Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์-21-กิจกรรม-CT-activity

การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์-21-กิจกรรม-CT-activity

Published by earthvasu.se, 2022-01-01 03:51:34

Description: การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์-21-กิจกรรม-CT-activity

Search

Read the Text Version

สารบัญ คำ�ชแ้ี จง 4 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 6 บทนำ� 10 หลกั เกณฑด์ า้ นการทอ่ งเทย่ี วอยา่ งยง่ั ยนื สำ�หรบั แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว 14 (Global Sustainable Tourism Council Criteria for Destinations: GSTC-D) 24 การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนของชมุ ชนกกสะทอ้ น 28 บGการSรหิTพาCรัฒ-กDนารากพสาฒัำ�รหนทรา่อับพงแน้ืเหททล่ียพ่ี ่งวเิ ทศโด่อษยงเพเชทุมอ่ื ่ียชกนวารอท(ยGอ่่าSงงTเยท่ัCงย่ีย-วืนDอต)ยาา่ มโงดยหยง่ัลยอักนืงเคก์กณาฑร์ แบบทดสอบหลงั เรยี น 38 ขอบคณุ ขอ้ มลู 50 2

พิมพ์ครั้งที่ 1 : กนั ยายน 2560 ท่ีปรึกษา : พันเอก ดร.นาฬิกอตภิ ัค แสงสนทิ ดร. ชวู ิทย์ มติ รชอบ พลากร บุปผาธนากร นักวิจัยและผู้เขียน : รศ. ดร.เทิดชาย ชว่ ยบ�ำรุง อ. ดร.วรรักษ์ สเุ ฌอ คณะท�ำงาน : ประภสั สร วรรธนะภตู ิ ณวรรณ ทินราช งานองค์ความรู้ ส�ำนกั บริหารยทุ ธศาสตร์ องคก์ ารบริหารการพัฒนาพน้ื ที่พเิ ศษเพ่อื การท่องเที่ยวอยา่ งยง่ั ยนื (องค์การมหาชน) 118/1 อาคารทิปโก้ ชัน้ 31 ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทร 0 2357 3580-7, แฟกซ์ 0 2357 3599 เว็บไซต์ http://www.dasta.or.th https://www.facebook.com/DASTATHAILAND https://www.facebook.com/SaiJaiPaiTiew ผลิตโดย บริษทั โคคนู แอนด์ โค จ�ำกดั เลขท่ี 32 ซอย โชคชยั 4 ซอย 84 ถนนโชคชยั 4 แขวงลาดพรา้ ว เขตลาดพรา้ ว กรงุ เทพฯ 10230 โทร 0 2116 9959, 08 7718 7324 แฟกซ์ 0 2116 9958 อเี มล [email protected] 3

คำ�ชีแ้ จง เอกสารประกอบการสอนฉบับน้ี จัดทำ�เพ่ือเป็นแนวทางให้อาจารย์และ นักศึกษา ใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในรายวิชาเก่ียวกับ การพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วอยา่ งยง่ั ยนื หรอื การจดั การการทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน ระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาการจดั การการทอ่ งเทย่ี วและบรกิ าร หรอื สาขาดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว อ่ืนๆ ท่ีเก่ียวข้อง โดยใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้ท่ีได้จากองค์การบริหาร การพัฒนาพ้ืนท่ีพิเศษเพ่ือการท่องเท่ียวอย่างย่ังยืน (องค์การมหาชน) หรือ อพท. มเี นอ้ื หาทส่ี อดคลอ้ งกบั สภาพทอ้ งถ่ินและการประยกุ ต์ใชห้ ลกั เกณฑด์ า้ น การทอ่ งเทย่ี วอยา่ งยง่ั ยนื สำ�หรบั แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว (Global Sustainable Tourism Council Criteria for Destinations: GSTC-D) เอกสารฉบบั นม้ี อี งคป์ ระกอบสำ�คญั คอื แบบทดสอบกอ่ นเรยี น สาระสำ�คญั คำ�ถามทา้ ยบท ซง่ึ ใชป้ ระกอบการเรยี นการสอนกบั นกั ศกึ ษาประมาณ 25-30 คน และแบง่ กลมุ่ ทำ�กจิ กรรม ประมาณ 5-6 กลมุ่ กลมุ่ ละ 5-6 คน อาจารยต์ อ้ ง เตรียมตัวก่อนสอนโดยศึกษาเน้อื หาอย่างละเอียดและจัดเตรียมส่อื อ่ืนๆ เช่น รปู ภาพ วดี ทิ ศั น์ หรอื แหลง่ การเรยี นรจู้ รงิ ภายสถาบนั การศกึ ษา การใชเ้ อกสาร ประกอบการสอนเพ่ือเกิดสัมฤทธ์ิผลในการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้ ควรใชเ้ อกสารประกอบการสอนตามลำ�ดบั ขน้ึ ดงั น้ี กอ่ นเรม่ิ การเรยี นการสอน ควรจดั ใหน้ กั ศกึ ษาไดจ้ ดั ทำ�แบบทดสอบกอ่ นเรยี น เพอ่ื ประเมนิ ความรกู้ อ่ นเรยี น จากนน้ั นำ�เขา้ สเู่ นอ้ื หาและดำ�เนนิ กจิ กรรมการเรยี นการสอน จดั ทำ�การอภปิ ราย กลมุ่ ตามประเดน็ ตา่ งๆ ในคำ�ถามทา้ ยบทเพอ่ื ฝกึ การวเิ คราะหแ์ ละทดสอบความ รคู้ วามเขา้ ใจในบทเรยี น และสรปุ สาระสำ�คญั เพอ่ื นำ�ไปปรบั และประยกุ ต์ใชต้ อ่ ไป 4

วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้ 1 เพ่อื ให้มีความร้คู วามเข้าใจในการพัฒนาการท่องเท่ยี วอย่างย่งั ยืนตามหลักเกณฑ์ด้านการท่องเท่ยี ว อยา่ งยง่ั ยนื สำ�หรบั แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว (Global Sustainable Tourism Criteria for Destinations: GSTC-D) ของสภาการทอ่ งเทย่ี วอยา่ งยง่ั ยนื โลก (Global Sustainable Tourism Council: GSTC) 2 เพ่อื ให้เรียนร้กู ระบวนการบริหารจัดการขององค์การบริหารการพัฒนาพ้นื ท่พี ิเศษเพ่อื การท่องเท่ยี ว อยา่ งยง่ั ยนื (องคก์ ารมหาชน) หรอื อพท. ในการสนบั สนนุ การพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนของ ชมุ ชนกกสะทอนและการแก้ไขปญั หาการพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วสคู่ วามยง่ั ยนื 3 เพ่อื ให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้หลักเกณฑ์ด้านการท่องเท่ยี วอย่างย่งั ยืนสำ�หรับแหล่งท่องเท่ยี ว (GSTC-D) ในการขบั เคลอ่ื นการพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนอยา่ งยง่ั ยนื ระยะเวลาในการเรยี น 3 ชว่ั โมง ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะไดร้ บั ด้านความรู้ ผู้เรียนมีความรู้และเข้าใจในแนวคิดการพัฒนาการท่องเท่ียวอย่างย่ังยืน การพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน หลกั เกณฑด์ า้ นการทอ่ งเทย่ี วอยา่ งยง่ั ยนื สำ�หรบั แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว (GSTC-D) และบทบาทหนา้ ทข่ี ององคก์ ารบรหิ ารการพฒั นาพน้ื ทพ่ี เิ ศษเพอ่ื การทอ่ งเทย่ี วอยา่ งยง่ั ยนื (องคก์ ารมหาชน) หรอื อพท. ในการสนบั สนนุ การพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน ด้านปัญญา ผ้เู รียนได้มโี อกาสเรียนร้ขู ้อมูลเชิงประจักษ์ท่จี ะสามารถเสริมสร้างมุมมองใน การคดิ วเิ คราะห์ และสะทอ้ นปญั หาเกย่ี วกบั การบรหิ ารจดั การแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน และสามารถ ประยกุ ต์ใชแ้ นวคดิ การพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วสคู่ วามยง่ั ยนื ตามเกณฑก์ ารบรหิ ารจดั การแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว ดา้ นการทอ่ งเทย่ี วอยา่ งยง่ั ยนื สำ�หรบั แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว (GSTC-D) ดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ผเู้ รยี นเปน็ ผมู้ คี วามรบั ผดิ ชอบในงานท่ีไดร้ บั มอบหมาย สามารถ วางแผนการดำ�เนนิ งานเพอ่ื ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพผา่ นกระบวนการการมสี ว่ นรว่ ม ของสมาชิกในทีม เรียนร้ถู ึงความท่มุ เท ความเสียสละต่อการทำ�งานในการสนับสนุนให้ตนเองและ ผอู้ ่ืนทำ�งานไดป้ ระสบความสำ�เรจ็ บนพน้ื ฐานของหลกั คณุ ธรรมและจรยิ ธรรม ดา้ นความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คล ผเู้ รยี นไดม้ โี อกาสในการประสานและทำ�งานรว่ มกบั ผอู้ ่ืน ผา่ นกจิ กรรมการเรยี นรกู้ ลมุ่ เพอ่ื มงุ่ สคู่ วามสำ�เรจ็ ของการทำ�งานเปน็ หมคู่ ณะ สง่ เสรมิ สมั พนั ธภาพทด่ี ี กบั ผอู้ ่ืนและสนบั สนนุ ใหม้ ผี ลการทำ�งานการขบั เคลอ่ื นการทำ�งานอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 5

แบบทดสอบก่อนเรยี น 1. ขอ้ ใดคอื หลกั การสำ�คญั ของการพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน ก. การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนเปน็ เครอ่ื งมอื เสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ขององคก์ รชาวบา้ น ในการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละวฒั นธรรม ข. การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนเปน็ กระบวนการมสี ว่ นรว่ มของคนในชมุ ชน ในการกำ�หนด ทศิ ทางการพฒั นาการทอ่ งเทย่ี ว และรว่ มรบั ผลประโยชนจ์ ากการทอ่ งเทย่ี ว ค. การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนเปน็ การทอ่ งเทย่ี วทส่ี ง่ เสรมิ การพฒั นาเศรษฐกจิ สงั คม และการกระจายรายไดแ้ กค่ นในชมุ ชน ง. ขอ้ ก และขอ้ ข 2. ขอ้ ใดคอื นยิ ามทถ่ี กู ตอ้ งของการพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วอยา่ งยง่ั ยนื ตามความหมายขององคก์ ารการทอ่ งเทย่ี วโลก (UNWTO) ก. การทอ่ งเทย่ี วทต่ี ระหนกั ถงึ ทรพั ยากรธรรมชาติ การเคารพสงั คม วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ีชวี ติ ของคนในทอ้ งถ่ิน ข. การทอ่ งเทย่ี วทต่ี ระหนกั ถงึ ทรพั ยากรธรรมชาติ ความหลากหลายทางชวี ภาพ การเคารพสังคม วัฒนธรรมประเพณี และวิถีชีวิตของคนในท้องถ่ิน การสร้าง ความเจรญิ มง่ั คงทางเศรษฐกจิ อยา่ งยง่ั ยนื ค. การทอ่ งเทย่ี วทต่ี ระหนกั ถงึ ทรพั ยากรธรรมชาติ ความหลากหลายทางชวี ภาพ การเคารพสังคม วัฒนธรรมประเพณี และวิถีชีวิตของคนในท้องถ่ิน รวมท้ัง การสรา้ งความเจรญิ มง่ั คงทางเศรษฐกจิ อยา่ งยง่ั ยนื และการกระจายรายไดอ้ ยา่ ง เปน็ ธรรม ง. การทอ่ งเทย่ี วทต่ี ระหนกั ถงึ ทรพั ยากรธรรมชาติ ความหลากหลายทางชวี ภาพ การเคารพสงั คม และมกี ารกระจายรายไดอ้ ยา่ งเปน็ ธรรมไปสชู่ มุ ชน 6

3. เกณฑด์ า้ นการทอ่ งเทย่ี วอยา่ งยง่ั ยนื สำ�หรบั แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว (Global Sustainable Tourism Council Criteria for Destinations: GSTC-D)� ได้ ให้ความสำ�คัญกับการบูรณาการและการมองภาพรวมการบริหาร จดั การแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วครอบคลมุ 4 ดา้ น คอื ก. ด้านการบริหารจัดการด้านความย่ังยืนท่ีมีประสิทธิภาพ ด้านการเพ่ิมผลประโยชน์ และลดผลกระทบเชงิ ลบทางสงั คม เศรษฐกจิ แกช่ มุ ชนทอ้ งถ่ิน ดา้ นการเพม่ิ ผลประโยชน์ และผลกระทบเชิงลบทางวัฒนธรรมแก่ชุมชนและนักท่องเท่ียว และด้านการจัดการ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งเปน็ ระบบและยง่ั ยนื ข. ด้านการบริหารจัดการการท่องเท่ยี วโดยชุมชนอย่างย่งั ยืน ด้านการเพ่มิ ผลประโยชน์ และลดผลกระทบเชงิ ลบทางสงั คม เศรษฐกจิ แกช่ มุ ชนทอ้ งถ่ิน ดา้ นการเพม่ิ ผลประโยชน์ และลดผลกระทบเชิงลบทางวัฒนธรรมแก่ชุมชนและนักท่องเท่ียว และด้านการเพ่ิม ผลประโยชนแ์ ละลดผลกระทบดา้ นลบทางสง่ิ แวดลอ้ ม ค. ด้านการบริหารจัดการด้านความย่ังยืนท่ีมีประสิทธิภาพ ด้านการเพ่ิมผลประโยชน์ และลดผลกระทบเชงิ ลบทางสงั คม เศรษฐกจิ แกช่ มุ ชนทอ้ งถ่ิน ดา้ นการเพม่ิ ผลประโยชน์ และลดผลกระทบเชิงลบทางวัฒนธรรมแก่ชุมชนและนักท่องเท่ยี ว และด้านการจัดการ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม ง. ดา้ นการบรหิ ารจดั การดา้ น 4ทอก.ใขอ่นงค.ทข.งคงก.กา.อ้ปาเางก์กมทใรรรเาดาศรกีะพรย่ี รอชารไพฒัาวรงมษกชฒัรกอนฐ่านใบัรยานกชรมะขกห่าจิา่ทจสีอากงาลว่งรอ่ายยนพทรกังผรน้ืง่ัทอ่กเว่ลยทงทอ่ มาปเง่ีนืทย่ีใรรเนทตย่ีขวะกวโย่ีอโายาทลวมงรชทค่ีกบกนคสำ่ี ร�อ์าวนร(หิยราา้Uงึ าา่พงถมรงNคงึจเฒัหปวขWดั ามดีน็นกมคTธาาเาจรวรยOการรขม)มาญิ อสรสมงาชู่ ง่ัมมุ คาชง่รันถ ความยง่ั ยนื ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ ดา้ นเพม่ิ ผลประโยชนแ์ ละ ลดผลกระทบเชงิ ลบทาง สงั คม เศรษฐกจิ แกช่ มุ ชน ทอ้ งถ่ิน ดา้ นเพม่ิ ผลประโยชน์ และลดผลกระทบเชงิ ลบทาง วฒั นธรรมแกช่ มุ ชนและนกั ทอ่ งเทย่ี ว และดา้ นการเพม่ิ ผลประโยชนแ์ ละลดผลกระทบ ดา้ นลบทางสง่ิ แวดลอ้ ม 7

5มเกขส.ขวีกช.าง้่ค.ธิคลมุเมชกกีส.กณมุ่ชามารานาบระกมรมิรรจกา้ าเเกนสีมดับรปปรารพตว่ิดสน็ปรรมนง้กััโทต่หิงรกกอโรอน่้ะเฮาาลกสกงว่รมรมุ่าเชามรทสสจผมศใิเยม่ใีปู้ดัรตใหนวหรมกกย้คโกะฯ้ชดาา์นกุมากยรรอทใรลชชนทบทจ่ีนมพุ่มุ ชกเ่ีดั่อแชสุมปฒัาปนมางรชดิ กรมทบ่นนเโะกทาา้อ่สาอชรสนงา่ีมยุกกถะเปมทใาทวานเารย่ีขรโอสรทะ้าวดทนกถใกุรหออยสอ่ว่วปาบนัป้มมชงทลีอทุมัครเริะาทกับ่ีรชะห5ล2เย่ีฟชนาปมุ่ ราวัขงคก็รนชอกดถรกสกงนาง้ัว้ยลมเรสใดนยมุ่าปนะอืผตชวรชนิทกลน์ธิ มะุ ชติำีอช�ใมชเภุดมทนรนณั ขย่ีม�อฑวง์ ง. ถกู ทกุ ขอ้ 6. ขอ้ ใดคอื กระบวนการพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนของชมุ ชนกกสะทอน ก. การจดั ตง้ั ชมรมการสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน การเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพและเตรยี ม ความพรอ้ มคณะกรรมการชมรมสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน การตดิ ตามความกา้ วหนา้ การพฒั นาชมุ ชนตน้ แบบ ข. การจัดต้ังชมรมส่งเสริมการท่องเท่ียวโดยชุมชน การเสริมสร้างศักยภาพและเตรียม ความพร้อมคณะกรรมการชมรม การประเมินชุมชน และการติดตามผลการดำ�เนินงาน การพฒั นาชมุ ชนตน้ แบบ ค. การจัดต้งั ชมรมส่งเสริมการท่องเท่ยี วโดยชุมชน การเสริมสร้างศักยภาพและเตรียม ความพรอ้ มชมรมสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน การตดิ ตามความกา้ วหนา้ การดำ�เนนิ งาน ของชมรมการสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน ง. การจัดต้ังชมรมส่งเสริมการท่องเท่ียวโดยชุมชน การเสริมสร้างศักยภาพและเตรียม ความพรอ้ มชมรมสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน การดำ�เนนิ กจิ กรรมพฒั นาชมุ ชนตน้ แบบ การตดิ ตามความกา้ วหนา้ การดำ�เนนิ งานของชมรมการสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน 8

8. ขอ้ ใดไม่ใชว่ ธิ กี ารบรหิ ารจดั การ งแค.ขทหก..มถ7ลอ่.มกกูรงง่.กาขีทเทดทราอ้ขง้ัอ่รเกมย่ีอ้ผงมลูขวทใเยเีทอ้สดอแาอย่่ืีกเงพกปควสวรธวาแน็วฒ่ัรารลฒัรมวระนมธหิวนชบธกมีขธารารราตวยรรรแิมสมมอลปำด�ขนะหรา้ วอะรนรุ ฒั วบังกอั ตั นชนาษศิหมุธกั าแ์ารทชสรรนลอ่ ทตมงะกอ้รเสทขงก์ ถอง่ย่ีสง่ินเวะแสในทหรลอมิ ง่ น เพอ่ื แกไ้ ขปญั หาดา้ นผลกระทบทาง สง่ิ แวดลอ้ มของชมุ ชนกกสะทอน ก. การจดั ทำ�รายชอ่ื และแบง่ ชนดิ ทรพั ยากร และสง่ิ ดงึ ดดู ใจ ข. การจดั ทำ�ประกาศขอ้ หา้ มปฏบิ ตั สิ ำ�หรบั นกั ทอ่ งเทย่ี ว ค. รว่ มกบั อทุ ยานภหู นิ รอ่ งกลา้ กำ�หนดการใชพ้ น้ื ทท่ี ง้ั พน้ื ทเ่ี กษตร พน้ื ทอ่ี นรุ กั ษ์ พน้ื ทท่ี อ่ งเทย่ี ว ง. สรา้ งฝายชะลอนำ้ �ในพน้ื ทภ่ี ลู มโลและพน้ื ทเ่ี ชอ่ื มโยง 9. ขอ้ ใดเปน็ วธิ กี ารบรหิ ารจดั การการเพอ่ื แกไ้ ขปญั หาดา้ นความยง่ั ยนื ทม่ี ี ประสทิ ธภิ าพของชมุ ชนกกสะทอน ก. การจดั ทำ�แผนรองรบั กรณเี กดิ เหตฉุ กุ เฉนิ แกน่ กั ทอ่ งเทย่ี วและมกี ารกำ�หนดผรู้ บั ผดิ ชอบ ข. การจดั ทำ�แผนยทุ ธศาสตรห์ ลกั การพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนกกสะทอน ค. การมีข้อตกลงและแนวปฏิบัติร่วมกันระหว่างชมรมส่งเสริมการท่องเท่ียวโดยชุมชน กกสะทอนกบั กลมุ่ ผปู้ ระกอบการเกย่ี วกบั การทอ่ งเทย่ี ว ง. การแบง่ รายไดจ้ ากการทอ่ งเทย่ี ว รอ้ ยละ 10 สนบั สนนุ กจิ กรรมสาธารณะของชมุ ชน 10. ขอ้ ใดเปน็ วธิ กี ารบรหิ ารจดั การเพอ่ื แกไ้ ขปญั หาดา้ นผลกระทบ ทางสง่ิ แวดลอ้ มของชมุ ชนกกสะทอน ก. พฒั นาแผนงานเพอ่ื ปกปอ้ งทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา ข. การพฒั นาระบบจดั การเพอ่ื ตรวจสอบปอ้ งกนั สถานทท่ี อ่ งเทย่ี ว ค. การจดั ทำ�ประกาศขอ้ หา้ มปฏบิ ตั สิ ำ�หรบั นกั ทอ่ งเทย่ี วและการกำ�หนดการใชพ้ น้ื ท่ี ง. การจัดระเบียบการเดินรถรับส่งนักท่องเท่ยี วโดยการควบคุมสมรรถนะรถและผ้ขู ับรถยนต์ นำ�เทย่ี ว 9

บทนำ� “การทอ่ งเทย่ี วอยา่ งยง่ั ยนื ” ตามความหมายขององคก์ ารการทอ่ งเทย่ี วโลก (UNWTO) คอื การทอ่ งเทย่ี วทต่ี ระหนกั ถงึ ทรพั ยากรธรรมชาติ ความหลากหลาย ทางชีวภาพ การเคารพในสังคม วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของ คนในท้องถ่ิน รวมท้งั สร้างความเจริญม่ันคงทางเศรษฐกิจอย่างย่งั ยืน และ กระจายรายไดอ้ ยา่ งเปน็ ธรรม การดำ�เนนิ การพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วอยา่ งยง่ั ยนื (Sustainable Tourism Development) มหี ลกั สำ�คญั 4 ขอ้ คอื พฒั นาการทอ่ งเทย่ี วทค่ี ำ�นงึ ถงึ ขดี ความสามารถในการรองรบั ของพน้ื ท่ี ทง้ั ระบบนเิ วศ สงั คม เศรษฐกจิ และวฒั นธรรมทอ้ งถ่ิน ประชาชนในทอ้ งถ่ินมสี ว่ นรว่ มในการจดั การ การทอ่ งเทย่ี วท่ีใหค้ วามรแู้ ละประสบการณต์ อ่ นกั ทอ่ งเทย่ี ว ดว้ ยความปลอดภยั และสขุ อนามยั มจี ติ สำ�นกึ ตอ่ การรกั ษาสง่ิ แวดลอ้ มและวฒั นธรรมทอ้ งถ่ิน The Global Sustainable Tourism Council (GSTC) ไดก้ ำ�หนด เกณฑด์ า้ นการทอ่ งเทย่ี วอยา่ งยง่ั ยนื สำ�หรบั แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว (Global Sustainable Tourism Council Criteria for Destinations: GSTC-D) ครอบคลมุ 4 ดา้ นคอื บรหิ ารจดั การดา้ นความยง่ั ยนื ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ เพม่ิ ผลประโยชนแ์ ละลดผลกระทบเชงิ ลบทางสงั คม เศรษฐกจิ แกช่ มุ ชนทอ้ งถ่นิ 10

เพม่ิ ผลประโยชนแ์ ละลดผลกระทบเชงิ ลบทางวฒั นธรรม แกช่ มุ ชนและนกั ทอ่ งเทย่ี ว เพม่ิ ประโยชนแ์ ละลดผลกระทบดา้ นลบทางสง่ิ แวดลอ้ ม ประเทศไทยน้นั มีทิศทางพัฒนาการท่องเท่ยี วตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560–2564) ภายใตย้ ทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 การสรา้ งความเขม้ แขง็ ทางเศรษฐกจิ และแขง่ ขนั ไดอ้ ยา่ งยง่ั ยนื โดยใชป้ ระโยชน์ จากอตั ลกั ษณแ์ ละเอกลกั ษณแ์ หง่ ความเปน็ ไทยสะทอ้ นวฒั นธรรมทอ้ งถ่ินและ วถิ ีชวี ติ ชมุ ชน อาทิ การทอ่ งเทย่ี วเชอ่ื มโยงหนง่ึ ตำ�บลหนง่ึ ผลติ ภณั ฑ์ พฒั นา กลุ่มคลัสเตอร์ท่องเท่ียวตามศักยภาพของพ้ืนท่ี เช่ือมโยงกิจกรรมท่องเท่ียว ตามความต้องการของตลาด อาทิ การท่องเท่ียวโดยชุมชน การท่องเท่ียว เชงิ สขุ ภาพ การทอ่ งเทย่ี วเชงิ ศลิ ปวฒั นธรรม ฯลฯ รวมทง้ั ใหค้ วามสำ�คญั กบั การปรบั โครงสรา้ งการบรหิ ารจดั การดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว มงุ่ เนน้ การมสี ว่ นรว่ ม ของทกุ ภาคสว่ นทง้ั ภาครฐั เอกชน สถาบนั การศกึ ษา และภาคประชาสงั คมใน การร่วมมือกันยกระดับอุตสาหกรรมการท่องเท่ยี วของประเทศไทยให้เติบโต อยา่ งสมดลุ และยง่ั ยนื มกี ารกระจายผลประโยชนอ์ ยา่ งเปน็ ธรรมและเทา่ เทยี ม ดงั นน้ั เพอ่ื เสรมิ สรา้ งกระบวนการเรยี นรแู้ ละถอดบทเรยี นแหง่ ความสำ�เรจ็ เก่ียวกับการพัฒนาการท่องเท่ียวโดยชุมชนอย่างย่ังยืนของชุมชนต้นแบบท่ี ดำ�เนินการพัฒนาการท่องเท่ียวโดยชุมชนผ่านกระบวนการพัฒนาอย่างมี ส่วนร่วม องค์การบริหารการพัฒนาพ้นื ท่พี ิเศษเพ่อื การท่องเท่ยี วอย่างย่งั ยืน (องคก์ ารมหาชน) หรอื อพท. ไดจ้ ดั ทำ�กรณศี กึ ษาการทอ่ งเทย่ี วเชงิ นเิ วศชมุ ชน กกสะทอน อำ�เภอด่านซ้าย จังหวัดเลยเก่ยี วกับวิธีบริหารจัดการการพัฒนา การทอ่ งเทย่ี วอยา่ งยง่ั ยนื แนวทางการขบั เคลอ่ื นการพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วโดย ชุมชน รวมถึงการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาการท่องเท่ียวโดย ชมุ ชนอยา่ งยง่ั ยนื 11

องค์การบริหารการพัฒนาพนื้ ทีพ่ เิ ศษเพอื่ การท่องเที่ยวอยา่ งยั่งยืน (องค์การมหาชน) หรือ อพท. โดยหน่วยงานหลักของ อพท. อาทิ สำ�นักท่องเท่ยี วโดยชุมชน (สทช.) และ สำ�นักงานพ้นื ท่พี ิเศษเลย (อพท.5) ทำ�หน้าท่เี ป็นตัวกลางในการประสาน ส่งเสริม และสนบั สนนุ ใหช้ มุ ชนและภาคเี ครอื ขา่ ยการพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วของชมุ ชนกกสะทอน ได้ทำ�งานร่วมกันอย่างมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพในการพัฒนาการท่องเท่ียว โดยชุมชนอย่างย่งั ยืน ผ่านกระบวนการรับรองแหล่งท่องเท่ยี วชุมชนเพ่อื การพัฒนา การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน ซง่ึ มเี ครอ่ื งมอื และกลไกการทำ�งานทส่ี ำ�คญั อยู่ 3 องคป์ ระกอบคอื 1 คณะทำ�งานรบั รองแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน ประกอบ ดว้ ยบคุ ลากรในหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การพฒั นาการ ท่องเท่ยี ว อาทิ ด้านวิชาการ ด้านการพัฒนาองค์กร ด้านการตลาด ด้านชุมชน และด้านตัวแทนองค์กร ปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน 2 กล่องความคิด 9+1 Building Blocks เ ค ร่ื อ ง มื อ ช่ ว ยร ะ ด ม ส ม อ ง ชุ ม ช น ใ น กา ร วางแผนการพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วของชมุ ชน 12

3 เกณฑ์มาตรฐานการบริหารจัดการแหล่งท่องเท่ยี วโดยชุมชน ทป่ี ระยกุ ตม์ าจากเกณฑข์ อง GSTC ซง่ึ มอี งคป์ ระกอบ 5 ดา้ น ประกอบดว้ ย 1 ดา้ นการบรหิ ารจดั การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน 2 ดา้ นการจดั การเศรษฐกจิ สงั คม และคณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ี 3 ดา้ นการอนรุ กั ษแ์ ละสง่ เสรมิ มรดกทางวฒั นธรรม 4 ดา้ นการจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ สง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งเปน็ ระบบและยง่ั ยนื 5 ดา้ นบรกิ ารและความปลอดภยั ซง่ึ เกณฑม์ าตรฐานการบรหิ ารจดั การแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน นอกจากเปน็ เครอ่ื งมอื ท่ี อพท. ใชเ้ ปน็ แนวทางพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนอยา่ งยง่ั ยนื แลว้ ยงั เปน็ เครอ่ื งมอื วดั ระดบั การพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนอยา่ งยง่ั ยนื รวมทง้ั ใชเ้ ปน็ เกณฑ์ในการพจิ ารณารางวลั การพฒั นา DASTA CBT Award ดว้ ย สำ�หรับกลไกในการขับเคล่อื นการพัฒนาการท่องเท่ยี วโดยชุมชนอย่างย่งั ยืนของชุมชน นน้ั อพท. ไดก้ ำ�หนดใหช้ มุ ชนไดม้ กี ารจดั ตง้ั “ชมรมสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน” โดยให้ ชมุ ชนไดร้ ว่ มกนั คดั เลอื กตวั แทนเขา้ มาเปน็ คณะกรรมการชมรมสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน เพ่อื ทำ�หน้าท่เี ป็นหน่วยงานกลางการบริหารจัดการการท่องเท่ยี วโดยชุมชน และขับเคล่อื น กจิ กรรมการพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนของชมุ ชน ปจั จบุ นั อพท. มพี น้ื ทพ่ี เิ ศษรบั ผดิ ชอบการบรหิ ารจดั การ การทอ่ งเทย่ี วอยา่ งยง่ั ยนื 6 แหง่ ไดแ้ ก่ 1 สำ�นกั งานพน้ื ทพ่ี เิ ศษหมเู่ กาะชา้ งและพน้ื ทเ่ี ชอ่ื มโยง (อพท.1) 2 สำ�นกั งานพน้ื ทพ่ี เิ ศษเมอื งพทั ยาและพน้ื ทเ่ี ชอ่ื มโยง (อพท.3) 3 สำ�นกั งานพน้ื ทพ่ี เิ ศษอทุ ยานประวตั ศิ าสตรส์ โุ ขทยั -ศรสี ชั นาลยั -กำ�แพงเพชร (อพท.4) 4 สำ�นกั งานพน้ื ทพ่ี เิ ศษเลย (อพท.5) 5 สำ�นกั งานพน้ื ทพ่ี เิ ศษเมอื งเกา่ นา่ น (อพท.6) 6 สำ�นกั งานพน้ื ทพ่ี เิ ศษเมอื งโบราณอทู่ อง (อพท.7) 13

หลกั เกณฑ์ดา้ นการทอ่ งเที่ยวอย่างย่ังยืน สำ�หรบั แหล่งทอ่ งเท่ยี ว (Global Sustainable Tourism Council Criteria for Destinations: GSTC-D) แนวทางข้ันพ้ืนฐานท่ีหน่วยงานท่ีรับผิดชอบการบริหารจัดการแหล่งท่องเท่ียวไปสู่ ความยง่ั ยนื สามารถยดึ ถอื ปฏบิ ตั ิ โดยหลกั เกณฑด์ า้ นการทอ่ งเทย่ี วอยา่ งยง่ั ยนื สำ�หรบั แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว ไดถ้ กู ออกแบบและพฒั นาโดยสภาการทอ่ งเทย่ี วยง่ั ยนื โลก (Global Sustainable Tourism Council: GSTC) มคี วามคาดหวงั ในการนำ�หลกั เกณฑน์ ้ีไปใชโ้ ดยองคก์ รทร่ี บั ผดิ ชอบการบรหิ าร จดั การการทอ่ งเทย่ี ว ดงั น้ี เปน็ แนวทางขน้ั พน้ื ฐานสำ�หรบั แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทต่ี อ้ งการมงุ่ สคู่ วามยง่ั ยนื ชว่ ยใหผ้ บู้ รโิ ภคม่ันใจในแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วอยา่ งยง่ั ยนื ชว่ ยใหส้ อ่ื มวลชนใหข้ อ้ มลู และสอ่ื สารตอ่ สาธารณชนเรอ่ื งแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วอยา่ งยง่ั ยนื ได้ ชว่ ยให้โปรแกรมการรบั รองคณุ ภาพในแตล่ ะทม่ี มี าตรฐานในการพฒั นาหลกั เกณฑ์ ช่วยให้หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน หรือ NGOs สามารถมีแนวทางการพัฒนา โครงการทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การทอ่ งเทย่ี วอยา่ งยง่ั ยนื เปน็ แนวทางขน้ั พน้ื ฐานสำ�หรบั อบรมและพฒั นาบคุ ลากร เชน่ มหาวทิ ยาลยั เปน็ ตน้ 14

ทง้ั น้ี หลกั เกณฑด์ า้ นการทอ่ งเทย่ี วอยา่ งยง่ั ยนื สำ�หรบั แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว (GSTC-D) ไดก้ ำ�หนด หลกั เกณฑแ์ ละตวั ชว้ี ดั ไว้ ดงั น้ี หมวด A : การบรหิ ารจดั การดา้ นความยง่ั ยนื ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ (Demonstrate effective sustainable management) หลกั เกณฑ์ A1 ยทุ ธศาสตรบ์ รหิ ารจดั การแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วอยา่ งยง่ั ยนื สาธารณชน หลกั เกณฑ์ A2 สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ โดยมีความเหมาะสมกับสภาพพ้ืนท่ี หลกั เกณฑ์ A3 พฒั นาจากกระบวนการมสี ว่ นรว่ มของประชาชน หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบบรหิ ารจดั การแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว กลมุ่ ตวั แทน มีขนาดเหมาะกับขนาดแหล่งท่องเท่ยี วและการกำ�หนดบทบาท หนา้ ท่ี ภารกจิ และการดำ�เนนิ งานในการบรหิ ารจดั การ การตดิ ตามประเมนิ ผลแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วสมำ่ �เสมอ รายงานผลให้ สาธารณชนทราบ และตอบสนองประเดน็ เกย่ี วกบั สง่ิ แวดลอ้ ม เศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม การทอ่ งเทย่ี ว และสทิ ธมิ นษุ ยชน 15

หลกั เกณฑ์ A4 การบริหารจัดการฤดูกาลท่องเท่ยี ว เพ่อื สร้างสมดุลระหว่าง หลกั เกณฑ์ A5 ความตอ้ งการทางดา้ นเศรษฐกจิ ชมุ ชน สงั คม วฒั นธรรม และ หลกั เกณฑ์ A6 สง่ิ แวดลอ้ มของทอ้ งถ่นิ เพอ่ื วเิ คราะห์โอกาสการทอ่ งเทย่ี วตลอดปี การปรับตัวต่อสภาวะความเปล่ยี นแปลงทางสภาพภูมิอากาศ เพอ่ื พฒั นา ออกแบบ และบรหิ ารจดั การสง่ิ อำ�นวยความสะดวก ใหค้ วามรแู้ กค่ นในทอ้ งถ่ินและนกั ทอ่ งเทย่ี ว การประเมนิ ทรพั ยากรและสง่ิ ดงึ ดดู ใจทางการทอ่ งเทย่ี ว ตลอด จนแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วเชงิ ธรรมชาตแิ ละวฒั นธรรมอยา่ งสมำ่ �เสมอ และมกี ารเผยแพรข่ อ้ มลู ใหส้ าธารณชนรบั ทราบ หลกั เกณฑ์ A7 ขอ้ กำ�หนดในการวางแผนแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว แนวทาง ขอ้ บงั คบั และ/หรือนโยบายต้องออกแบบ เพ่ือปกป้องรักษา ทรัพยากรธรรมชาติและมรดกทางวัฒนธรรม และพัฒนาข้นึ โดยกระบวนการการมสี ว่ นรว่ มของทอ้ งถ่ิน มกี ารประชาสมั พนั ธ์ ใหส้ าธารณชนทราบและมกี ารบงั คบั ใชอ้ ยา่ งจรงิ จงั หลกั เกณฑ์ A8 ทำ�ให้ทุกคนเข้าถึง (Access for All) แหล่งท่องเท่ียวและ ส่ิงอำ�นวยความสะดวกต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการท่องเท่ียวเชิง ธรรมชาติ วฒั นธรรม และประวตั ศิ าสตร์ รวมทง้ั ผพู้ กิ ารหรอื ผทู้ ต่ี อ้ งไดร้ บั ความชว่ ยเหลอื พเิ ศษ 16

หลกั เกณฑ์ A9 หลกั เกณฑ์ A10 การได้มาซ่ึงท่ีดินแหล่งท่องเท่ียว ต้อง ความพงึ พอใจของนกั ทอ่ งเทย่ี ว มรี ะบบ บังคับใช้อย่างเคร่งครัด สอดคล้องกับ ติดตามประเมินผลความพึงพอใจของ สิทธิของชุมชนและคนพ้ืนเมือง รับฟัง นกั ทอ่ งเทย่ี วเพอ่ื ดำ�เนนิ การปรบั ปรงุ ให้ ความคดิ เหน็ ของสาธารณชน การยา้ ยถ่ิน เกดิ ความพงึ พอใจแกน่ กั ทอ่ งเทย่ี ว จะตอ้ งเปน็ ธรรมและสมเหตสุ มผล หลกั เกณฑ์ A11 มาตรฐานความย่ังยืน ท่ีสอดคล้องกับหลักเกณฑ์ GSTC-D หลกั เกณฑ์ A12 สำ�หรับผ้ปู ระกอบการ แหล่งท่องเท่ยี วมีฐานข้อมูลผ้ปู ระกอบ หลกั เกณฑ์ A13 การท่ีไดร้ บั การรบั รองเผยแพรใ่ หส้ าธารณชนรบั รู้ หลกั เกณฑ์ A14 ความปลอดภยั และสวสั ดภิ าพ มรี ะบบตดิ ตาม ปอ้ งกนั และ ตอบสนองต่อภัยทางด้านอาชญากรรม ความปลอดภัย และ สขุ อนามยั โดยรายงานใหส้ าธารณชนรบั รู้ การจัดการสภาวะวิกฤติและเหตุฉุกเฉิน มีแผนการรับมือท่ี เหมาะสม ส่ือสารให้ข้อมูลแก่ประชาชน นักท่องเท่ียว และ ผปู้ ระกอบการเกย่ี วกบั การทอ่ งเทย่ี ว การส่งเสริมและประชาสัมพันธ์ โดยคำ�นึงถึงความถูกต้อง เท่ียงตรง ไม่ว่าจะเป็นการให้ข้อมูลในเร่ืองของผลิตภัณฑ์ การบรกิ าร และความยง่ั ยนื ในการทอ่ งเทย่ี ว 17

หมวด B : การเพม่ิ ผลประโยชนแ์ ละลดผลกระทบเชงิ ลบทางสงั คม-เศรษฐกจิ แกช่ มุ ชนทอ้ งถน่ิ (Maximize economic benefits to the host community and minimize negative impacts) หลกั เกณฑ์ B1 การติดตามประเมินผลทางเศรษฐกิจ มีรายงานให้ สาธารณชนรับรู้อย่างน้อยปีละ 1 คร้ัง โดยวัดผล และรายงานขอ้ มลู การใชจ้ า่ ยนกั ทอ่ งเทย่ี ว รายไดต้ อ่ หอ้ งพกั การจา้ งงาน และการลงทนุ หลกั เกณฑ์ B2 การจา้ งงานในทอ้ งถน่ิ ผปู้ ระกอบการในแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วเปดิ โอกาส หลกั เกณฑ์ B3 ให้เกิดการจ้างงาน การฝึกอบรม ความปลอดภัยในการประกอบ หลกั เกณฑ์ B4 อาชพี และรายไดท้ เ่ี ปน็ ธรรมอยา่ งเทา่ เทยี มสำ�หรบั ทกุ คน การมสี ว่ นรว่ มของสาธารณชน มรี ะบบการวางแผนและตดั สนิ ใจใน เรอ่ื งทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การทอ่ งเทย่ี วอยา่ งสมำ่ �เสมอ การรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของชมุ ชนทอ้ งถน่ิ แรงบนั ดาลใจ ขอ้ หว่ งใย และความพึงพอใจในเร่ืองการบริหารจัดการแหล่งท่องเท่ียวได้รับ การประเมนิ บนั ทกึ และรายงานตอ่ สาธารณะอยา่ งสมำ่ �เสมอ 18

หลกั เกณฑ์ B5 การเขา้ ถงึ ทรพั ยากรของคนในทอ้ งถน่ิ มกี ารประเมนิ ปกปอ้ ง และ หลกั เกณฑ์ B6 หากจำ�เป็นก็มีการดำ�เนินการฟ้ืนฟูการเข้าถึงทรัพยากรท้ังใน หลกั เกณฑ์ B7 แหลง่ ธรรมชาตแิ ละวฒั นธรรมของคนในทอ้ งถ่ิน หลกั เกณฑ์ B8 การตระหนักรู้และการศึกษาด้านการท่องเท่ียว มีกิจกรรมเพ่ิม หลกั เกณฑ์ B9 ความเข้าใจในโอกาสและความท้าทายของการท่องเท่ียว รวมท้ัง ความสำ�คญั ของความยง่ั ยนื ใหก้ บั ชมุ ชนทเ่ี กย่ี วขอ้ งอยา่ งสมำ่ �เสมอ การป้องกันการแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ มีกฎหมายและ ขอ้ ปฏบิ ตั ทิ ช่ี ดั เจนโดยสอ่ื สารใหส้ าธารณชนไดร้ บั รู้ การสนับสนุนชุมชน ช่วยให้ผู้ประกอบการ นักท่องเท่ียว และ สาธารณชนรว่ มสนบั สนนุ โครงการของชมุ ชนและโครงการดา้ นความ ยง่ั ยนื ตา่ งๆ การสนบั สนนุ ผปู้ ระกอบการทอ้ งถน่ิ และการคา้ ทเ่ี ปน็ ธรรม สง่ เสรมิ ผลิตภัณฑ์ย่ังยืนของท้องถ่ิน และหลักการการค้าท่ีเป็นธรรม (Fair Trade) ซ่ึงมีรากฐานบนทรัพยากรทางธรรมชาติและ วฒั นธรรม 19

หมวด C : การเพม่ิ ผลประโยชนแ์ ละลดผลกระทบเชงิ ลบ ทางวฒั นธรรมแกช่ มุ ชนและนกั ทอ่ งเทย่ี ว (Maximize benefits to communities, visitors, and culture; minimize negative impacts) หลกั เกณฑ์ C1 การปอ้ งกนั สถานทท่ี อ่ งเทย่ี ว มนี โยบายและระบบประเมนิ ฟน้ื ฟู และอนุรักษ์สถานท่ีท่องเท่ียวท้ังเชิงธรรมชาติและวัฒนธรรม รวมถงึ มรดกสง่ิ ปลกู สรา้ งและทวิ ทศั นข์ องชนบทและเมอื ง หลกั เกณฑ์ C2 การจดั การนกั ทอ่ งเทย่ี ว สำ�หรบั แหลง่ ดงึ ดดู ใจทางการทอ่ งเทย่ี ว รวมถงึ มาตรการในการอนรุ กั ษ์ ปกปอ้ งทรพั ยากรธรรมชาติ และ เชดิ ชวู ฒั นธรรม 20

หลกั เกณฑ์ C3 หลกั เกณฑ์ C4 พฤติกรรมนักท่องเท่ียว เผยแพร่ การปกปอ้ งมรดกทางวฒั นธรรม แ ล ะ จั ด เ ต รี ย ม แ น ว ท า ง ท่ี ทำ� ใ ห้ มีกฎหมายควบคุมการซ้ือขาย นักท่องเท่ียวมีพฤติกรรมท่ีเหมาะสม แลกเปล่ียน จัดแสดง หรือให้ ลดผลกระทบแงล่ บ สนบั สนนุ ใหเ้ กดิ ของกำ�นลั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั วตั ถทุ าง พฤตกิ รรมนกั ทอ่ งเทย่ี วเชงิ บวก ประวตั ศิ าสตรแ์ ละโบราณคดี หลกั เกณฑ์ C5 หลกั เกณฑ์ C6 ก า ร ส่ื อ ค ว า ม ห ม า ย ส ถ า น ท่ี � ทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา มรี ะบบ ท่องเท่ียว ให้ข้อมูลท่ีถูกต้อง ป้องกันและคุ้มครองสิทธิ ท้ังเชิงธรรมชาติและวัฒนธรรม ในทรัพย์สินทางปัญญาของ พัฒนาจากการมีส่วนร่วมของ บคุ คลและทอ้ งถ่ิน ชุมชนและได้รับการถ่ายทอดใน ภาษาท่ีนักท่องเท่ียวส่วนใหญ่ เขา้ ใจได้ 21

หมวด D : การเพม่ิ ผลประโยชนแ์ ละลดผลกระทบดา้ นลบทาง สง่ิ แวดลอ้ ม (Maximize benefits to the environment and minimize negatives impacts) หลกั เกณฑ์ D1 ความเสย่ี งทางดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม ระบคุ วามเสย่ี ง และมรี ะบบจดั การความเสย่ี ง หลกั เกณฑ์ D2 การปกป้องส่ิงแวดล้อมท่ีมีความเปราะบาง มี ระบบติดตามประเมินผลกระทบทางส่งิ แวดล้อม ของการท่องเท่ียว ปกป้องแหล่งท่ีอยู่อาศัยของ ส่ิงมีชีวิต และป้องกันการรุกรานของสายพันธ์ุ ตา่ งถ่ิน หลกั เกณฑ์ D3 หลกั เกณฑ์ D4 การปกป้องพืชพันธ์ุและสัตว์ป่า มีระบบท่ี การปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก สอดคล้องกับกฎหมายและมาตรฐานท้ังใน มีระบบส่งเสริมให้ผู้ประกอบการ ระดบั ทอ้ งถ่นิ ระดบั ชาติ และระดบั นานาชาติใน วดั ผล ตดิ ตาม ลดผลกระทบ และ การลา่ จบั จดั แสดง และซอ้ื ขายพชื พนั ธแ์ุ ละ รายงานให้สาธารณชนรับรู้ในการ สตั วป์ า่ ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจาก การดำ�เนนิ การดา้ นตา่ งๆ หลกั เกณฑ์ D5 การอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน สง่ เสรมิ ใหผ้ ปู้ ระกอบการวดั ผล ตดิ ตาม ลดผลกระทบ และรายงานให้ สาธารณชนรบั รู้ ในการบรโิ ภคพลงั งานและการลดการพง่ึ พาเชอ้ื เพลงิ ฟอสซลิ 22

หลกั เกณฑ์ D6 การจัดการนำ้ � มีระบบส่งเสริมให้ผ้ปู ระกอบการวัดผล ติดตาม ลดผลกระทบ และรายงานใหส้ าธารณชนรบั รู้ ในการบรโิ ภคนำ้ � หลกั เกณฑ์ D7 การปอ้ งกนั การขาดแคลนนำ้ � มรี ะบบตดิ ตามประเมนิ ทรพั ยากร หลกั เกณฑ์ D8 แหล่งนำ้ �เพ่ือให้ม่ันใจว่าการบริโภคนำ้ �ของผู้ประกอบการต่างๆ หลกั เกณฑ์ D9 เปน็ ไปตามขอ้ กำ�หนดการใชน้ ำ้ �ของชมุ ชนในแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว คณุ ภาพนำ้ �มรี ะบบตรวจสอบคณุ ภาพนำ้ �โดยมาตรฐานคณุ ภาพนำ้ � ผลการตดิ ตามประเมนิ ผลเขา้ ถงึ ได้โดยสาธารณชน แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว มรี ะบบการรบั มอื กบั ประเดน็ เรอ่ื งคณุ ภาพนำ้ �ทท่ี นั ทว่ งที การบำ�บัดนำ้ �เสีย ควบคุมให้มีการบำ�บัดนำ้ �เสียและนำ�กลับไปใช้ ใหม่ หรือปลดปล่อยอย่างปลอดภัย โดยมีผลกระทบเชิงลบต่อ ประชากรทอ้ งถ่ินและสง่ิ แวดลอ้ มนอ้ ยทส่ี ดุ หลกั เกณฑ์ D10 การลดปริมาณขยะ มีระบบส่งเสริมให้ผู้ประกอบการลดขยะ นำ�กลบั มาใช้ใหม่ และรีไซเคลิ ขยะ ไดร้ บั การกำ�จดั อยา่ งปลอดภยั และยง่ั ยนื หลกั เกณฑ์ D11 มลภาวะทางแสงและเสียง มีแนวทางและข้อบังคับในการลด มลภาวะทางเสยี งและแสง สง่ เสรมิ ใหผ้ ปู้ ระกอบการปฏบิ ตั ติ าม แนวทางและขอ้ บงั คบั นน้ั หลกั เกณฑ์ D12 ระบบขนสง่ ทส่ี ง่ ผลกระทบตำ่ �มรี ะบบเพม่ิ การใชร้ ะบบขนสง่ ทส่ี ง่ ผลกระทบตำ่ �รวมถงึ ระบบขนสง่ สาธารณะ และระบบขนสง่ ท่ีไม่ ตอ้ งใชพ้ ลงั งาน เชน่ การเดนิ หรอื ปน่ั จกั รยาน 23

การท่องเทยี่ วโดยชุมชนของชุมชนกกสะทอน “ชมุ ชนกกสะทอน” ตง้ั อยใู่ นพน้ื ทต่ี ำ�บลกกสะทอน อำ�เภอดา่ นซา้ ย จงั หวดั เลย ประชากร ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพหลักด้านเกษตรกรรม ชุมชนกกสะทอนมีลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่ เปน็ ภเู ขา อยหู่ า่ งจากจงั หวดั เลยเปน็ ระยะทาง 122 กโิ ลเมตร มพี น้ื ทป่ี ระมาณ 187,500 ไร่ จากขอ้ มลู ทางการปกครองตำ�บลกกสะทอนประกอบไปดว้ ย 12 หมบู่ า้ น ไดแ้ ก่ หมทู่ ่ี 1 หมบู่ า้ นนำ้ �หมนั หมทู่ ่ี 7 บา้ นกกจาน หมทู่ ่ี 2 บา้ นนำ้ �เยน็ หมทู่ ่ี 8 บา้ นหว้ ยมนุ่ หมทู่ ่ี 3 บา้ นนาหวา้ นอ้ ย หมทู่ ่ี 9 บา้ นแกง่ ครก หมทู่ ่ี 4 บา้ นหมากแขง้ หมทู่ ่ี 10 บา้ นหวั นา หมทู่ ่ี 5 บา้ นหว้ ยมนุ่ หมทู่ ่ี 11 บา้ นหมนั ขาว หมทู่ ่ี 6 บา้ นตบู คอ้ หมทู่ ่ี 12 บา้ นตบู คอ้ โดยชมุ ชนกกสะทอนมอี าณาเขตพน้ื ทต่ี ดิ ตอ่ 3 จงั หวดั ประกอบดว้ ย 1 อำ�เภอดา่ นซา้ ย จงั หวดั เลย 2 อำ�เภอหลม่ เกา่ จงั หวดั เพชรบรู ณ์ 3 อำ�เภอนครไทย จงั หวดั พษิ ณโุ ลก 24

ชมุ ชนกกสะทอน มแี หลง่ ทอ่ งเทย่ี วสำ�คญั ทเ่ี ปน็ จดุ ดงึ ดดู ใจนกั ทอ่ งเทย่ี วใหเ้ ขา้ มาเยย่ี มเยอื นชมุ ชนอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และมีแนวโน้มเพ่มิ ข้นึ ดังเห็นได้จากข้อมูลจำ�นวนนักท่องเท่ยี ว ปี พ.ศ. 2558 มีนักท่องเท่ยี ว 12,000 คน และปี พ.ศ. 2559 จำ�นวน 16,000 คน นอกจากนก้ี ารเขา้ มาของนกั ทอ่ งเทย่ี วยงั สามารถสรา้ งรายไดเ้ สรมิ นอกเหนอื จากการประกอบ อาชพี เกษตรกรรมใหก้ บั คนในชมุ ชนกกสะทอน ชมุ ชนมรี ายไดจ้ ากการทอ่ งเทย่ี ว ในปี พ.ศ. 2558 เปน็ เงนิ 3.4 ลา้ นบาท และในปี พ.ศ. 2559 เพม่ิ ขน้ึ เปน็ จำ�นวน 4.4 ลา้ นบาท (ชมรมสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนกกสะทอน, 2560) โดยแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วสำ�คญั ของชมุ ชนกกกสะทอนประกอบดว้ ย 1 วนอทุ ยานเทดิ พระเกยี รติ ตง้ั อยทู่ บ่ี า้ นหมากแขง้ หมทู่ ่ี 4 2 นำ้ �ตกตาดหมอก ตง้ั อยทู่ บ่ี า้ นหวั นา หมทู่ ่ี 10 3 ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นาอาชพี ตง้ั อยทู่ บ่ี า้ นหวั นา หมทู่ ่ี 10 การเกษตรทส่ี งู จงั หวดั เลย 4 ชมุ ชนชาวเขาเผา่ มง้ ตง้ั อยทู่ บ่ี า้ นตบู คอ้ หมทู่ ่ี 6 5 นำ้ �ตกหมนั แดง ตง้ั อยทู่ บ่ี า้ นหมนั ขาว หมทู่ ่ี 11 6 รอยเทา้ ไดโนเสาร ์ ตง้ั อยทู่ บ่ี า้ นหมากแขง้ หมทู่ ่ี 4 7 ภลู มโล ตง้ั อยทู่ อ่ี ทุ ยานภหู นิ รอ่ งเกลา้ ซง่ึ เปน็ เขตเชอ่ื มตอ่ พน้ื ท่ี 3 จงั หวดั คอื เลย พษิ ณโุ ลก และเพชรบรู ณ์ 25

“ภลู มโล” เปน็ แหลง่ ชมนางพญาเสอื โครง่ ท่ีใหญท่ ส่ี ดุ ในประเทศไทย จนไดร้ บั สมญา นามว่า “ซากุระเมืองไทย” โดยภูลมโลถือเป็นจุดดึงดูดสำ�คัญในการดึงดูด นกั ทอ่ งเทย่ี วใหเ้ ขา้ มาเยย่ี มเยยี นชมุ ชนกกสะทอนมอี ตั ราเพม่ิ ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งนบั ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2553 เปน็ ตน้ มา ตามประวตั แิ ลว้ ภลู มโลเปน็ พน้ื ทภ่ี เู ขารกรา้ ง หรือเรียกตามภาษาชาวบ้านว่า ภูเขาหัวโล้น ยอดภูลมโลมีความสูงจากระดับ นำ้ �ทะเลปานกลาง ประมาณ 1,661 เมตรมอี ากาศหนาวเยน็ ตลอดทง้ั ปี โดย ความหมายแลว้ คำ�วา่ “ภลู มโล” หมายถงึ ภเู ขาทม่ี ลี มพดั ตลอดเวลา การพฒั นาภลู มโลใหเ้ ปน็ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วไดเ้ รม่ิ ดำ�เนนิ การมาตง้ั แต่ ปี พ.ศ. 2551 โดยหัวหน้าอุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้าได้ชักชวนให้ชาวบ้านในพ้ืนท่ี ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการปลูกต้นไม้นางพญาเสือโคร่งเพ่ือเพ่ิมศักยภาพพ้ืนท่ี ปา่ และพัฒนาเปน็ แหล่งท่องเทย่ี ว ปจั จบุ นั ภูลมโลมตี น้ ไม้นางพญาเสือโครง่ จำ�นวนกวา่ 160,000 ตน้ บนพน้ื ทก่ี วา่ 1,200 ไร่ ฤดกู าลทอ่ งเทย่ี วภลู มโลจะเปน็ ชว่ งปลายเดอื นธนั วาคม-กมุ ภาพนั ธข์ องทกุ ปี ซง่ึ เปน็ ชว่ งเวลาทย่ี อดภลู มโลจะมคี วามสวยงาม ตน้ นางพญาเสอื โครง่ จะผลดิ อก 26

เบง่ บานทำ�ใหย้ อดภลู มโลกลายเปน็ สชี มพู ดงึ ดดู ใจใหน้ กั ทอ่ งเทย่ี วเขา้ มาเยย่ี มชม และทอ่ งเทย่ี วในชมุ ชนกกสะทอน เพราะถงึ แมว้ า่ การขน้ึ ไปชมดอกนางพญาเสอื โครง่ จะสามารถขน้ึ ชมไดห้ ลายทางคอื ขน้ึ ทางอทุ ยานภหู นิ รอ่ งเกลา้ จงั หวดั พษิ ณโุ ลก บา้ นภทู บั เบกิ จงั หวดั เพชรบรู ณ์ และตำ�บลกกสะทอน จงั หวดั เลย แตท่ ผ่ี า่ นมาจะพบวา่ มนี กั ทอ่ งเทย่ี วทต่ี ง้ั ใจมาชมดอกนางพญาเสอ่ื โครง่ นยิ มท่ี จะเดนิ ทางขน้ึ ภลู มโลผา่ นทางตำ�บลกกสะทอนมากกวา่ เสน้ ทางอ่ืน จากแนวโน้มของปริมาณนักท่องเท่ียวภูลมโลท่ีเพ่ิมข้ึนมา ประกอบกับ เป้าหมายการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวอย่างย่ังยืน อพท. จึงได้เข้ามา มี บ ท บ า ท สำ� คั ญ ใ น กา ร พั ฒ นา ศั ก ย ภา พ ชุ ม ช น แ ล ะ เ ต รี ย ม ค วา ม พ ร้ อ ม ด้านการบริหารจัดการการท่องเท่ียวของชุมชน รวมท้ังมีบทบาทใน การส่งเสริมสนับสนุนและประสานงานให้ภาคีเครือข่ายการท่องเท่ียว และชุมชนในตำ�บลกกสะทอน อำ�เภอด่านซ้าย จังหวัดเลย ได้เข้ามามีส่วน ร่วมในการบริหารจัดการการท่องเท่ียวอย่างย่ังยืนของชุมชนกกสะทอน ตามเกณฑ์มาตรฐานการพัฒนาการท่องเท่ียวโดยชุมชนอย่างย่ังยืน เพ่ือ เป้าหมายในการพัฒนาการท่องเท่ียวโดยชุมชนของชุมชนกกสะทอนให้ เป็นชุมชนต้นแบบการพัฒนาการท่องเท่ียวโดยชุมชนอย่างย่ังยืน ท่ีชุมชน มสี ว่ นรว่ มในการคดิ วางแผน รว่ มปฏบิ ตั กิ าร รว่ มรบั ผดิ ชอบและรวมเปน็ ผรู้ บั ผลประโยชนจ์ าการทอ่ งเทย่ี วอยา่ งแทจ้ รงิ 27

การพฒั นาการท่องเทยี่ วโดยชุมชนอยา่ งย่งั ยนื ตามหลักเกณฑ์ GSTC ของชมุ ชนกกสะทอน โดยองคก์ ารบรหิ ารการพัฒนาพืน้ ที่พิเศษเพอ่ื การทอ่ งเทย่ี วอย่างยั่งยืน (องคก์ ารมหาชน) การพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนของชมุ ชนกกสะทอน กระบวนการพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนของชมุ ชนกกสะทอน นบั ตง้ั แต่ ปี พ.ศ. 2555 เปน็ ตน้ มา อพท. มอบหมายใหส้ ำ�นกั ทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน (สทช.) และ สำ�นกั งานพน้ื ทพ่ี เิ ศษเลย (อพท.5) เขา้ มาทำ�หนา้ ท่ี โดยผา่ นกระบวนการรบั รองแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วโดย ชมุ ชน ประกอบดว้ ย 3 ขน้ั ตอนคอื 1 จดั ตง้ั ชมรมสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนกกสะทอน 2 เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพและเตรยี มความพรอ้ มของชมรมสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนกกสะทอน 3 ตดิ ตามความกา้ วหนา้ การดำ�เนนิ งานของชมรมสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนกกสะทอน รายละเอยี ดการดำ�เนนิ งาน ดงั ตอ่ ไปน้ี ขน้ั ตอนท่ี 1 จดั ตง้ั ชมรมสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนกกสะทอน ประธาน ทป่ี รกึ ษาและประสานงาน รองประธาน ฝา่ ยประชา ฝา่ ยปฏคิ ม ฝา่ ยทะเบยี น ฝา่ ยอนรุ กั ษแ์ ละ ฝา่ ยรกั ษา ฝา่ ยเหรญั ญกิ เลขานกุ าร สมั พนั ธ์ สง่ เสรมิ วฒั นธรรม ความปลอดภยั ผชู้ ว่ ยฝา่ ย ผชู้ ว่ ย ผชู้ ว่ ยฝา่ ย ผชู้ ว่ ยฝา่ ยอนรุ กั ษ์ ผชู้ ว่ ยฝา่ ย ผชู้ ว่ ยฝา่ ย ผชู้ ว่ ย ประชาสมั พนั ธ์ ฝา่ ยปฏคิ ม ทะเบยี น และสง่ เสรมิ รกั ษาความ เหรญั ญกิ เลขานกุ าร วฒั นธรรม ปลอดภยั 28

กำ�หนดใหค้ ณะกรรมการชมรมสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน รบั ผดิ ชอบการพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนกกสะทอน 6 ขอ้ คอื 1 วิเคราะห์ ส่งเสริม และพัฒนาการท่องเท่ียว และกำ�หนด แนวทางการดำ�เนินงานให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาการ ทอ่ งเทย่ี วตามยทุ ธศาสตรช์ าติ 2 จัดทำ�แผนการท่องเท่ียวเพ่ือเป็นแผนแม่บทของการส่งเสริมและพัฒนาการ ทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนกกสะทอน 3 เช่อื มโยงแผนงานและบูรณาการแผนงานงบประมาณ เพ่อื ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ดา้ นการทอ่ งเทย่ี วทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ 4 ดำ�เนินการตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ เป้าหมายของชมรมส่งเสริม การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนกกสะทอน 5 ติดตาม ประเมินผลในการดำ�เนินงานด้านการท่องเท่ียวด้านการดำ�เนินงานและ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 6 รายงานผลการดำ�เนนิ งาน ตลอดจนปญั หาอปุ สรรค ขอ้ ขดั ขอ้ งในการดำ�เนนิ งานตอ่ ชมุ ชน องคก์ รภาคเี ครอื ขา่ ยดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว ขน้ั ตอนท่ี 2 เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพและการเตรยี มความพรอ้ มของชมรมสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนกกสะทอน ตง้ั แตป่ ี พ.ศ.2556-พ.ศ. 2558 อพท. โดยสำ�นกั ทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน และสำ�นกั งาน พ้นื ท่พี ิเศษเลยได้ดำ�เนินกิจกรรมเพ่อื เสริมสร้างศักยภาพและเตรียมความพร้อมแก่ชุมชน กกสะทอน ดงั ตอ่ ไปน้ี 1 การประชุมช้แี จงทำ�ความเข้าใจชมรมส่งเสริมการท่องเท่ยี วโดยชุมชนกกสะทอนเก่ยี วกับ เกณฑร์ บั รองแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน 2 การประชมุ รว่ มกบั ภาคเี ครอื ขา่ ยการพฒั นาการทอ่ งเทย่ี ว 3 จดั กจิ กรรมแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ และศกึ ษาดงู าน เพอ่ื เสรมิ สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั การพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วอยา่ งยง่ั ยนื แกผ่ นู้ ำ�ชมรมสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน 4 ฝกึ อบรมหรอื สง่ ผแู้ ทนชมรมฯ เขา้ รว่ มฝกึ อบรมในหลกั สตู รทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การทอ่ งเทย่ี ว 29

ขน้ั ตอนท่ี 3 ตดิ ตามความกา้ วหนา้ การดำ�เนนิ งานชมรมสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี ว โดยชมุ ชนกกสะทอน 1 ผา่ นกระบวนยอ่ ยในการตดิ ตาม 2 กระบวนการคอื กระบวนการประเมนิ ชมุ ชนตามเกณฑม์ าตรฐานการบรหิ ารจดั การแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน โดยมกี ารดำ�เนนิ การ 4 ขน้ั ตอนคอื ขน้ั ตอนท่ี 1 ชมรมสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนกกสะทอน ประเมนิ ตนเองตาม เกณฑม์ าตรฐานการบรหิ ารจดั การแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน ข้นั ตอนท่ี 2 สำ�นักท่องเท่ยี วโดยชุมชนและสำ�นักงานพ้นื ท่พี ิเศษเลยและชุมชน ร่วมกัน ประเมนิ ชมุ ชนตามเกณฑม์ าตรฐานการบรหิ ารจดั การแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน ขน้ั ตอนท่ี 3 สำ�นกั ทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน สรปุ ผลการประเมนิ ตามเกณฑม์ าตรฐานการบรหิ าร จดั การแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วชมุ ชน ปี 2557 และนำ�ผลการประเมนิ เปรยี บเทยี บกบั ผลการดำ�เนนิ งานในปที ผ่ี า่ นมา (พ.ศ. 2556) ข้นั ตอนท่ี 4 คณะทำ�งานรับรองแหล่งท่องเท่ยี วโดยชุมชน ลงพ้นื ท่ปี ระเมินผลภาพรวม เพอ่ื รบั รองผลการประเมนิ ปี 2557 2 กระบวนการตดิ ตามผลการพฒั นาชมุ ชนตน้ แบบ โดยมกี ารดำ�เนนิ การ 4 ขน้ั ตอนคอื ขน้ั ตอนท่ี 1 รวบรวม วเิ คราะหข์ อ้ มลู จากผลการประเมนิ ปี 2557 และรายงาน การตดิ ตามพฒั นาการประจำ�เดอื นของชมุ ชนกกสะทอนใน ปี พ.ศ. 2558 ข้ันตอนท่ี 2 คณะทำ�งานรับรองแหล่งท่องเท่ียวโดยชุมชนลงพ้ืนท่ีทดลอง กจิ กรรมทอ่ งเทย่ี วและประเมนิ ผลรว่ มกบั ชมุ ชนกกสะทอน ขน้ั ตอนท่ี 3 ฝา่ ยเลขานกุ าร (สำ�นกั ทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน) รวบรวมขอ้ มลู การ ประเมนิ สรปุ ผล และรายงานใหค้ ณะทำ�งานรบั รองแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วและชมุ ชน กกสะทอนไดร้ บั ทราบ ขน้ั ตอนท่ี 4 มอบประกาศนยี บตั รรบั รองผลการพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน 30

ผลการดำ�เนนิ งานการพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนของชมรมสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี ว โดยชมุ ชนกกสะทอน ตารางสรปุ ผลตดิ ตามความกา้ วหนา้ ในการบรหิ ารจดั การแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนของชมรม สง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนกกสะทอนตามเกณฑม์ าตรฐานการบรหิ ารจดั การแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว โดยชมุ ชนของ อพท. ปพี .ศ. 2556–2558 ซง่ึ เปน็ เกณฑท์ ่ีไดป้ ระยกุ ต์ใชม้ าจากเกณฑม์ าตรฐาน ดา้ นการทอ่ งเทย่ี วอยา่ งยง่ั ยนื สำ�หรบั แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว (GSTC-D) ครอบคลมุ ทง้ั 5 ดา้ น เกณฑม์ าตรฐาน ผลการดำ�เนนิ งานของชมรมสง่ เสรมิ ความเหน็ คณะ การทอ่ งเทย่ี ว การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนกกสะทอน ทำ�งานรบั รอง แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว โดยชมุ ชน ปี พ.ศ. 2556 ปี พ.ศ. 2557 อยา่ งยง่ั ยนื ต้ั ง ช ม ร ม อ ย่ า ง เป็ น มีข้อตกลงการประชุม ปี พ.ศ. 2558 ของ อพท. ทางการ มโี ครงสรา้ ง รว่ มกนั ทกุ วนั ท่ี 5 ข้ อ ต ก ล ง บ ริ ห า ร และสมาชกิ เปิดรับสมาชิกชมรมฯ จั ด ก า ร ท รั พ ยา ก ร 1 แผนยทุ ธศาสตร์ 3 ปี ปลี ะ 2 ครง้ั ดา้ นสงั คม ประเพณี ดา้ นการบรหิ าร จดั ทำ�ทะเบยี น กำ�หนดข้อปฏิบัติของ แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม ประวตั สิ มาชกิ นกั ทอ่ งเทย่ี ว และแจง้ ท่องเท่ียวยังไม่เป็น จดั การ มกี ฎระเบยี บใน ให้นักท่องเท่ียวทราบ รปู ธรรม การทอ่ งเทย่ี ว การทำ�งานรว่ มกนั กอ่ นเขา้ สโู่ ปรแกรมทกุ ยกระดับหรือขยาย มีกฎระเบียบสำ�หรับ ครง้ั ผ ล ข้ อ ต ก ล ง ก า ร โดยชมุ ชน นกั ทอ่ งเทย่ี วเรอ่ื ง ประเมินการดำ�เนิน บ ริ ห า ร จั ด ก า ร การจดั การขยะ งานรว่ มกบั ภาคอี ่ืนๆ ทรัพยากรธรรมชาติ มสี อ่ื แผน่ พบั แจก จดั งานวนั เทดิ แ ล ะ ส่ิ ง แว ด ล้ อ ม สู่ นกั ทอ่ งเทย่ี ว พระเกยี รติ ณ วงกวา้ งยงั ไมช่ ดั เจน มีระบบบัญชีการเงิน อทุ ยานบา้ นหมากแขง้ ควรมีการทำ�ประกัน ชดั เจน มี จนท. อบต. ทกุ วนั ท่ี 12 ธนั วาคม อุ บั ติ เห ตุ สำ� ห รั บ เปน็ ผตู้ รวจสอบ เปิดเผยรายงานด้าน นั ก ท่ อ ง เท่ี ย ว แ ล ะ มกี ลมุ่ เยาวชนเขา้ มี การเงินของชมรม ใน ดูแลเร่ืองทรัพย์สิน ส่วนร่วมในการแสดง ทป่ี ระชมุ ประจำ�เดอื น และทำ�แบบประเมนิ ทางวฒั นธรรม ความพงึ พอใจของ 31

เกณฑม์ าตรฐาน ผลการดำ�เนนิ งานของชมรมสง่ เสรมิ ความเหน็ คณะ การทอ่ งเทย่ี ว การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนกกสะทอน ทำ�งานรบั รอง แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว โดยชมุ ชน ปี พ.ศ. 2556 ปี พ.ศ. 2557 ปี พ.ศ. 2558 อยา่ งยง่ั ยนื กลมุ่ เยาวชนเขา้ มา นกั ทอ่ งเทย่ี ว ของ อพท. มสี ว่ นรว่ มทาง ข้ อ ร้ อ ง เ รี ย น การทอ่ งเทย่ี ว นักท่องเท่ียว ควร ดำ�เนินงานด้านการ มีการจดบันทึกเป็น พฒั นารว่ มกบั ภาคี ลายลกั ษณอ์ กั ษร 2 มีกฎระเบียบจัดสรร เงนิ ปนั ผลสมาชกิ ควรมรี ะบบการจำ� ดา้ นการ รายได้การท่องเท่ียว รอ้ ยละ 3 ของรายได้ หนว่ ยสนิ คา้ ชมุ ชน จดั การ ผา่ นปนั ผลปลี ะครง้ั ทอ่ งเทย่ี ว ใหช้ ดั เจน และ เศรษฐกจิ มีกองทุนส่วนกลาง ช่วงฤดูท่องเท่ียวปี การพฒั นาแปรรปู สงั คมและ ของชมรมท่ีนำ�ไปใช้ 56-57 ปนั ผลหนุ้ ละ สนิ คา้ ของฝาก คณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ี เพอ่ื กจิ กรรมของชมุ ชน 52 บาท ของทร่ี ะลกึ ใหม้ ี มีผลิตภัณฑ์ชุมช น นำ�เงินกองทุนกลาง ความหลากหลาย 3 จำ�หนา่ ย ของชมรมรอ้ ยละ 20 ควรจดั ทำ� ดา้ นการอนรุ กั ษ์ มี ก ลุ่ ม เ ยา ว ช น แ ล ะ ไปใชเ้ พอ่ื กจิ กรรม โครงการสบื คน้ และสง่ เสรมิ กลมุ่ สตรเี ขา้ มา ของชมุ ชน และรวบรวมขอ้ มลู มรดกวฒั นธรรม มสี ว่ นรว่ ม จัดสรรรายไ ด้เข้า เกย่ี วกบั มรดกและ เอกสารรวบรวม ชมรม รอ้ ยละ 10 จาก วฒั นธรรม ประวตั ศิ าสตรก์ าร รายไดข้ องแตล่ ะกลมุ่ ตอ่ สทู้ บ่ี า้ นหมากแขง้ สบื ทอดบนั ทกึ ไมไ่ ดร้ บั การดแู ล ประวตั ศิ าสตรอ์ นสุ รณ์ รกั ษา สถานเทดิ พระเกยี รติ หว้ ยหมากแขง้ มาใช้ ประโยชน์ในการ ทอ่ งเทย่ี ว 32

เกณฑม์ าตรฐาน ผลการดำ�เนนิ งานของชมรมสง่ เสรมิ ความเหน็ คณะ การทอ่ งเทย่ี ว การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนกกสะทอน ทำ�งานรบั รอง แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว โดยชมุ ชน อยา่ งยง่ั ยนื ปี พ.ศ. 2556 ปี พ.ศ. 2557 ปี พ.ศ. 2558 ของ อพท. มแี ผนใชอ้ นสุ รณส์ ถาน เผยแพรว่ ฒั นธรรม 4 เปน็ จดุ เรม่ิ เสน้ ทาง อาหาร ใหน้ กั ทอ่ งเทย่ี ว ดา้ นการจดั การ การทอ่ งเทย่ี ว นกั สอ่ื ความหมาย บรรจเุ รอ่ื งราว ผตี าโขน ทอ้ งถ่ินสอ่ื ความให้ ทรพั ยากร ลงในหลกั สตู รโรงเรยี น นกั ทอ่ งเทย่ี ว ธรรมชาตแิ ละ สง่ิ แวดลอ้ ม แบง่ การใชพ้ น้ื ทช่ี ดั เจน กำ�หนดการใชพ้ น้ื ท่ี ควรเพม่ิ ความหลาก อยา่ งเปน็ ระบบ ตามทอ่ี ทุ ยานกำ�หนด รว่ มกบั อทุ ยานภหู นิ หลายของเสน้ ทาง และยง่ั ยนื กำ�หนดจำ�นวนนกั รอ่ งเกลา้ และจดั โซน ทอ่ งเทย่ี ว และ ทอ่ งเทย่ี วตอ่ คนั รถ พน้ื ทท่ี อ่ งเทย่ี ว กจิ กรรมการทอ่ งเทย่ี ว 5 เอกสารรวมชอ่ื พนั ธ์ุไม้ ทำ�แผนทต่ี ามผงั ใชพ้ น้ื ท่ี ควรมกี ารทำ�ขอ้ ตกลง ดา้ นบรกิ ารและ และสมนุ ไพรตา่ งๆ ขอความรว่ มมอื เกบ็ ขยะ รว่ มกนั ระหวา่ งบา้ น ความปลอดภยั จดั กจิ กรรมปลกู ปา่ นำ�ฐานขอ้ มลู รอ่ งกลา้ และกกสะทอน โดยเฉพาะตน้ นางพญา ทรพั ยากรธรรมชาติ ควรมกี ารประสาน เสอื โครง่ ทกุ ปใี ห้ และสง่ิ แวดลอ้ มมาใช้ใน อทุ ยานแหง่ ชาติ นกั ทอ่ งเทย่ี วมสี ว่ นรว่ ม กจิ กรรมการทอ่ งเทย่ี ว เพอ่ื ขอขอ้ มลู พนั ธพ์ุ ชื และสตั วป์ า่ มสี มดุ เยย่ี มใหน้ กั ใหข้ อ้ มลู เกย่ี วกบั เสน้ จดั เตรยี มอปุ กรณ์ ทอ่ งเทย่ี วเขยี นความ ทาง ความปลอดภยั เพอ่ื ความปลอดภยั คดิ เหน็ ความพงึ พอใจ รวมทง้ั ขอ้ เทจ็ จรงิ เกย่ี ว และกระเปา๋ ความพยายามใหน้ กั กบั ปรมิ าณของดอก ยา สำ�หรบั การ ทอ่ งเทย่ี วใชร้ ถนำ�เทย่ี ว นางพญาเสอื โครง่ ท่ี ปฐมพยาบาลเบอ้ื งตน้ ของชมรมฯ เพอ่ื ความ กำ�ลงั บานหรอื รว่ งโรย ปรบั ปรงุ สถานท่ี ปลอดภยั กำ�หนดขดี ความสามารถ จดุ บรกิ ารนกั ทอ่ งเทย่ี ว ในการรองรบั นกั ทอ่ งเทย่ี ว และภมู ทิ ศั น์ 33

เกณฑม์ าตรฐาน ผลการดำ�เนนิ งานของชมรมสง่ เสรมิ ความเหน็ คณะ การทอ่ งเทย่ี ว การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนกกสะทอน ทำ�งานรบั รอง แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว โดยชมุ ชน ปี พ.ศ. 2556 ปี พ.ศ. 2557 ปี พ.ศ. 2558 อยา่ งยง่ั ยนื จดั ทำ�จดุ แสดงแผนท่ี ไมเ่ กนิ 10 คนตอ่ รถ มกี ารตดิ ตง้ั ปา้ ย และ ของ อพท. ทอ่ งเทย่ี วชมุ ชน นำ�เทย่ี ว 1 คนั จดั แสดงขอ้ มลู ตา่ งๆ กกสะทอน ท่ี อบต. มจี ดุ บรกิ ารนกั ทอ่ งเทย่ี ว จดั กจิ กรรมการ กกสะทอน จดั ทำ� แตต่ อ้ งปรบั ปรงุ ทอ่ งเทย่ี วทางเลอื กท่ี หอ้ งนำ้ �สำ�หรบั ภมู ทิ ศั นแ์ ละสถานท่ี หลากหลาย สามารถ นกั ทอ่ งเทย่ี วบนภลู มโล ทอ่ งเทย่ี วไดท้ ง้ั ปี มรี ะบบการตดิ ตอ่ ซกั ซอ้ มแผนฉกุ เฉนิ ประสานงานดา้ น อยา่ งนอ้ ยปลี ะ 1 ครง้ั บรกิ ารและมกี ารมอบ และควรมกี ารฝกึ หมายผรู้ บั ผดิ ชอบ อบรมกอ่ นถงึ ฤดกู าล ชดั เจน ทอ่ งเทย่ี วทกุ ปี การพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนของชมุ ชนกกสะทอนตามหลกั เกณฑด์ า้ นการ ทอ่ งเทย่ี วอยา่ งยง่ั ยนื สำ�หรบั แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว (Global Sustainable Tourism Council Criteria for Destinations: GSTC-D) บรหิ ารจดั การแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วมงุ่ สคู่ วามยง่ั ยนื ตามหลกั เกณฑข์ อง GSTC ครอบคลมุ องคป์ ระกอบ 4 ดา้ น ประกอบดว้ ย 1 การบรหิ ารจดั การอยา่ งยง่ั ยนื ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ 2 การเพม่ิ ผลประโยชนแ์ ละลดผลกระทบเชงิ ลบทางสงั คม เศรษฐกจิ และชมุ ชนทอ้ งถ่ิน 3 การเพม่ิ ผลประโยชนแ์ ละลดผลกระทบเชงิ ลบทางวฒั นธรรมแกช่ มุ ชนและนกั ทอ่ งเทย่ี ว 4 การเพม่ิ ผลประโยชนแ์ ละผลกระทบดา้ นลบทางสง่ิ แวดลอ้ ม และยงั มปี ระเดน็ ใดทย่ี งั เปน็ ปญั หาอปุ สรรคขอ้ จำ�กดั ไมส่ ามารถทำ�ใหก้ ารพฒั นา การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนกกสะทอนมคี วามยง่ั ยนื ตามเกณฑ์ ปรากฏรายละเอยี ด ดงั น้ี 34

ตารางสรปุ ผลจากศกึ ษาการพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนอยา่ งยง่ั ยนื ภายใตห้ ลกั เกณฑด์ า้ น การทอ่ งเทย่ี วอยา่ งยง่ั ยนื สำ�หรบั แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว (GSTC-D) ของชมุ ชนกกสะทอน มดี งั น้ี A ดา้ นบรหิ ารจดั การ B ดา้ นการเพม่ิ ผลประโยชน์ ความยง่ั ยนื อยา่ งมี และลดผลกระทบเชงิ ลบ ประสทิ ธภิ าพ ทางสงั คม เศรษฐกจิ แกช่ มุ ชนทอ้ งถน่ิ A1 การวางยทุ ธศาสตรร์ ะยะยาว จดั ทำ� B2 การจา้ งงาน รวมกลมุ่ ดำ�เนนิ กจิ กรรม แผนยทุ ธศาสตรห์ ลกั การพฒั นาการ และการจา้ งงานทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ รายไดจ้ าก ทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนของชมุ ชนกกสะทอน พ.ศ. 2559-2560 กจิ กรรมทเ่ี กย่ี วกบั การทอ่ งเทย่ี ว หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบบรหิ ารจดั การ A2 แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว คอื ชมรมสง่ เสรมิ B3 การมสี ว่ นรว่ มของสาธารณชน เปดิ โอกาสใหส้ มาชกิ ชมุ ชนมสี ว่ นรว่ มบรหิ าร การทอ่ งเทย่ี ว โดยชมุ ชนกกสะทอน และพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน A3 การตดิ ตามประเมนิ ผลแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว B7 การปอ้ งการการแสวงหาผลประโยชน์ มกี ารประเมนิ ตนเองของชมุ ชนและ B8 โดยมชิ อบ และ B9 การสนบั สนนุ � พฒั นาชมุ ชนอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ตดิ ตาม ผปู้ ระกอบการทอ้ งถน่ิ การคา้ ทเ่ี ปน็ ธรรม ผลการพฒั นาชมุ ชนตน้ แบบโดยคณะ มขี อ้ ตกลงและกำ�หนดแนวปฏบิ ตั ริ ว่ มกนั ทำ�งานรบั รองแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน ระหวา่ งชมรม และกลมุ่ ผปู้ ระกอบการ การสนบั สนนุ ชมุ ชน ในกจิ การสาธารณะ A4 การบรหิ ารจดั การฤดกู าลทอ่ งเทย่ี วอยา่ ง โดยการนำ�เงนิ รายไดข้ องชมรมฯ จำ�นวน เปน็ รปู ธรรม แบง่ เทศกาลการทอ่ งเทย่ี ว ออกเปน็ 3 ฤดกู าล ฤดหู นาว ฤดรู อ้ น ฤดฝู น และมกี จิ กรรมการทอ่ งเทย่ี วตาม รอ้ ยละ 10 มอบใหอ้ งคก์ ารบรหิ ารสว่ น ฤดกู าล อาทิ ชมความงามนางพญาเสอื ตำ�บลกกสะทอน หรอื โรงเรยี นในเขต โครง่ บนภลู มโล, ชมรอยเทา้ ไดโนเสาร์ พน้ื ท่ี หรอื หมบู่ า้ นเพอ่ื ใช้ในกจิ กรรม 130 ลา้ นป,ี ชมความงามนำ้ �ตกหมนั แดง สวสั ดกิ ารสงั คมและงานสาธารณะ 9 ชน้ั , รว่ มงานปใี หมช่ นเผา่ มง้ บา้ นตบู คอ้ หมบู่ า้ นเผา่ มง้ หมบู่ า้ นเดยี วในภาคอสี าน และจงั หวดั เล ฯลฯ 35

A8 การบรหิ ารจดั การใหท้ กุ คนสามารถเขา้ ถงึ D แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว เสนอโครงการเขา้ สแู่ ผน ยทุ ธศาสตรพ์ ฒั นาจงั หวดั เลย เพอ่ื ขอสนบั สนนุ งบประมาณสรา้ งถนนเพอ่ื เขา้ ถงึ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว A12 การวางมาตรการดา้ นความปลอดภยั และ สวสั ดภิ าพของนกั ทอ่ งเทย่ี ว จดั ทำ�บนั ทกึ ขอ้ ตกลงรว่ มกบั หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ดา้ นการเพม่ิ ผลประโยชนแ์ ละลด การวางแผนและเตรยี มความพรอ้ มเรอ่ื งการ ผลกระทบดา้ นลบทางสง่ิ แวดลอ้ ม A13 จดั การสภาวะวกิ ฤตและเหตฉุ กุ เฉนิ ทเ่ี ปน็ ระบบ มแี ผนรองรบั และการซกั ซอ้ ม และมี D1 ความเสย่ี งทางดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม ขน้ั ตอนและผรู้ บั ผดิ ชอบทช่ี ดั เจน ประเมนิ ตนเองตามเกณฑ์ C ดา้ นการเพม่ิ ผลประโยชน์ มาตรฐานการบรหิ ารจดั การ และลดผลกระทบเชงิ ลบ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน ทางวฒั นธรรมแกช่ มุ ชน ครอบคลมุ มติ ิ 5 ดา้ น ซง่ึ ในมติ ิ และนกั ทอ่ งเทย่ี ว ท่ี 4 พบวา่ ในปี พ.ศ. 2557 ชมุ ชนกกสะทอนกบั อทุ ยานภหู นิ รอ่ งกลา้ ไดร้ ว่ มกนั กำ�หนดการ C1 การปอ้ งกนั การทอ่ งเทย่ี ว จดั ทำ�บนั ทกึ ขอ้ ตกลง ใชพ้ น้ื ท่ี รวมทง้ั จดั ทำ�แผนท่ี เรอ่ื ง การบรหิ ารจดั การทอ่ งเทย่ี วภลู มโล ทอ่ งเทย่ี วตามผงั การใชพ้ น้ื ท่ี มี C2 การจดั การนกั ทอ่ งเทย่ี ว ออกประกาศ การกำ�หนดขดี ความสามารถใน ขอ้ หา้ มทต่ี อ้ งปฏบิ ตั สิ ำ�หรบั นกั ทอ่ งเทย่ี ว การรองรบั นกั ทอ่ งเทย่ี ว ในเกย่ี วกบั การหา้ มเกบ็ ของปา่ D6 การจดั การนำ้ � มกี ารจดั เกบ็ นำ้ � C5 การสอ่ื ความหมายสถานทท่ี อ่ งเทย่ี ว นำ�ฐาน กนิ นำ้ �ไวอ้ ปุ โภคและบรโิ ภคใน ขอ้ มลู ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม ยามขาดแคลน โดยโอง่ ดนิ เผา มาใช้ในกจิ กรรมการทอ่ งเทย่ี วของชมุ ชน ขนาดใหญ่ และสรา้ งฝายชะลอนำ้ � พน้ื ทภ่ี ลู มโล และพน้ื ทเ่ี ชอ่ื มโยง C6 ทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา มปี ระกาศ กำ�หนด ใหม้ นี ำ้ �ใชช้ ว่ งนำ้ �แลง้ ประเพณปี ใี หมม่ ง้ บา้ นตบู คอ้ และมกี าร ประกาศอนรุ กั ษร์ ายการอาหารพน้ื บา้ น ชมุ ชนกสะทอน 36

ขอ้ เสนอแนะสำ�หรบั แนวทางการขบั เคลอ่ื นการพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนอยา่ งยง่ั ยนื ดงั น้ี A ดา้ นบรหิ ารจดั การ B ดา้ นการเพม่ิ ผลประโยชนแ์ ละลดผล ความยง่ั ยนื อยา่ งมี กระทบเชงิ ลบทางสงั คม ประสทิ ธภิ าพ เศรษฐกจิ แกช่ มุ ชนทอ้ งถน่ิ A5 ปรบั ตวั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงทางสภาพภมู ิ B1 การตดิ ตามประเมนิ ผลทางเศรษฐกจิ ดว้ ย อากาศ ดำ�เนนิ การใหเ้ หน็ ผลเปน็ รปู ธรรม การพฒั นาระบบวดั ผลและรายงานขอ้ มลู การใช้ จา่ ยนกั ทอ่ งเทย่ี ว การจา้ งงาน และการลงทนุ A6 ประเมนิ ทรพั ยากรและสง่ิ ดงึ ดดู ใจ ทางการทอ่ งเทย่ี ว ดว้ ยการจดั ทำ� B4 การรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของชมุ ชนทอ้ งถน่ิ พฒั นา รายชอ่ื และแบง่ ชนดิ ของทรพั ยากร ระบบการจดั เกบ็ /ตรวจสอบ บนั ทกึ และเผยแพร่ รายงานข้อมูลความต้องการ ข้อกังวลและ และสง่ิ ดงึ ดดู ใจดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว ความพงึ พอใจของผอู้ าศยั ในแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว A10 ความพงึ พอใจของนกั ทอ่ งเทย่ี ว พฒั นา B5 การเขา้ ถงึ ทรพั ยากรของคนในทอ้ งถน่ิ พฒั นา ระบบการสำ�รวจความพงึ พอใจของ ระบบตดิ ตามประเมนิ พฤตกิ รรมและคณุ ลกั ษณะ นกั ทอ่ งเทย่ี ว การรายงานผลสู่ สาธารณะ และนำ�ผลไปใช้ในการพฒั นา ของคนในชมุ ชนและนกั ทอ่ งเทย่ี วจากในประเทศ และตา่ งประเทศทม่ี ตี อ่ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว C Dประโยชนแ์ ละลด ดา้ นการเพม่ิ ผล ดา้ นการเพม่ิ ผลประโยชนแ์ ละลด ผลกระทบเชงิ ลบทาง ผลกระทบดา้ นลบทางสง่ิ แวดลอ้ ม วฒั นธรรมแกช่ มุ ชน และนกั ทอ่ งเทย่ี ว ความเสย่ี งดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม ดำ�เนนิ การอยา่ ง D1 เปน็ รปู ธรรมในการประเมนิ ดา้ นความยง่ั ยนื C1 การปอ้ งกนั สถานทท่ี อ่ งเทย่ี ว พฒั นา และระบบทจ่ี ะรบั มอื กบั ความเสย่ี งนน้ั ๆ ระบบการจดั การเพอ่ื ตรวจสอบ D2 ปกปอ้ งสง่ิ แวดลอ้ มทม่ี คี วามเปราะบาง พฒั นา วดั ผล และบรรเทาผลกระทบจาก ระบบการจดั การทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั เกณฑ์ใหเ้ ปน็ รปู ธรรม การทอ่ งเทย่ี วทม่ี ตี อ่ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว D4 การปลดปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก D5 การอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน D8 คณุ ภาพนำ้ � D9 การบำ�บดั นำ้ �เสยี D12 ระบบขนสง่ ทส่ี ง่ ผลกระทบตำ่ � 37

แบบทดสอบหลังเรยี น 1. ขอ้ ใดคอื หลกั การสำ�คญั ของการพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน ก. การท่องเท่ียวโดยชุมชนเป็นเคร่ืองมือเสริมสร้างความเข้มแข็งขององค์กร ชาวบา้ นในการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละวฒั นธรรม ข. การท่องเท่ียวโดยชุมชนเป็นกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ในการ กำ�หนดทศิ ทางการพฒั นาการทอ่ งเทย่ี ว และรว่ มรบั ผลประโยชนจ์ ากการทอ่ งเทย่ี ว ค. การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนเปน็ การทอ่ งเทย่ี วทส่ี ง่ เสรมิ การพฒั นาเศรษฐกจิ สงั คม และการกระจายรายไดแ้ กค่ นในชมุ ชน ง. ขอ้ ก และขอ้ ข 2. ขอ้ ใดคอื นยิ ามทถ่ี กู ตอ้ งของการพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วอยา่ งยง่ั ยนื ตามความหมายขององคก์ ารการทอ่ งเทย่ี วโลก (UNWTO) ก. การทอ่ งเทย่ี วทต่ี ระหนกั ถงึ ทรพั ยากรธรรมชาติ การเคารพสงั คม วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ีชวี ติ ของคนในทอ้ งถ่ิน ข. การทอ่ งเทย่ี วทต่ี ระหนกั ถงึ ทรพั ยากรธรรมชาติ ความหลากหลายทางชวี ภาพ การเคารพสังคม วัฒนธรรมประเพณี และวิถีชีวิตของคนในท้องถ่ิน การสร้าง ความเจรญิ ม่ันคงทางเศรษฐกจิ อยา่ งยง่ั ยนื ค. การทอ่ งเทย่ี วทต่ี ระหนกั ถงึ ทรพั ยากรธรรมชาติ ความหลากหลายทางชวี ภาพ การเคารพสังคม วัฒนธรรมประเพณี และวิถีชีวิตของคนในท้องถ่ิน รวมท้ัง การสรา้ งความเจรญิ มง่ั คงทางเศรษฐกจิ อยา่ งยง่ั ยนื และการกระจายรายไดอ้ ยา่ ง เปน็ ธรรม ง. การทอ่ งเทย่ี วทต่ี ระหนกั ถงึ ทรพั ยากรธรรมชาติ ความหลากหลายทางชวี ภาพ การเคารพสงั คม และมกี ารกระจายรายไดอ้ ยา่ งเปน็ ธรรมไปสชู่ มุ ชน 38

3. เกณฑ์ด้านการท่องเท่ียวอย่างย่ังยืนสำ�หรับแหล่งท่องเท่ียว (Global Sustainable Tourism Council Criteria for Destinations: GSTC-D) ได้ใหค้ วามสำ�คญั กบั การบรู ณาการและการมองภาพรวม การบรหิ ารจดั การแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วครอบคลมุ 4 ดา้ น คอื ก. ดา้ นการบรหิ ารจดั การดา้ นความยง่ั ยนื ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ ดา้ นการเพม่ิ ผลประโยชน์ และลดผลกระทบเชิงลบทางสังคม เศรษฐกิจแก่ชุมชนท้องถ่ิน ด้านการเพ่ิม ผลประโยชน์และผลกระทบเชิงลบทางวัฒนธรรมแก่ชุมชนและนักท่องเท่ียว และ ดา้ นการจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งเปน็ ระบบและยง่ั ยนื ข. ด้านการบริหารจัดการการท่องเท่ียวโดยชุมชนอย่างย่ังยืน ด้านการเพ่ิมผล ประโยชน์ และลดผลกระทบเชงิ ลบทางสงั คม เศรษฐกจิ แกช่ มุ ชนทอ้ งถ่ิน ดา้ นการเพม่ิ ผลประโยชน์ และลดผลกระทบเชงิ ลบทางวฒั นธรรมแกช่ มุ ชนและนกั ทอ่ งเทย่ี ว และ ดา้ นการเพม่ิ ผลประโยชนแ์ ละลดผลกระทบดา้ นลบทางสง่ิ แวดลอ้ ม ค. ดา้ นการบรหิ ารจดั การดา้ นความยง่ั ยนื ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ ดา้ นการเพม่ิ ผลประโยชน์ และลดผลกระทบเชิงลบทางสังคม เศรษฐกิจแก่ชุมชนท้องถ่ิน ด้านการเพ่ิม ผลประโยชน์ และลดผลกระทบเชงิ ลบทางวฒั นธรรมแกช่ มุ ชนและนกั ทอ่ งเทย่ี ว และ ดา้ นการจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม ง. ด้านการบริหารจัดการด้านความย่ังยืนท่ีมีประสิทธิภาพ ด้านเพ่ิมผลประโยชน์ และลดผลกระทบเชงิ ลบทางสงั คม เศรษฐกจิ แกช่ มุ ชนทอ้ งถ่ิน ดา้ นเพม่ิ ผลประโยชน์ และลดผลกระทบเชงิ ลบทางวฒั นธรรมแกช่ มุ ชนและนกั ทอ่ งเทย่ี ว และดา้ นการเพม่ิ ผลประโยชนแ์ ละลดผลกระทบดา้ นลบทางสง่ิ แวดลอ้ ม 4. ขอ้ ใดไม่ใชห่ ลกั การของการพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วอยา่ งยง่ั ยนื ตาม ความหมายขององคก์ ารการทอ่ งเทย่ี วโลก (UNWTO) ก. การพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วทค่ี ำ�นงึ ถงึ ขดี ความสามารถในการรองรบั ของพน้ื ท่ี ข. ประชาชนมสี ว่ นรว่ มในการบรหิ ารจดั การ ค. การพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วทส่ี รา้ งความเจรญิ มง่ั คง่ั ทางเศรษฐกจิ ง. มกี ารกระจายผลประโยชนอ์ ยา่ งเปน็ ธรรมสชู่ มุ ชน 39

5. ชมรมสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนกกสะทอนมวี ธิ กี ารบรหิ ารจดั การทเ่ี ปดิ โอกาสใหป้ ระชาชนในชมุ ชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วดว้ ยวธิ ีใด ก. การเปิดโอกาสให้คนในชุมชนสามารถสมัครเป็นสมาชิกชมรมส่งเสริมการท่องเท่ียวโดยชุมชน กกสะทอน ปลี ะ 2 ครง้ั ข. การจัดต้ังกลุ่มผู้ประกอบการท่องเท่ียว อาทิ กลุ่มรถยนต์นำ�เท่ียว กลุ่มบ้านพักโฮมสเตย์ กลมุ่ แมบ่ า้ นประกอบอาหาร กลมุ่ ผลติ ภณั ฑช์ มุ ชน เปน็ ตน้ ค. การประกาศใหช้ มุ ชนสามารถเขา้ รว่ มรบั ฟงั การประชมุ ของคณะกรรมการชมรมฯ ทจ่ี ดั ประชมุ ใน ทกุ วนั ท่ี 5 ของเดอื น ง. ถกู ทกุ ขอ้ 6. ขอ้ ใดคอื กระบวนการพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนของชมุ ชนกกสะทอน ก. การจัดต้งั ชมรมการส่งเสริมการท่องเท่ยี วโดยชุมชน การเสริมสร้างศักยภาพและเตรียม ความพร้อมคณะกรรมการชมรมส่งเสริมการท่องเท่ยี วโดยชุมชน การติดตามความก้าวหน้า การพฒั นาชมุ ชนตน้ แบบ ข. การจัดต้ังชมรมส่งเสริมการท่องเท่ียวโดยชุมชน การเสริมสร้างศักยภาพและเตรียม ความพร้อมคณะกรรมการชมรม การประเมินชุมชน และการติดตามผลการดำ�เนินงานการ พฒั นาชมุ ชนตน้ แบบ ค. การจัดต้ังชมรมส่งเสริมการท่องเท่ียวโดยชุมชน การเสริมสร้างศักยภาพและเตรียม ความพรอ้ มชมรมสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน การตดิ ตามความกา้ วหนา้ การดำ�เนนิ งานของ ชมรมการสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน ง. การจัดต้ังชมรมส่งเสริมการท่องเท่ียวโดยชุมชน การเสริมสร้างศักยภาพและเตรียม ความพร้อมชมรมส่งเสริมการท่องเท่ียวโดยชุมชน การดำ�เนินกิจกรรมพัฒนาชุมชนต้นแบบ การตดิ ตามความกา้ วหนา้ การดำ�เนนิ งานของชมรมการสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน 7. ขอ้ ใดเปน็ วธิ กี ารอนรุ กั ษแ์ ละสง่ เสรมิ มรดกทางวฒั นธรรมของชมุ ชนกกสะทอน ก. การมเี อกสารรวบรวมประวตั ศิ าสตรข์ องแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว ข. การเผยแพรว่ ฒั นธรรมดา้ นอาหารทอ้ งถ่ิน ค. มขี อ้ มลู สอ่ื ความหมายสำ�หรบั นกั ทอ่ งเทย่ี วในแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วธรรมชาตแิ ละวฒั นธรรม ง. ถกู ทง้ั ขอ้ ก และ ข 40

8. ขอ้ ใดไม่ใชว่ ธิ กี ารบรหิ ารจดั การเพอ่ื แกไ้ ขปญั หาดา้ นผลกระทบทาง สง่ิ แวดลอ้ มของชมุ ชนกกสะทอน ก. การจดั ทำ�รายชอ่ื และแบง่ ชนดิ ทรพั ยากรและสง่ิ ดงึ ดดู ใจ ข. การจดั ทำ�ประกาศขอ้ หา้ มปฏบิ ตั สิ ำ�หรบั นกั ทอ่ งเทย่ี ว ค. รว่ มกบั อทุ ยานภหู นิ รอ่ งกลา้ กำ�หนดการใชพ้ น้ื ทท่ี ง้ั พน้ื ทเ่ี กษตร พน้ื ทอ่ี นรุ กั ษ์ พน้ื ทท่ี อ่ งเทย่ี ว ง. สรา้ งฝายชะลอนำ้ �ในพน้ื ทภ่ี ลู มโลและพน้ื ทเ่ี ชอ่ื มโยง 9. ขอ้ ใดเปน็ วธิ กี ารบรหิ ารจดั การการเพอ่ื แกไ้ ขปญั หาดา้ นความยง่ั ยนื ทม่ี ี ประสทิ ธภิ าพของชมุ ชนกกสะทอน ก. การจดั ทำ�แผนรองรบั กรณเี กดิ เหตฉุ กุ เฉนิ แกน่ กั ทอ่ งเทย่ี วและมกี ารกำ�หนดผรู้ บั ผดิ ชอบ ข. การจดั ทำ�แผนยทุ ธศาสตรห์ ลกั การพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนกกสะทอน ค. การมีข้อตกลงและแนวปฏิบัติร่วมกันระหว่างชมรมส่งเสริมการท่องเท่ียวโดยชุมชน กกสะทอนกบั กลมุ่ ผปู้ ระกอบการเกย่ี วกบั การทอ่ งเทย่ี ว ง. การแบง่ รายไดจ้ ากการทอ่ งเทย่ี ว รอ้ ยละ 10 สนบั สนนุ กจิ กรรมสาธารณะของชมุ ชน 10. ขอ้ ใดเปน็ วธิ กี ารบรหิ ารจดั การเพอ่ื แกไ้ ขปญั หาดา้ นผลกระทบ ทางสง่ิ แวดลอ้ มของชมุ ชนกกสะทอน ก. พฒั นาแผนงานเพอ่ื ปกปอ้ งทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา ข. การพฒั นาระบบจดั การเพอ่ื ตรวจสอบ ปอ้ งกนั สถานทท่ี อ่ งเทย่ี ว ค. การจดั ทำ�ประกาศขอ้ หา้ มปฏบิ ตั สิ ำ�หรบั นกั ทอ่ งเทย่ี วและการกำ�หนดการใชพ้ น้ื ท่ี ง. การจดั ระเบยี บการเดนิ รถรบั สง่ นกั ทอ่ งเทย่ี ว โดยการควบคมุ สมรรถนะรถและผขู้ บั รถยนต์ นำ�เทย่ี ว 41

คำ�ถามอภิปรายทา้ ยบท 1 กระบวนการพัฒนาการท่องเท่ียวโดยชุมชนอย่างย่ังยืนของชุมชนกกสะทอน เปน็ เชน่ ไร 2 การบรหิ ารจดั การการทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนของชมุ ชนกกสะทอนจะมคี วามยง่ั ยนื ไดอ้ ยา่ งไร 3 การแก้ไขปัญหาด้านการบริหารจัดการด้านส่ิงแวดล้อมของชุมชนกกสะทอน ควรจะมแี นวทางอยา่ งไร 4 แนวทางการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนกกสะทอนในการรักษา ทรพั ยากรธรรมชาติ และวฒั นธรรมทอ้ งถ่ินของชมุ ชนควรดำ�เนนิ การเชน่ ไร 5 ใหพ้ จิ ารณากำ�หนดมาตรการในการรองรบั การเปลย่ี นแปลงทางสภาพแวดลอ้ ม และภูมิอากาศเพ่อื การรักษาทรัพยากรส่งิ แวดล้อมให้มีความย่งั ยืนของชุมชน กกสะทอน 42 เฉลยแบบทดสอบ ่กอนและห ัลงเรียน 1 ง 2ค 3ง 4 ค 5ง 6 ค 7 ค 8 ก 9 ข 10 ค

ขอบคุณข้อมูล ชมรมส่งเสริมการท่องเท่ียวโดยชุมชนกกสะทอน. แผนยุทธศาสตร์หลักในการ พัฒนาการท่องเท่ียวโดยชุมชน ของชมรมส่งเสริมการท่องเท่ียวโดยชุมชนกกสะทอน. ปี พ.ศ.2559-2561 ภูลมโล. เอกสารแผ่นพับ แผนรองรับกรณเี กดิ เหตฉุ ุกเฉนิ . โปสเตอร์ประชาสมั พันธ์ ข้อแนะนำ� การข้ึนชมนางพญาเสือโคร่งบนภลู มโลทางกกสะทอน อำ� เภอด่านซา้ ย จังหวัดเลย. ปา้ ยประชาสมั พันธ์. ประกาศชมรมส่งเสริมการท่องเท่ียวโดยชุมชน เร่ือง การกำ� หนดราคาคา่ บริการการ ท่องเที่ยวของกลมุ่ ผูป้ ระกอบการลงวนั ที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ.2556. แบบส�ำรวจความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มีต่อการให้บริการของชมรมส่งเสริมการ ท่องเที่ยวโดยชุมชนกกสะทอน ต�ำบลกกสะทอน จังหวัดเลย พ.ศ. 2559. ส�ำนัก ท่องเที่ยวโดยชุมชน. 2559. รายงานการติดตามความก้าวหน้าชมรมส่งเสริมการ ท่องเที่ยวโดยชุมชนกกสะทอน ปี พ.ศ.2556-2558. คมู่ อื เกณฑม์ าตรฐานการบริหารจัดการแหลง่ ทอ่ งเท่ียวโดยชุมชน. โรงพยาบาลสมเด็จพระ ยพุ ราชด่านซ้ายกับชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนกกสะทอน. บนั ทกึ ขอ้ ตกลงวา่ ดว้ ยความรว่ มมอื ดา้ นการรองรับอบุ ตั เิ หตฉุ กุ เฉนิ นกั ทอ่ งเท่ียวระหวา่ ง โรงพยาบาลสมเด็จพระยพุ ราชด่านซ้ายกับชมรมส่งเสริมการท่องเท่ียวโดยชุมชน. วันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559. โย ล�ำพึง. ไม่ปรากฏปีท่ีพิมพ์. ภูลมโลกับการท่องเท่ียวโดยชุมชน. เลขานุการคณะ กรรมการชมรมส่งเสริมการทอ่ งเท่ียวโดยชุมชนกกสะทอน. อุทยานภูหินร่องกล้าและชมรมส่งเสริมการท่องเท่ียวโดยชุมชนกกสะทอน. บันทึกข้อ ตกลงเร่ืองการบริหารจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน วันที่ 9 กรกฏาคม พ.ศ.2559. Global Sustainable Tourism Council. 2017. Global Sustainable Tourism Criteria for Destinations. Retrieved from http://www.gstcouncil.org/en/gstc- criteria-hotels-tour-operators-destinations/sustainable-tourism -gstc-criteria.html 43

องค์การบรหิ ารการพัฒนาพืน้ ท่ีพเิ ศษเพื่อการท่องเที่ยวอยา่ งย่งั ยืน (องคก์ ารมหาชน) 118/1 อาคารทปิ โก้ ชัน้ 31 ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 www.facebook.com/DASTATHAILAND www.facebook.com/SaiJaiPaiTiew



Contents Description 4 Pre-test 6 Introduction 10 Global Sustainable Tourism Council 14 Criteria for Destinations: (GSTC-D) Community-Based Tourism of Kok Sathon Community 24 CBaosmemduonnity-GBSaTsCe-dDDoesftiKnaotkionSaMthaonnagCeommemntunCirtyiterbiya 28 theDesignatedAreasforSustainableTourismAdministration Post-test 38 Bibliography 43

1st edition : September 2017 Advisors : Colonel Nalikatibhag Sangsnit, Ph.D. Dr. Chuwit Mitrchob Palakorn Buppatanakorn Authors : Assoc.Prof. Therdchai Choibamroong, Ph.D. Dr. Worarak Sucher Working Group : Praphatsorn Vardhanabhuti Nawan Thinnarach Knowledge Management Department, Strategic Management Office, The Designated Areas for Sustainable Tourism Administration (Public Organization). 118/1 Tipco Tower, 31st floor, Rama VI Road, Khwaeng Samsen Nai, Khet Phayathai, Bangkok 10400 Tel : 0 2357 3580-7, Fax : 0 2357 3599 Website : http://www.dasta.or.th www.facebook.com/DASTATHAILAND www.facebook.com/SaiJaiPaiTiew Published by Cocoon and Co. Limited 32 Soi Chokchai 4, Soi 84, Chokchai Rd.,Khwaeng Lat Phrao, Khet Lat Phrao, Bangkok 10230 Tel : 0 2116 9959, 08 7718 7324 , Fax : 0 2116 9958 E-mail : [email protected]

Description This handout can be used as a teaching aid in courses related to sustainable tourism development or Community-Based tourism management in undergraduate study in the field of Tourism Management and Hospitality or other related fields in tourism. It can be used in teaching given by the Designated Areas for Sustainable Tourism Administration (Public Organization) or DASTA. The course corresponds with local condition and Global Sustainable Tourism Council Criteria for Destinations (GTSC-D). The key elements of the handout are a pretest, the course content, and post-lesson reflective questions. It can be used in a class of 25-30 students which are divided into 5-6 groups each to do a range of class activities. An instructor has to prepare for the course by thoroughly studying the subject matter and preparing other instructional materials such as pictures, videos, and real learning sources in the educational institution. To best achieve the learning objectives, the handout should be used in the following order: first of all, the pretest should be taken at the very beginning to test students’ knowledge prior to the course. After the pretest, the instruction can begin and be followed by group discussions about different issues in post-lesson reflective questions in order to develop analytical skills and test the students’ understanding towards the course before concluding the main ideas. 4

Learning objectives 1 To understand sustainable tourism development according to the Global Sustainable Tourism Council Criteria for Destinations (GSTC-D) of the Global Sustainable Tourism Council (GSTC). 2 To learn the administrative procedures of the Designated Areas for Sustainable Tourism Administration (Public Organization) or DASTA in supporting Community- Based tourism development of Kok Sathon Community and solving problems related to sustainable tourism development. 3 To be able to apply the Global Sustainable Tourism Council Criteria for Destinations (GSTC-D) to promote sustainable Community-Based tourism development. Course duration 3 hours Learning outcomes Knowledge: Students have the knowledge and understanding of the concept of sustainable tourism development, Community-Based tourism development, the Global Sustainable Tourism Council Criteria for Destinations (GTSC-D), and the roles of the Designated Areas for Sustainable Tourism Administration (Public Organization) or DASTA in supporting Community-Based Tourism development. Wisdom: Students learn empirical data that encourages the ability to think, analyze, reflect on issues related to Community-Based tourism management, and apply the knowledge gained about the sustainable tourism development based on the Global Sustainable Tourism Criteria for Destinations (GSTC-D). Morality: Students have a sense of responsibility towards their assigned work and are able to develop a work plan to efficiently achieve goals through a cooperation within their teams. They develop a sense of hard-work and dedication and favor working towards success based on moral principles. Interpersonal relationships: Students have opportunities to engage in a cooperation with one another through group activities in order to achieve a successful teamwork, encourage positive relationships with others, and promote working with great efficiency. 5

Pretest 1. What is an important principle of Community-Based Tourism development? a. Community-Based tourism is a tool to strengthen a community in cultural and natural resource management. b. Community-Based Tourism is participated by local residents. They can help direct their community’s tourism development and gain benefits from it. c. Community-Based Tourism is tourism that helps promote economic and social development as well as income distribution among local residents. d. a. and b. 2. What is a correct definition of sustainable tourism development according to the World Tourism Organization (UNWTO)? a. Tourism that takes full account of its natural resources and respects the host communities’ cultures and local ways of life. b. Tourism that takes full account of its natural resources and biodiversity, respects the host communities’ cultures and local ways of life, and ensures long-term economic growth and stability. c. Tourism that takes full account of its natural resources and biodiversity, respects the host communities’ cultures and local ways of life, ensures long-term economic growth and stability with fair income distribution. d. Tourism that takes full account of its natural resources and biodiversity, respects the host communities’ cultures and local ways of life, and ensures fair income distribution within the host communities. 6


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook