ตัวชว้ี ัด 1. จำนวนพ้น� ท่พี เ� ศษในการเปนตน แบบการทอ งเทย่ี วอยา งย่ังยืน 1. จำนวนพ้�นท่ตี นแบบ พน�้ ทข่ี ยายผล และแหลง เรย� นรู 2. รายไดแ ละมลู คาทางเศรษฐศาสตรข องการทอ งเทย่ี ว สำหรับการทองเทย่ี วอยา งย่งั ยืน ในพน�้ ทพี่ เ� ศษเพ�่มข�้น 2. รอยละของชุมชนทอ งเทย่ี วทผี่ า นเกณฑมาตรฐาน 3. จำนวนพน้� ทท่ี มี่ ีความสนใจในการนำรูปแบบการจดั การทองเท่ยี ว การจดั การทอ งเทีย่ โดยชุมชน (CBT Thailand) ของพน้� ท่พี �เศษไปขยายผล 3. รอยละการจา งงานทีเ่ พม่� ข�น้ ในพน�้ ทพ่ี �เศษ 4. องคความรูและวธ� ปี ฏิบัติทด่ี ที ี่ไดร ับการถอดบทเรย� น 4. รอยละรายไดท เี่ พม�่ ข�้นจากการทอ งเที่ยวในพน�้ ทพ่ี เ� ศษ 5. รอยละความสุขของชุมชนและนักทองเท่ยี ว เพอ�่ ขยายผลการทอ งเท่ียวอยา งย่งั ยืน 5. จำนวนแหลง ทองเทยี่ วในพ�้นทีพ่ เ� ศษทม่ี กี ารจัดการ ตามเกณฑ GSTC 6. ความสำเร็จของการดำเนนิ งานทีส่ อดคลองกบั เกณฑ GSTC 7. ความสำเรจ็ ในการรว มสนบั สนุนและขับเคลอ่ื นแผนปฏบิ ัติการ ทองเท่ยี วในเขตพฒั นาการทอ งเทีย่ ว กลยทุ ธ 1. สรางภาพลกั ษณก ารเปนพ�้นทต่ี น แบบการทองเทยี่ ว 1. พฒั นาพ้น� ท่ชี มุ ชนตน แบบการจดั การทองเที่ยวอยา งยั่งยนื อยางยัง่ ยืนของพ้น� ทีพ่ เ� ศษ 2. พัฒนาข�ดความสามารถการจัดการทอ งเทยี่ วดวยเกณฑ 2. ถา ยทอดบทเร�ยนการพฒั นาพ้น� ท่พี �เศษเพ�อ่ การทองเทยี่ วโดยชุมชนตามเกณฑม าตรฐาน CBT Thailand ขยายผลการบร�หารจดั การการทองเทีย่ วย่งั ยนื 3. สรางและสง เสร�มการทอ งเท่ียวเชิงสรา งสรรค 3. พฒั นาพ�น้ ที่/แหลงทอ งเที่ยวตามเกณฑ เพ�่อสรา งคุณคา และมลู คา การทองเทีย่ วอยางยัง่ ยนื โลก(GSTC) 4. สรางเสร�มประโยชนท างเศรษฐกจิ และคณุ ภาพชวี �ต 4. สนับสนุนการพัฒนาและสงเสร�มการทอ งเทย่ี ว ที่ดีสชู มุ ชนดว ยการทอ งเท่ยี ว ในเขตพฒั นาการทองเทีย่ ว 5. สรางคณุ คาการเรย� นรู ความสขุ และความพง� พอใจ ใหก ับนักทอ งเทีย่ ว 36

แผนขับเคลอ่ื นองคการบร�หารการพัฒนาพ�้นท่ีพเ� ศษเพ่อ� การทองเทยี่ วอยา งยั่งยืน (องคการมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคก ารบรห� ารการพัฒนาพน�้ ท่พี �เศษเพ่อ� การทอ งเทย่ี วอยา งย่ังยนื (องคก ารมหาชน) 3. สง เสร�มการทองเทีย่ วสรา งสรรค เสรม� สรา งเศรษฐกจิ ชมุ ชน 4. บูรณาการรวมกับทกุ ภาคเี พ�อ่ พฒั นาขด� ความสามารถในการบรห� ารจัดการการทอ งเทีย่ ว 5. พน�้ ที่ทไี่ ดรบั การพัฒนาตามแนวทางของเกณฑการทอ งเที่ยวอยางย่ังยืนโลก (Global Sustainable : GSTC) 6. เพ�่มข�ดความสามารถการแขง ขนั ทางการทองเทย่ี ว 7. รวมพฒั นาการทอ งเทย่ี วในพน�้ ท่ีเขตพัฒนาพเ� ศษภาคตะวนั ออก (EEC) ยทุ ธศาสตรท ี่ 3 ยทุ ธศาสตรท่ี 4 บูรณาการ ประสาน และสงเสร�มการมีสว นรวม ขับเคลอื่ นสูองคก รทีเ่ ปน เลศิ ของทุกภาคีในการจัดการการทอ งเทย่ี ว ในการบร�หารจัดการการทองเที่ยว บูรณาการความรว มมอื ทุกภาคสวน ขบั เคล่อื นองคก รดวยธรรมาภิบาลสคู วามเปนเลิศดา น เพ�อ่ ขับเคล่อื นการทอ งเที่ยวในพ้�นท่พี เ� ศษ การจัดการการทองเทย่ี วอยา งยั่งยืน 1. จำนวนภาคเี คร�อขา ยในการจัดการทอ งเท่ียวอยางยง่ั ยืนโดยชมุ ชน 1. อพท. ผานการประเมนิ ตามเกณฑอ งคกรแหง ความเปน เลิศ 2. รอ ยละการมีสวนรวมของภาคเี ครอ� ขายในการพัฒนาการทองเทย่ี ว 2. อพท. ผานการประเมินตามเกณฑองคกรทม่ี กี ารบรห� ารจดั การ 3. จำนวนภาคเี ครอ� ขายท่ีไดรบั การพฒั นาและสง เสร�ม ดวยธรรมาภบิ าล ความเขมแขง็ และศกั ยภาพ 3. อพท. ผา นการประเมินตามมาตรการปรับปรุงประสิทธภิ าพ 4. รอ ยละการมีสว นรวมของภาคีเครอ� ขา ยกับเครอ� ขายประชารัฐ 5. รอ ยละของสมาชกิ ในชมุ ชน/เครอ� ขา ยทผ่ี านการอบรมหลักสูตร ในการปฏบิ ัตริ าชกา 4. อพท. ผานการประเมนิ ตามมาตรการปรับปรุงประสทิ ธิภาพ CBT Integrated ในการปฏบิ ตั ริ าชการ 5. จำนวนองคค วามรแู ละนวตั กรรมในการจัดการ การทองเทย่ี วอยางยั่งยืน 6. รอ ยละขององคค วามรแู ละนวัตกรรมทไ่ี ดร ับการนำไปตอ ยอด หร�อนำไปสูการปฏบิ ัติ 1. พฒั นาเครอ� ขายการมสี ว นรว มและบูรณาการทุกภาคเี พ�อ่ ขับเคล่ือน 1. พัฒนาและขบั เคลื่อนสอู งคกรอจั ฉรย� ะ การทอ งเทีย่ วอยางยงั่ ยนื โดยชุมชน 2. บูรณาบร�หารจดั การองคกรดว ยธรรมาภบิ าล 3. พฒั นาบุคลากรใหมีคุณภาพและมขี ด� สมรรถนะสงู ในการ 2. เสรม� สรางความเขมแขง็ และพัฒนาศักยภาพของ ภาคเี คร�อขา ยทกุ ระดบั ขับเคลอ่ื นการทองเท่ียวอยางยั่งยนื 4. บรห� ารงบประมาณอยางมปี ระสทิ ธิภาพและเกิดประโยชนส งู สุด 3. ประสานและขบั เคลอื่ นการทองเทย่ี วอยา งยัง่ ยนื โดยการมีสวนรว ม 5. พัฒนาและเผยแพรองคความร/ู นวตั กรรมในการจดั การ กับเคร�อขา ยประชารฐั การทอ งเท่ียวอยางยั่งยนื ทงั้ ในระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ 4. พฒั นาและสรา งทักษะดานการมีสว นรว มในการจดั การทอ งเทย่ี วโดยชมุ ชน 37

องคก ารบรห� ารการพัฒนาพ้�นทพี่ เ� ศษเพ�่อการทองเท่ยี วอยางยง่ั ยืน (องคก ารมหาชน) แผนขับเคล่ือนองคการบรห� ารการพฒั นาพ้น� ทพี่ เ� ศษเพ่�อการทอ งเท่ยี วอยางยัง่ ยืน (องคการมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 1 บรหิ ารการพฒั นาพืน้ ที่พเิ ศษสู่ความเป็นต้นแบบ การท่องเทย่ี วอยา่ งยั่งยนื เปา้ ประสงค์ การเป็นต้นแบบการพฒั นาและการบรหิ ารจดั การการท่องเท่ยี วอย่างยง่ั ยืน กลยทุ ธ์ 1. สร้างภาพลักษณ์การเป็นพน้ื ท่ตี น้ แบบการท่องเทย่ี วอยา่ งย่ังยนื ของพน้ื ทพี่ ิเศษ 2. ถ่ายทอดบทเรียนการพฒั นาพ้ืนทีพ่ ิเศษเพ่อื ขยายผลการบรหิ ารจดั การการทอ่ งเทีย่ วย่ังยนื 3. พฒั นาพืน้ ที่/แหล่งทอ่ งเทย่ี วตามเกณฑ์การทอ่ งเทย่ี วอย่างยั่งยืนโลก (GSTC) 4. สนับสนุนการพัฒนาและส่งเสริมการทอ่ งเทย่ี วในเขตพฒั นาการท่องเทีย่ ว กลยุทธ์ ตวั ช้ีวัด เกณฑ์เปา้ หมาย 1.1 สร้างภาพลกั ษณก์ ารเปน็ จ�ำ นวนพ้นื ท่ีพเิ ศษในการเป็นต้นแบบ ทุกพื้นท่พี ิเศษ พ้ืนท่ตี น้ แบบการท่องเทยี่ ว การทอ่ งเทีย่ วอยา่ งยง่ั ยนื อย่างยงั่ ยนื ของพืน้ ที่พเิ ศษ รายไดแ้ ละมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ของ เพ่มิ ขน้ึ ทุกปี การท่องเทย่ี วในพ้นื ท่ีพิเศษเพมิ่ ขนึ้ 1.2 ถา่ ยทอดบทเรียนการพัฒนา จำ�นวนพื้นท่ีท่ีมีความสนใจในการนำ�รูปแบบ จำ�นวนพน้ื ที่ทม่ี ีความ พ้นื ทพี่ ิเศษเพือ่ ขยายผลการ การจดั การทอ่ งเทย่ี วของพน้ื ทพ่ี เิ ศษไปขยายผล สนใจเพิ่มขึ้น บริหารจัดการการท่องเทยี่ ว องค์ความรู้และวิธีปฏิบัติท่ีดีที่ได้รับการถอด จำ�นวนองคค์ วามรู้และ ยัง่ ยืน บทเรยี นเพ่ือขยายผลการท่องเทยี่ วอยา่ งยั่งยนื วธิ ปี ฏิบัติทด่ี ี จำ�นวนแหล่งทอ่ งเที่ยวในพนื้ ท่พี เิ ศษที่มกี าร รอ้ ยละ 50 1.3 พฒั นาพ้ืนที่/แหล่งทอ่ งเทย่ี ว จดั การตามเกณฑ์ GSTC ตามเกณฑก์ ารทอ่ งเทีย่ วอย่าง ความสำ�เร็จของการดำ�เนนิ งานท่สี อดคลอ้ งกบั รอ้ ยละ 50 ยัง่ ยืนโลก (GSTC) เกณฑ์ GSTC ความส�ำ เรจ็ ในการร่วมสนับสนุนและขับ จ�ำ นวนพื้นทีพ่ เิ ศษในเขต 1.4 สนับสนุนการพฒั นาและ เคล่ือนแผนปฏบิ ตั กิ ารทอ่ งเท่ียวในเขต พัฒนาการท่องเที่ยว ส่งเสริมการทอ่ งเทยี่ วในเขต พัฒนาการทอ่ งเทย่ี ว พฒั นาการท่องเทย่ี ว 38

แผนขบั เคล่อื นองคการบร�หารการพฒั นาพน้� ทพ่ี เ� ศษเพ่�อการทองเทยี่ วอยางยงั่ ยนื (องคก ารมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคก ารบร�หารการพัฒนาพน้� ท่พี �เศษเพ่อ� การทอ งเท่ยี วอยา งยง่ั ยนื (องคก ารมหาชน) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 พฒั นาและส่งเสรมิ ตน้ แบบการทอ่ งเท่ียวอย่างยั่งยืน โดยชุมชนท่ีไดม้ าตรฐาน เปา้ ประสงค์ พัฒนา ส่งเสรมิ และสร้างต้นแบบการทอ่ งเที่ยวอย่างยง่ั ยืน โดยชมุ ชนท่ีไดม้ าตรฐานในรปู แบบของ พื้นทพี่ ิเศษ กลยุทธ์ 1. พฒั นาพืน้ ทีช่ ุมชนต้นแบบการจดั การท่องเท่ียวอยา่ งยั่งยืน 2. พฒั นาขีดความสามารถการจัดการทอ่ งเทยี่ วด้วยเกณฑก์ ารท่องเทย่ี วโดยชุมชน ตามเกณฑม์ าตรฐาน CBT Thailand 3. สร้างและสง่ เสริมการทอ่ งเทยี่ วเชงิ สร้างสรรคเ์ พ่อื สร้างคุณคา่ และมูลคา่ 4. สร้างเสริมประโยชนท์ างเศรษฐกิจและคณุ ภาพชีวติ ทีด่ สี ่ชู ุมชนด้วยการทอ่ งเทย่ี ว 5. สรา้ งคณุ ค่าการเรยี นรู้ ความสุข และความพึงพอใจใหก้ บั นกั ทอ่ งเทีย่ ว กลยุทธ์ ตวั ช้ีวัด เกณฑเ์ ป้าหมาย ทุกพ้นื ท่พี ิเศษ 2.1 พฒั นาพ้ืนท่ีชมุ ชนตน้ แบบการ จำ�นวนพนื้ ทีต่ ้นแบบ พน้ื ท่ขี ยายผล และแหลง่ ร้อยละ 80 จัดการท่องเทย่ี วอย่างย่ังยนื เรียนรู้ ส�ำ หรับการท่องเทย่ี วอยา่ งยัง่ ยืน รอ้ ยละ 10 2.2 พัฒนาขดี ความสามารถการ ร้อยละของชมุ ชนทอ่ งเทยี่ วทผ่ี า่ นเกณฑ์ รอ้ ยละ 15 จดั การท่องเทีย่ วด้วยเกณฑ์ มาตรฐานการจัดการทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน การทอ่ งเทย่ี วโดยชุมชน (CBT Thailand) ร้อยละ 75 ตามเกณฑ์มาตรฐาน CBT Thailand 2.3 สร้างและส่งเสริมการทอ่ ง ร้อยละการจ้างงานท่เี พิม่ ข้ึนในพ้ืนท่พี ิเศษ เทยี่ วเชงิ สรา้ งสรรค์เพ่ือสรา้ ง ร้อยละรายไดท้ ี่เพ่มิ ขนึ้ จากการท่องเท่ยี วใน คุณค่าและมูลค่า พ้นื ทพี่ ิเศษ 2.4 สร้างเสรมิ ประโยชน์ทาง เศรษฐกจิ และคุณภาพชีวติ ทีด่ ี สู่ชุมชนดว้ ยการทอ่ งเทย่ี ว 2.5 สรา้ งคุณค่าการเรียนรู้ ความ ร้อยละความสขุ ของชมุ ชนและนักท่องเทีย่ ว สขุ และความพงึ พอใจใหก้ บั นกั ทอ่ งเท่ยี ว 39

แผนขับเคลื่อนองคการบร�หารการพัฒนาพน�้ ท่พี �เศษเพ่อ� การทองเท่ียวอยางยั่งยืน (องคการมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคก ารบรห� ารการพฒั นาพน�้ ทพี่ �เศษเพ่�อการทองเทีย่ วอยา งยงั่ ยนื (องคการมหาชน) ประเด็นยุทธศาสตรท์ ่ี 3 บูรณาการ ประสาน และส่งเสรมิ การมสี ว่ นรว่ มของทุกภาคี ในการจัดการการท่องเทยี่ ว เปา้ ประสงค์ บรู ณาการความร่วมมือทุกภาคสว่ น เพ่อื ขบั เคล่อื นการทอ่ งเท่ยี วในพืน้ ท่พี ิเศษ กลยุทธ์ 1. พฒั นาเครือขา่ ยการมสี ว่ นรว่ มและบูรณาการทุกภาคีเพ่อื ขับเคลอ่ื นการทอ่ งเท่ียว อย่างย่งั ยนื โดยชุมชน 2. เสริมสรา้ งความเขม้ แขง็ และพัฒนาศักยภาพของภาคีเครอื ขา่ ยทุกระดบั 3. ประสานและขับเคลอ่ื นการท่องเท่ยี วอยา่ งยัง่ ยืนโดยการมีสว่ นร่วมกบั เครอื ขา่ ยประชารฐั 4. พฒั นาและสร้างทักษะด้านการมีส่วนร่วมในการจดั การท่องเทยี่ วโดยชุมชน กลยุทธ์ ตวั ชีว้ ัด เกณฑเ์ ป้าหมาย 3.1 พัฒนาเครอื ข่ายการมสี ว่ นรว่ ม จ�ำ นวนภาคีเครอื ขา่ ยในการจัดการท่องเท่ียว ไมน่ ้อยกว่า 200 ชมุ ชน อย่างยั่งยนื โดยชุมชน เพือ่ ขับเคล่อื นการท่องเท่ียว ร้อยละ 75 อย่างย่งั ยนื โดยชมุ ชน ร้อยละการมสี ่วนรว่ มของภาคเี ครอื ข่ายในการ 3.2 บูรณาการทุกภาคเี พอ่ื สร้าง พัฒนาการท่องเท่ยี ว ไมน่ อ้ ยกวา่ 30 เครอื ขา่ ย การมีสว่ นรว่ มขบั เคลื่อนการ ท่องเที่ยวโดยชมุ ชน จำ�นวนภาคเี ครอื ขา่ ยทีไ่ ด้รับการพัฒนาและสง่ รอ้ ยละ 80 3.3 เสริมสร้างความเขม้ แข็งและ เสรมิ ความเข้มแข็งและศักยภาพ พฒั นาศกั ยภาพของภาคีเครือ รอ้ ยละ 80 ข่ายทกุ ระดบั รอ้ ยละการมสี ่วนรว่ มของภาคีเครอื ข่ายกับ 3.4 ประสานและขับเคลอื่ นการ เครอื ข่ายประชารฐั ทอ่ งเที่ยวอย่างยงั่ ยืนโดยการมี สว่ นร่วมกับเครอื ขา่ ยประชารัฐ ร้อยละของสมาชกิ ในชุมชน/เครอื ขา่ ยท่ีผ่าน 3.5 พัฒนาและสรา้ งทกั ษะด้าน การอบรมหลักสตู ร CBT Integrated การมสี ่วนรว่ มในการจัดการ ท่องเที่ยวโดยชุมชน 40

แผนขับเคลื่อนองคการบร�หารการพัฒนาพ้น� ท่พี �เศษเพ่�อการทอ งเท่ียวอยา งยง่ั ยนื (องคการมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคก ารบร�หารการพฒั นาพ้น� ทพี่ �เศษเพ�่อการทอ งเท่ยี วอยางย่งั ยืน (องคก ารมหาชน) ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 4 ขับเคล่อื นสอู่ งคก์ รทีเ่ ปน็ เลิศในการบริหารจดั การการท่องเทย่ี ว เป้าประสงค์ ขับเคลือ่ นองค์กรด้วยธรรมาภบิ าลสู่ความเป้นเลศิ ดา้ นการจดั การการทอ่ งเท่ียวอยา่ งย่งั ยนื กลยทุ ธ์ 1. พฒั นาและขบั เคล่ือนสอู่ งค์กรอจั ฉรยิ ะ 2. บูรณาบริหารจัดการองคก์ รด้วยธรรมาภบิ าล 3. พัฒนาบุคลากรใหม้ ีคุณภาพและมขี ดี สมรรถนะสูงในการขบั เคลื่อนการท่องเทยี่ วอย่างยงั่ ยนื 4. บรหิ ารงบประมาณอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและเกดิ ประโยชนส์ ูงสุด 5. พฒั นาและเผยแพร่องคค์ วามรู/้ นวัตกรรมในการจดั การการท่องเทีย่ วอย่างยง่ั ยืน ทง้ั ในระดับชาติและนานาชาติ กลยทุ ธ์ ตัวชวี้ ัด เกณฑเ์ ป้าหมาย 4.1 พัฒนาและขับเคล่ือนสอู่ งคก์ ร อพท. ผา่ นการประเมินตามเกณฑอ์ งค์กรแห่ง ผา่ นเกณฑ์ประเมิน ความเปน็ เลศิ PMQA 4.0 อจั ฉริยะ อพท. ผา่ นการประเมนิ ตามเกณฑ์องค์กรท่ีมี คะแนนในระดับสงู มาก 4.2 บูรณาบรหิ ารจดั การองคก์ ร การบรหิ ารจดั การด้วยธรรมาภบิ าล 80-100 คะแนน อพท. ผา่ นการประเมินตามมาตรการปรับปรุง ระดับความผาสุกของ ด้วยธรรมาภบิ าล ประสิทธภิ าพในการปฏิบตั ิราชการ คนในองค์กรไม่นอ้ ยกวา่ 4.3 พัฒนาบคุ ลากรให้มคี ุณภาพ รอ้ ยละ 80 และมขี ีดสมรรถนะสงู ในการ อพท. ผา่ นการประเมนิ ตามมาตรการปรับปรุง รอ้ ยละ 80 ขับเคลื่อนการท่องเที่ยวอยา่ ง ประสทิ ธภิ าพในการปฏิบตั ิราชการ ยัง่ ยืน 4.4 บริหารงบประมาณอยา่ ง จ�ำ นวนองค์ความรแู้ ละนวัตกรรมในการ ไม่น้อยกว่า 30 ชดุ มปี ระสทิ ธิภาพและเกิด จัดการการท่องเทีย่ วอย่างย่งั ยืน ความรู้ ประโยชนส์ ูงสุด รอ้ ยละขององคค์ วามรแู้ ละนวตั กรรมท่ีได้รบั รอ้ ยละ 70 4.5 พัฒนาและเผยแพรอ่ งค์ความ การนำ�ไปตอ่ ยอดหรือน�ำ ไปสู่การปฏิบตั ิ รู้/นวัตกรรมในการจัดการการ ทอ่ งเทีย่ วอย่างยั่งยนื ทัง้ ใน ระดับชาติและนานาชาติ 41

แผนขบั เคล่ือนองคการบร�หารการพัฒนาพ้น� ทีพ่ เ� ศษเพ่�อการทองเท่ียวอยา งยั่งยนื (องคก ารมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคก ารบรห� ารการพฒั นาพ้น� ทพี่ �เศษเพอ�่ การทองเทย่ี วอยา งย่งั ยืน (องคก ารมหาชน) การด�ำ เนนิ งานของ อพท. ตามแผนขบั เคลอ่ื นองคก์ ารบรหิ ารการพฒั นาพน้ื ทพ่ี เิ ศษเพอ่ื การทอ่ งเทย่ี ว อยา่ งยงั่ ยืน ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2562 - 2565) ทั้ง 4 ประเดน็ ยุทธศาสตร์ จากการพัฒนาและบรหิ ารจัดการ การท่องเท่ยี วอย่างย่ังยนื ในพนื้ ท่พี ิเศษ ทัง้ การจัดการทรพั ยากรและแหลง่ ท่องเท่ียว การน�ำ องค์ความรู้ วถิ ีชวี ิต วฒั นธรรม อตั ลกั ษณข์ องท้องถิน่ มาพฒั นาและสง่ เสริมให้เกดิ การท่องเท่ียวขน้ึ ผ่านการสรา้ งการ มสี ่วนร่วมของเครอื ขา่ ยทกุ ภาคสว่ นในพืน้ ท่ี ประกอบกับการสนับสนุนดา้ นงบประมาณ นวตั กรรม และ การพัฒนาและปรบั ปรุงกฎหมาย จะสง่ ผลให้เกิดเกิดการทอ่ งเที่ยวอย่างยง่ั ยนื โดยการจดั การท่องเท่ียว โดยชุมชน ด้วยกจิ กรรมการทอ่ งเท่ียวเชิงสร้างสรรค์ การด�ำ เนินงานตามประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ทัง้ 4 ยุทธศาสตร์ จะกอ่ ให้เกดิ การยกระดับมาตรฐานการ ท่องเที่ยวของพื้นที่พิเศษขึ้น รวมทั้งชุมชนในพื้นที่พิเศษได้เข้ามามีส่วนร่วมตามมาตรฐานและเกณฑ์ใน การจัดการทอ่ งเที่ยวโดยชมุ ชน ซงึ่ จะสง่ ผลประโยชน์จากการทอ่ งเทีย่ วทงั้ ในระดบั ชุมชน เครือขา่ ย พ้นื ที่ พเิ ศษ และในภาพรวมของประเทศ แผนขบั เคลอ่ื นองคก์ ารบรหิ ารการพฒั นาพน้ื ทพ่ี เิ ศษเพอ่ื การทอ่ งเทย่ี ว อยา่ งยง่ั ยนื ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2562 - 2565) จงึ เปน็ แผนทมี่ คี วามเช่อื มโยงและสอดคลอ้ งกบั นโยบายการ พัฒนาประเทศด้านการท่องเท่ยี วท่อี ยูใ่ นยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี และ อพท. เป็นองค์กรหนง่ึ ท่ีมีบทบาท สำ�คัญในการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของประเทศ มีส่วนร่วมในการ สร้างสรรค์การทอ่ งเท่ยี วที่ได้มาตรฐาน สร้างโอกาสทางเศรษฐกิจและรายไดจ้ ากการท่องเทีย่ วโดยชุมชน ที่ชว่ ยเสรมิ และกระจายรายได้ ลดความเหล่ือมล�้ำ ด้านรายได้และสังคม สรา้ งความมน่ั คงและเขม้ แข็งให้ กับชมุ ชน ควบคู่กบั การอนุรกั ษ์และฟื้นฟทู รพั ยากรธรรมชาติ ส่งิ แวดล้อม คุณคา่ ทางวฒั นธรรม และวิถี ทเ่ี ป็นอตั ลักษณ์ 42

แผนขบั เคล่ือนองคก ารบร�หารการพัฒนาพน้� ท่ีพเ� ศษเพ�อ่ การทองเท่ียวอยา งยง่ั ยืน (องคการมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคก ารบรห� ารการพัฒนาพ้�นท่พี เ� ศษเพ่อ� การทอ งเท่ยี วอยา งย่งั ยนื (องคก ารมหาชน) หว งโซผ ลกระทบระดบั พ้�นท่ี แผนขบั เคลอื่ น อพท. ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) INPUT ทรพั ยากร องคค วามรู อัตลกั ษณ เคชรุมอ� ชขานย/ งบประมาณ นวตั กรรม มกาฎตหรมฐาายน การทองเท่ยี ว 1ประเดน็ 2ประเดน็ 3 4ประเด็น ยุทธศาสตรท ี่ ยุทธศาสตรที่ ยุทธศาสตรท ่ี ประเดน็ บร�หารการพฒั นา พฒั นาและสง เสรม� ยุทธศาสตรท ี่ พ�น้ ท่ีพเ� ศษสคู วามเปน การทองเที่ยวอยา ง ยัง่ ยนื โดยชุมชน บูรณาการ ประสานและ ขบั เคลือ่ นสอู งคก ร พ้น� ท่ตี น แบบการ สงเสรม� การมสี ว นรวม ที่เปน เลศิ ในการ ทอ งเท่ยี วอยางยั่งยนื ที่ไดมาตรฐาน บรห� ารจัดการ ของทกุ ภาคใี นการ การทองเทยี่ ว จัดการการทอ งเทย่ี ว  OUTPUT พ�น้ ท่ที ่มี ศี กั ยภาพไดรับการยกระดบั มาตรฐานดา นการทองเท่ยี ว ชมุ ชนท่ีไดร ับการพฒั นาศักยภาพ CBT OUTCOME รายไดจ ากการทอ งเทยี่ วมากข�้น ภาคเี ครอ� ขา ยการทอ งเท่ียวอยางย่งั ยืนโดยชุมชนเขมแขง็ การจางงานในพ�น้ ท่แี ละรายไดท ่ีเกย่ี วขอ งกบั การทอ งเที่ยวทีม่ ากข�้น การกระจายตวั ของรายไดจ ากการทองเทย่ี วเขา สูชุมชน และภาคเี คร�อขายมากขน�้ จำนวนนกั ทอ งเที่ยวและรายไดจากการทองเท่ยี วของประเทศมากขน�้ IMPACT การทองเที่ยวของประเทศมคี ุณภาพและไดมาตรฐาน ข�ดความสามารถในการแขง ขนั ดา นการทองเทยี่ วของประเทศสงู ข้�น ภาพลักษณประเทศแหงการทอ งเทีย่ วอยา งยง่ั ยืน การกระจายรายได ลดความเหลอื่ มล้ำ คุณภาพชวี ต� ของประชาชนดขี �้น ดัชนีความสุขของประชาชนในพน้� ท่สี ูงข้�น นักทองเที่ยวมคี วามสขุ และความพง� พอใจ ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ� แวดลอมยั่งยนื 43

แผนขบั เคลือ่ นองคการบรห� ารการพฒั นาพน้� ทีพ่ เ� ศษเพ�อ่ การทอ งเที่ยวอยา งยง่ั ยนื (องคก ารมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคก ารบรห� ารการพฒั นาพน�้ ทพี่ เ� ศษเพอ�่ การทอ งเทีย่ วอยา งย่ังยืน (องคก ารมหาชน) จุดเนน้ การดำ�เนินงานของ อพท. ในช่วงปี 2562-2565 อพท. ได้รับความไวว้ างใจมอบหมายใหเ้ ป็น จำ�เป็นต้องมีการบูรณาการร่วมกันต้ังแต่การจัดทำ� หน่วยงานหลักในการเป็นเจ้าภาพและเข้าร่วม นโยบายและแผน การกำ�หนดแผนงาน/โครงการ ด�ำ เนินการในการพฒั นาและส่งเสรมิ การท่องเที่ยว การผลกั ดนั งบประมาณไปจนถงึ การรว่ มด�ำ เนนิ การ อย่างยั่งยืนในพื้นท่ีและโครงการพัฒนาที่สำ�คัญ และติดตามประเมินผลสำ�เร็จจากการดำ�เนินงาน หลาย โครงการของประเทศ อาทิเชน่ พืน้ ท่พี เิ ศษ ตามยุทธศาสตร์ชาติ ทำ�ให้เกิดความเป็นเอกภาพ เมืองพัทยาและพ้ืนท่ีเชื่อมโยงจะเป็นหน่วยงาน ในทศิ ทางเดยี วกนั ลดความซ�ำ้ ซอ้ น ลดการสญู เสยี หลักในการจัดทำ�แผนบูรณาการการท่องเที่ยว งบประมาณ และเป็นรูปธรรม ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก หรือ ในการด�ำ เนนิ งานของอพท.ตามแผนขบั เคลอ่ื น EEC การพัฒนาและขับเคลื่อนพื้นที่พิเศษอุทยาน อพท. ดังกล่าว ยังได้วางเป้าหมายที่จะขยายผล ประวัติศาสตร์สุโขทัย-ศรีสัชนาลัย-กำ�แพงเพชร ความสำ�เร็จของการท่องเท่ียวอย่างย่ังยืนของ และพื้นที่พิเศษเมืองเก่าน่าน สู่เมืองสร้างสรรค์ พ้ืนท่ีพิเศษไปสู่พ้ืนที่ใหม่ตามเป้าหมายและจุดเน้น หรอื Creative City ตามหลกั เกณฑข์ อง UNESCO ของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น การพัฒนาและรว่ มกนั ระหวา่ งพื้นทีพ่ ิเศษเลย และ การสรา้ งความหลากหลายด้านการทอ่ งเทย่ี ว และ สปป.ลาว ในการเชื่อมโยงการท่องเที่ยวระหว่าง ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาภาค/กลมุ่ จงั หวดั และจงั หวดั ประเทศร่วมกันในนามของการท่องเที่ยวส่ีเหลี่ยม เชน่ พน้ื ทอี่ ทุ ยานประวตั ศิ าสตรพ์ ระนครศรอี ยธุ ยา วัฒนธรรมล้านช้างที่กำ�ลังเติบโตและขยายผล และพ้ืนที่เชื่อมโยงพื้นที่อารยธรรมอีสานใต้ที่มี อยา่ งแนน่ แฟ้น ซึ่งเป็นภารกจิ ทไ่ี ดร้ ับมอบหมายที่ ร่องรอยอันมีคุณค่าของอารยธรรมขอมโบราณ อพท. ให้ความสำ�คัญ เนื่องจากจะมีผลต่อการ พื้นท่ีอันดามันและหมู่เกาะทะเลใต้ท่ีมีความสำ�คัญ พฒั นาทีข่ ับเคลือ่ นตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปดี ว้ ย และเปน็ ทร่ี จู้ กั ของนานาชาติ พน้ื ทล่ี มุ่ น�ำ้ เจา้ พระยา ซงึ่ ตอ้ งมีการจัดท�ำ แผนขับเคล่อื น อพท. ระยะ 4 ปี ตอนกลางทมี่ คี วามเปน็ เอกลักษณ์ในวิถชี วี ติ พืน้ ท่ี และแผนปฏิบัติการ อพท. 4 ปี (แผนระดับ 3) ชายฝั่งทะเลตะวันตกท่ีเชื่อมโยงพื้นที่ท่องเท่ียว เพื่อใช้เป็นกรอบในการบูรณาการและร่วมดำ�เนิน ทางทะเลกับวัฒนธรรม และพืน้ ทช่ี ายแดนภาคใต้ การภายใต้ความร่วมมือของทุกภาคีที่เกี่ยวข้อง ทจ่ี ะขยายผลการทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนเพ่อื ช่วยสร้าง ในแต่ละพื้นที่ทั้งในระดับภาค ระดับกลุ่มจังหวัด การมีส่วนร่วมและความมั่นคงในพน้ื ที่ เป็นตน้ ระดับจงั หวัด จนถึงในระดบั ท้องถนิ่ และชมุ ชนโดย 44

แผนขบั เคลื่อนองคก ารบร�หารการพฒั นาพน้� ท่ีพเ� ศษเพ�่อการทองเท่ยี วอยางยัง่ ยืน (องคการมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคก ารบร�หารการพัฒนาพน�้ ท่พี เ� ศษเพอ่� การทองเที่ยวอยา งย่งั ยนื (องคก ารมหาชน) จุดเนน้ เชิงพ้นื ท่ี 2562 2563 2564 2565 พื้นท่ีตน้ แบบ พระนครศรีอยธุ ยา จัดทำ�แผนและ พ้นื ทพ่ี ิเศษ พ้ืนท่ตี น้ แบบ ขับเคลอ่ื น CBT ประกาศพืน้ ท่ีพิเศษ พืน้ ท่พี ิเศษ แมฮ่ องสอน ขับเคล่อื น CBT สพู่ลนื้ มุ่ ทนีต่ �้ำ ้นกแลบอบง Thailand Riviera จดั ท�ำ แผน ขบั เคลือ่ น CBT พ้ืนทพี่ ิเศษ ขบั เคลือ่ น CBT เครือขา่ ยล�ำ นำ�้ คลอง One ASEAN ดำ�เนนิ สะดวก จดั ทำ�แผน ประกาศพื้นท่พี ิเศษ Destination จงั หวดั ชายแดนใต้ สี่เหลี่ยมวฒั นธรรมล้านชา้ ง จดั ท�ำ แผน ประกาศพื้นทีพ่ เิ ศษ พน้ื ทพ่ี เิ ศษ พืน้ ทีพ่ เิ ศษ (ไทย-ลาว) อารยธรรมอีสานใต้ และ จดั ทำ�แผน ขับเคล่อื น CBT ขับเคล่อื น CBT พนื้ ทพ่ี ิเศษ สามเหลย่ี มมรกต พื้นทีต่ ้นแบบ (ไทย-ลาว-กมั พูชา) พฒั นาพน้ื ท่ี พฒั นาพ้นื ที่ พนื้ ทพี่ เิ ศษ พนื้ ท่อี ันดามันและหมเู่ กาะ เชอื่ มโยง-ขยายผล เช่ือมโยง-ขยายผล ทะเลใต้ เขตพัฒนาพิเศษ ศึกษา/จดั ท�ำ แผน ประกาศพืน้ ที่พิเศษ พนื้ ทีพ่ เิ ศษ ภาคตะวันออก (EEC) ศกึ ษา/จดั ทำ�แผน ประกาศพื้นท่ีพเิ ศษ พ้นื ทีพ่ เิ ศษ ศึกษา/จัดทำ�แผน ประกาศพ้นื ทีพ่ เิ ศษ พืน้ ทพ่ี เิ ศษ จุดเนน้ การจัดการ 2562 2563 2564 2565 การขับเคลอ่ื น CBT CBT Storytelling CBT Storytelling CBT Storytelling CBT Storytelling เตรยี มแผนงาน บูรณาการ บรู ณาการ บรู ณาการ ขบั เคลอื่ นการ ขับเคล่อื นการ ขับเคล่อื นการ บรู ณาการ ขบั เคลอื่ นการ ท่องเท่ียวชุมชน ทอ่ งเทย่ี วชุมชน ท่องเท่ยี วชุมชน ท่องเท่ยี วชุมชน ทอ่ งเทย่ี วทางน้ำ�/ การน�ำ รอ่ งการท่องเท่ยี ว ท่องเที่ยวทางน�ำ้ / Gastronomy/ รว่ มขบั เคล่อื น ร่วมขับเคลอื่ น เชิงสร้างสรรค์ Gastronomy/ Creative Tourisrm Creative Creative (Creative Tourism) Creative Tourisrm พัฒนาเมืองและ ชมุ ชน การท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรม ศกึ ษาและจดั ทำ� ประสานงานและ ประสานงานและ ประสานงความรว่ ม แผนการทอ่ งเทยี่ ว บรู ณาการหน่วย บรู ณาการหน่วย มอื ส่รู ะดบั สากล งานทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง งานที่เกยี่ วข้อง เชน่ UNESCO เชิงมรดกทาง วฒั นธรร การพัฒนาและขยายผล พัฒนาความร่วม พัฒนาหลักสูตร พฒั นาความรว่ มมอื พัฒนาความร่วมมอื องค์ความรู้ มือกบั สถาบันการ และต่อยอดองค์ กบั สถาบนั การ ทางวิชาการกบั ศึกษาและเครือขา่ ย ความรู้ ศึกษาและเครอื ขา่ ย เครือขา่ ยนานาชาติ 45

แผนขบั เคลอ่ื นองคก ารบร�หารการพฒั นาพน้� ที่พ�เศษเพ่อ� การทองเทยี่ วอยา งย่งั ยนื (องคการมหาชน) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2562-2565) องคการบรห� ารการพัฒนาพ้�นท่พี เ� ศษเพ่�อการทองเที่ยวอยา งยง่ั ยนื (องคก ารมหาชน) กลไกการบรหิ ารจดั การแผนเพือ่ ให้ แผนบรรลุผลตามวตั ถุประสงค์/เป้าหมาย การขับเคลื่อนแผน อพท. ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 3. ใช้กลไกตามแนวทางการปรับปรุงการ 2562-2565) มีหลกั การวัตถุประสงคแ์ ละแนวทาง บริหารและพัฒนา อพท. ตามมติคณะรัฐมนตรี การขับเคลื่อนแผนไปสู่การปฏิบัติที่สอดคล้อง เมื่อวันท่ี 2 กุมภาพันธ์ 2553 ในการพัฒนากลไก กับการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามกรอบ การแปลงแผนแม่บท/แผนยุทธศาสตร์การบริหาร ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี และแผนพัฒนา พัฒนาพื้นท่ีพิเศษเพ่ือการท่องเท่ียวอย่างย่ังยืนไป เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. สู่การปฎิบัติ เพื่อให้ส่วนราชการนำ�แผนแม่บท/ 2561 - 2565) ดังน้ี แผนยุทธศาสตร์การบริหารพัฒนาพ้ืนที่พิเศษท่ี 1. ขับเคล่ือนการบริหารการพัฒนาพ้ืนที่ อพท. เสนอคณะรฐั มนตรพี จิ ารณาใหค้ วามเหน็ ชอบ พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน โดยยึดแผน ไปเป็นแนวทางในการพิจารณาขอรับการสนับ แม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความ สนุนงบประมาณ/ปฏิบัติผ่านกลไกคณะกรรมการ สามารถในการแข่งขัน ใน 2 ประเด็น ได้แก่ นโยบายการท่องเทยี่ วแห่งชาติ (ท.ท.ช.) น�ำ ไปใช้ 1) การสร้างความหลากหลายด้านการท่องเที่ยว ประกอบการกำ�หนดนโยบาย แผนปฏิบัติการ และ 2) การพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวใน พัฒนาการท่องเที่ยวในพื้นที่ และคณะกรรมการ เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) และการ นโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัด พัฒนาการท่องเทีย่ วโดยชมุ ชน โดยยดึ แผนแม่บท แบบบูรณาการ ในพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยว ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและ อย่างยั่งยืน นำ�แผนแม่บท/แผนยุทธศาสตร์การ ความเสมอภาคทางสงั คม ในประเดน็ การเสรมิ สรา้ ง บริหารพัฒนาพ้ืนท่ีพิเศษนำ�ไปใช้เป็นแนวทาง พลงั ทางสังคมบนฐานทนุ ทางสังคมและวฒั นธรรม การจัดทำ�แผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่ม 2. อพท. ในฐานะเปน็ หนว่ ยงานกลางท�ำ หนา้ ท่ี จังหวัด และการจัดทำ�งบประมาณตามพระราช ประสานการบริหารจัดการการท่องเที่ยวและ กฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่ม การใช้อำ�นาจหน้าที่ของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ จังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 และระเบียบ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานอื่น สำ�นักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารงานเชิง ของรฐั บูรณาการการบริหารจดั การการทอ่ งเทยี่ ว พื้นที่แบบบูรณาการ พ.ศ. 2560 รวมทั้งให้สำ�นัก อยา่ งยง่ั ยนื ในเขตพน้ื ทพ่ี เิ ศษ เพอ่ื การจายการพฒั นา งบประมาณนำ�ไปใช้เป็นแนวทางในการพิจารณา ลงสพู่ น้ื ท่ี โดยใหห้ นว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งในระดบั พน้ื ท่ี จัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำ�ปีให้แก่หน่วย มีส่วนร่วมในการดำ�เนินการขับเคล่ือนการพัฒนา งานตา่ งๆในพน้ื ทพ่ี เิ ศษใหส้ อดคลอ้ งกบั แผนแมบ่ ท/ การท่องเท่ียวตั้งแต่ระดับชุมชน/ภาคีเครือข่าย แผนยทุ ธศาสตร์การบริหารพัฒนาพ้ืนทพ่ี เิ ศษ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ระดับจังหวัด ส่วน ราชการ รฐั วสิ าหกจิ สถาบันการศกึ ษา ภาคเอกชน รวมทั้งความร่วมมือระหว่างประเทศ ให้เกิด ประสิทธิภาพและมผี ลเป็นรูปธรรมมากยงิ่ ขน้ึ 46


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook