Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบสมัครเข้าร่วมโครงการวิทยาศาสตร์พลังสิบ ระดับมัธยมศึกษา คบ ยะลา

ใบสมัครเข้าร่วมโครงการวิทยาศาสตร์พลังสิบ ระดับมัธยมศึกษา คบ ยะลา

Published by ครรชิต แซ่โฮ่, 2022-05-31 14:47:49

Description: ใบสมัครเข้าร่วมโครงการวิทยาศาสตร์พลังสิบ ระดับมัธยมศึกษา คบ ยะลา

Search

Read the Text Version

การสมคั รเข้ารว่ ม โครงการวทิ ยาศาสตร์พลงั สบิ ระดบั มัธยมศึกษา โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษายะลา สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน

ใบสมัครเข้าร่วมโครงการวิทยาศาสตรพ์ ลงั สิบ ระดบั มัธยมศกึ ษา สังกดั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน 1. ข้อมูลพน้ื ฐานโรงเรียน รหัสโรงเรียน 10 หลัก 1 0 9 5 4 4 0 2 1 4 ชื่อโรงเรียน โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จงั หวดั ยะลา ท่ตี ง้ั 125 หมู่ - ถนน พพิ ิธภกั ดี ตาบล สะเตง อาเภอ เมอื งยะลา จงั หวัด ยะลา รหสั ไปรษณยี ์ 95000 เบอร์โทรศัพท์ 0-7321-2820 Email [email protected] สังกดั สานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษา ยะลา จานวนนักเรียนระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 – 6 รวมทง้ั สนิ้ 2,424 คน จาแนกเปน็ หลักสตู รการจดั การเรียนการสอน ระดับ หลกั สูตร หลักสตู ร หลกั สูตร หลักสูตร หลกั สตู ร หลกั สตู ร หลักสูตร ชน้ั EP SMA SMT หอ้ งเรยี นดนตรี SMTE IEP ห้องเรยี นปกติ จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน นกั เรียน ห้อง นักเรยี น ห้อง นักเรยี น ห้อง นักเรยี น ห้อง นกั เรียน ห้อง นักเรียน หอ้ ง นักเรียน หอ้ ง ม.1 29 1 36 1 36 1 - - - - - - 307 8 ม.2 32 1 35 1 34 1 17 1 - - - - 318 8 ม.3 34 1 36 1 34 1 10 1 - - - - 310 8 ม.4 - - 36 1 - - - - 28 1 14 1 343 9 ม.5 - - 35 1 - - - - 30 1 21 1 299 8 ม.6 - - 27 1 - - 3 1 24 1 27 1 269 8 หมายเหตุ : 1. โปรดระบชุ ่ือหลักสูตร อาทิ GIFTED คณิตศาสตร์-วทิ ยาศาสตร์, EP และ MEP 2. โปรดระบใุ ห้ครบทุกหลักสตู ร โดยสามารถเพ่มิ ตารางเพ่ือระบุข้อมูลหลักสตู รได้ 3. EP : English Program โครงการจัดการเรียนการสอนตามหลกั สตู รกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เป็นภาษาอังกฤษ มีรายวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เพ่ิมเตมิ ซึง่ จัดการเรยี นการสอนโดยครูชาวตา่ งชาติ 4. SMA : Science Math Ability โครงการพฒั นาและสง่ เสริมนกั เรียนท่มี ีความสามารถ พเิ ศษด้านวทิ ยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 5. ห้องเรียนดนตรี : โครงการห้องเรยี นดนตรี (MAP : Musical Ability Program) มีการจดั รายวชิ า วิทยาศาสตรเ์ พ่ิมเตมิ ใหก้ บั นกั เรยี น 6. SMT : Enrichment Program of Science Mathematics and Technology โครงการ หอ้ งเรยี นพิเศษวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี 7. SMTE : Enrichment Program of Science Mathematics Technology and Environment โครงการหอ้ งเรยี นพเิ ศษ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสง่ิ แวดลอ้ ม ของ สพฐ. 8. IEP : Intensive English Program โครงการจดั การเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษ

ดา้ นครผู ูส้ อนทางคณิตศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ สาขาวิชา ขอ้ มูลการสาเรจ็ การศึกษา จานวนชวั่ โมงสอนเฉลีย่ จบตรงสาขา จบไมต่ รงสาขา รวมจานวน (คน) (คาบ/คน/สปั ดาห)์ 1) คณิตศาสตร์ 16 - 16 17.0 2) เคมี 4- 4 16.5 3) ฟิสิกส์ 4- 4 18.5 4) ชีววทิ ยา 4- 4 17.75 5) โลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ - 3 3 18.0 6) คอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยี 4 - 4 18.0 7) วทิ ยาศาสตร์ทัว่ ไป 6- 6 18.67 8) สาขาอืน่ ๆ -- - - หมายเหตุ : - จบตรงสาขาวชิ า อาทิ ครูผสู้ อนสาขาวิชาฟิสิกส์ มวี ุฒิการศึกษา วท.บ.ฟสิ กิ ส์ ค.บ.ฟิสกิ ส์ กศ.บ.ฟสิ กิ ส์ ศศ.บ.ฟสิ ิกส์ - จบไม่ตรงสาขา อาทิ ครูผู้สอนสาขาวชิ าชีววทิ ยา มวี ุฒกิ ารศึกษา พ.บ. วท.บ.เทคโนโลยอี าหาร วท.บ.วิทยาศาสตร์สงิ่ แวดล้อม โรงเรียนมกี ารจา้ งบคุ ลากรสายสนับสนนุ  ไมม่ ี  มี โปรดระบุ 1. เจ้าหนา้ ทหี่ ้องปฏบิ ตั ิการทางวทิ ยาศาสตร์ จานวน ……-…… คน 2. เจ้าหนา้ ท่ีทางธุรการ (งานพสั ดุ งานการเงนิ และบญั ช)ี จานวน ……2…… คน 3. อืน่ ๆ ……-…………………………………… 2. ขอ้ มูลห้องปฏบิ ัติการและอาคารสถานที่ ความพร้อมดา้ นอาคารสถานทขี่ องการจดั ห้องเรยี นวทิ ยาศาสตร์พลังสบิ ระดับมัธยมศึกษา ด้านทรัพยากรภายในโรงเรียน จานวนหอ้ ง 1. จานวนห้องปฏบิ ัตกิ ารทางวทิ ยาศาสตร์ทม่ี ีความพร้อมในการทาปฏิบัตกิ าร 1) เคมี 2 2) ฟิสกิ ส์ 2 3) ชวี วิทยา 2 4) วิทยาศาสตรท์ ่ัวไป 1 5) ห้องคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยี 3 6) อืน่ ๆ หอ้ งศูนยโ์ อลมิ ปิกวิชาการคณิตศาสตร์ คา่ ย 1 1 2. จานวนหอ้ งจดั เก็บเครื่องมือและสารเคมี 1 3. จานวนห้องปฏบิ ตั กิ ารพิเศษ เช่น ห้องปฏบิ ตั กิ ารวศิ วกรรม ห้องปฏิบตั กิ าร เพาะเล้ยี งเนอื้ เย่ือ สถานท่ีฝึกปฏบิ ัติงานสายอาชพี ในโรงเรยี น เป็นตน้ 3.1 หอ้ งปฏิบัตกิ ารวศิ วกรรม Fab Lab (Fabrication Laboratory) 1

3. ดา้ นการสร้างความรว่ มมือภายนอกโรงเรียน โปรดระบุเครือขา่ ยความร่วมมือ ประเภทหนว่ ยงาน 1. มอ.ปัตตานี 1. สถาบนั อดุ มศกึ ษา 2. มอ.ภเู กต็ 3. มหาวทิ ยาลัยราชภัฏยะลา 2. หน่วยงานรัฐ 1. ศูนย์ สอวน. มอ.ปัตตานี 3. หนว่ ยงานเอกชน 2. มูลนิธิ สอวน. (ศนู ย์โอลมิ ปกิ วิชาการ 4. แหลง่ เรียนรูใ้ นทอ้ งถน่ิ คณติ ศาสตร์ คา่ ย 1) อาทิ ศนู ยก์ ารเรยี นรูเ้ กษตรอนิ ทรยี ป์ ราชญ์ชาวบ้าน 3. ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษายะลา 4. สสวท.(ศนู ย์ สะเตม็ ศกึ ษา) 5. โรงเรยี นมหดิ ลวทิ ยานสุ รณ์ - - 4. ดา้ นอน่ื ๆ โปรดทาเครอื่ งหมาย  ข้อท่สี ามารถดาเนินการได้  มคี รภุ ัณฑก์ ารเรยี นการสอนและวสั ดุคงทนถาวรด้านวิทยาศาสตร์ สาหรับจัดการเรียนการสอนและทา กิจกรรมปฏิบัติการทุกกิจกรรมตามที่กาหนดทั้งในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชวี วทิ ยา และหนงั สือเรยี นรายวชิ าเพ่มิ เตมิ วิทยาศาสตร์ ฟสิ กิ ส์ เคมี และชีววทิ ยา  สามารถส่งครูท่ีสอนวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี ไปรับการอบรมด้านเนื้อหาความรู้และเทคนิควิธีจัดการเรียนการสอน เพื่อเตรียมความพร้อมในการ เป็นวิทยากรของศูนย์ขยายผลองค์ความรู้อย่างน้อยสาขาวิชาละ 2 คน/ครั้ง จานวน 2 คร้ัง/ปี การศึกษา  ครูทีผ่ ่านการอบรมต้องนาสง่ิ ทไ่ี ดร้ ับจากการอบรมไปใช้จัดการเรียนการสอนให้กับนักเรียนในโรงเรียน ของตน  จัดให้มีระบบการนาองค์ความรู้ท่ีได้รับจากการอบรม ไปขยายผลให้กับครูสาขาวิชาเดียวกันในระดับ มธั ยมศึกษาภายในโรงเรียน  มีความพร้อมในการบริหารจัดการบุคลากรครูที่สอนวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี ในระดับมัธยมศึกษาให้สามารถนิเทศโรงเรียนเครือข่ายใน จงั หวัดของตน  ยอมรบั การประเมินตนเองตามตัวช้ีวัดเก่ียวกับการดาเนินงานในฐานะโรงเรียนแม่ข่ายฯ และโรงเรียน ศูนยข์ ยายผลฯ ทีจ่ ะมีการกาหนดร่วมกนั กบั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน

5. กรณุ าให้ข้อมลู เพ่ือประกอบการพจิ ารณาในหัวข้อตอ่ ไปนี้ (จดั ทาเป็นเอกสารแนบ) 1) ทา่ นคดิ ว่า การเป็นโรงเรียนศูนยข์ ยายผลฯ ให้กับโรงเรียนมัธยมศกึ ษาในจังหวัด จะสง่ ผลตอ่ โรงเรยี น ของทา่ นอยา่ งไร 2) ทา่ นคดิ ว่า หากโรงเรยี นท่านได้รบั คดั เลอื กเป็นโรงเรียนศนู ย์ขยายผลฯ ให้กับโรงเรยี นมัธยมศึกษาใน จังหวัด ทา่ นจะดาเนนิ การอย่างไร เพ่ือยกระดบั การจัดการเรยี นร้ขู องครคู ณิตศาสตร์และครวู ทิ ยาศาสตร์ ในจังหวัด 3) ทา่ นคดิ ว่า เพราะเหตใุ ด คณะกรรมการควรคดั เลือกโรงเรียนของท่านใหเ้ ปน็ โรงเรียนศนู ย์ขยายผลฯ ของจงั หวดั 4) ทา่ นยินดจี ะเป็นโรงเรยี นแมข่ ่ายฯ หรือไม่ และหากยินดี ท่านจะดาเนินการอยา่ งไร เพ่ือยกระดบั การ จดั การเรยี นรูข้ องครูคณติ ศาสตรแ์ ละครวู ทิ ยาศาสตร์ในภมู ิภาค 6. ผปู้ ระสานงาน 6.1 ผปู้ ระสานงานระดบั ผูบ้ ริหาร ชื่อ-สกุล นายนพปฎล มุณรี ัตน์ ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรยี นคณะราษฎรบารงุ จงั หวดั ยะลา เบอรโ์ ทรศัพทม์ ือถือ 08-5674-0833 E-mail [email protected] 6.2 ผูป้ ระสานงานระดับผบู้ ริหาร ชือ่ -สกุล นางสาวเพรศิ พิศ คูหามขุ ตาแหนง่ รองผู้อานวยการโรงเรียนคณะราษฎรบารุง จงั หวดั ยะลา เบอรโ์ ทรศัพทม์ ือถือ 08-8783-9782 E-mail [email protected] 6.3 ครูผู้ประสานงาน ชื่อ-สกุล นายครรชติ แซ่โฮ่ ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นคณะราษฎรบารงุ จังหวัดยะลา เบอรโ์ ทรศัพทม์ ือถือ 09-3625-6542 E-mail [email protected] หมายเหตุ : 1) ใหก้ รอกข้อมูลการสมัครท่ี Microsoft form ที่ลงิ ก์ https://forms.office.com/r/Aqg39eUeZc หรือ QR Code 2) จัดสง่ เอกสารฉบับจรงิ ไปที่สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาทต่ี นสงั กดั ลงชื่อ (นายนพปฎล มุณรี ตั น์) ผู้อานวยการโรงเรยี นคณะราษฎรบารงุ จังหวัดยะลา

ข้อมูลเพ่อื ประกอบการพิจารณาในหัวข้อต่อไปน้ี 1) ท่านคดิ ว่า การเป็นโรงเรียนศูนย์ขยายผลฯ ใหก้ ับโรงเรียนมัธยมศึกษาในจงั หวดั จะสง่ ผลตอ่ โรงเรียนของ ท่านอยา่ งไร ตอบ 1. โรงเรียนจะมีหลักสูตรวิทยาศาสตร์พลังสิบท่ีเป็นต้นแบบในการจัดการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี โดยปรับรายวิชาเพิ่มเติมเน้นสมรรถนะผู้เรียนเป็นฐาน เพ่ือบูรณาการ ความรู้ ลดความซ้าซ้อนในการจดั รายวชิ า เนน้ ทกั ษะกระบวนการแสวงหาความรู้และสร้างกระบวนการ คิดได้ด้วยตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ ผ่านกิจกรรมทักษะการคิดแก้ปัญหาและการคิดอย่างสร้างสรรค์ โรงเรยี นจะได้รบั การพฒั นาให้มีคุณภาพและมศี ักยภาพดา้ นวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี 2. ครูจะได้รับการพัฒนา โดยครูผู้สอนท่ีจัดการเรียนการสอนใน 5 รายวิชา คือ ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี จะได้รับการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองให้มีศักยภาพในการจัดการเรียน การสอนใหก้ ับผูเ้ รยี นในทกุ ๆ ปี 3. นักเรียนจะได้รับการพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีทุกคน ได้รับ การพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพตามมาตรฐานโครงการวทิ ยาศาสตร์พลังสิบ 4. โรงเรียนจะมีหอ้ งปฏิบตั ิการวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยที ่มี มี าตรฐาน 5. โรงเรยี นจะเกิดความรว่ มมือทางวชิ าการอยา่ งย่ังยืนในเครอื ข่ายระหว่างโรงเรียน ครผู สู้ อน และนกั เรียน 2) ท่านคิดว่า หากโรงเรียนท่านไดร้ บั คดั เลอื กเปน็ โรงเรียนศูนยข์ ยายผลฯ ให้กับโรงเรียนมัธยมศกึ ษาในจังหวดั ท่านจะดาเนนิ การอย่างไร เพื่อยกระดับการจดั การเรยี นรู้ของครูคณติ ศาสตรแ์ ละครูวทิ ยาศาสตรใ์ นจังหวัด ตอบ โรงเรียนมกี รอบการดาเนินงาน แบ่งออกเปน็ 3 ขัน้ ตอน ดังนี้ ขั้นตอนท่ี 1 การวางแผนงาน 1. ประชุมวางแผนงานของฝ่ายผู้บรหิ ารและผู้ทเี่ ก่ยี วข้องของโรงเรยี นศนู ยข์ ยายผลฯ 2. ออกแบบโครงสรา้ งการดาเนินงานและคณะทางานของโรงเรียนศนู ย์ขยายผลฯ 3. ออกคาสั่งแตง่ ต้งั หรือประกาศที่เกย่ี วกับคณะทางานตามโครงสร้างการดาเนินงานของโรงเรียนศนู ย์ ขยายผลฯ 4. ประชมุ คณะทางานตามโครงสร้างการดาเนนิ งานของโรงเรยี นศูนย์ขยายผลฯ ขัน้ ตอนท่ี 2 การดาเนินงาน 1. โรงเรียนศูนยข์ ยายผลฯ รบั สมัครโรงเรียนมธั ยมศึกษาในจังหวัดให้เปน็ เครือข่าย 2. โรงเรยี นศนู ย์ขยายผลฯ ออกคาส่ังแต่งตงั้ หรือประกาศทเ่ี กี่ยวกับการดาเนินงานของโรงเรยี น มธั ยมศกึ ษาในจังหวดั ทเี่ ปน็ เครอื ข่าย 3. คณะวทิ ยากรของโรงเรยี นศนู ย์ขยายผลฯ ดาเนนิ การอบรมขยายผลองค์ความรู้ให้กบั คณะครูของ โรงเรยี นมัธยมศกึ ษาในจงั หวัดท่ีเปน็ เครือข่ายระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ และมัธยมศึกษาตอนปลาย ได้แก่ 3.1 ครูผสู้ อนระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น เขา้ ร่วมการอบรมด้านคณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี 3.2 ครผู ู้สอนระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย เขา้ รว่ มการอบรมดา้ นคณติ ศาสตร์ ฟิสกิ ส์ เคมี และ ชีววทิ ยา

4. คณะครูของโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดที่เปน็ เครอื ขา่ ย จดั ใหม้ กี ารแลกเปล่ยี นเรียนรู้ของครูในทกุ ระดบั ช้ันภายในโรงเรียน ระหว่างระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้นและมธั ยมศึกษาตอนปลาย ขน้ั ตอนท่ี 3 การพัฒนาและตดิ ตาม 1. โรงเรียนมธั ยมศึกษาในจงั หวัดที่เปน็ เครือข่าย จะต้องมีการรายงานขอ้ มูลทจ่ี าเปน็ และเป็นปัจจุบนั ใหก้ บั โรงเรียนศูนย์ขยายผลฯ รับทราบเพื่อการพฒั นา อาทิ ขอ้ มูลครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ขอ้ มลู นักเรียน ท้ังผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น ตลอดจนข้อมูลการบริหารจัดการท่โี รงเรียนเครือข่าย ดาเนินการ 2. โรงเรียนมธั ยมศกึ ษาในจังหวัดท่เี ป็นเครือขา่ ย จะต้องยกระดบั คุณภาพการจัดการเรยี นการสอน ด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ภายในโรงเรียน 3. คณะครขู องโรงเรยี นมัธยมศึกษาในจงั หวดั ทีเ่ ป็นเครอื ขา่ ย จะได้รับการพัฒนาอยา่ งตอ่ เนื่องตาม แนวทางของโครงการวทิ ยาศาสตร์พลังสิบ 4. โรงเรยี นศูนย์ขยายผลฯ บรหิ ารจัดการงบประมาณทีไ่ ด้รับ เพอ่ื จดั หาวัสดุอปุ กรณ์ท่จี าเปน็ ในการ จดั การเรยี นการสอนและให้คาแนะนาเก่ยี วกบั การจัดหาวสั ดุครุภัณฑ์ทางคณติ ศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ ใหก้ บั โรงเรยี นเครือขา่ ย 5. ตดิ ตาม ใหค้ าแนะนา รับฟังข้อคดิ เหน็ และปัญหา เก่ียวกบั การจัดการเรยี นการสอนดา้ นคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของโรงเรยี นเครือข่าย 3) ท่านคดิ ว่า เพราะเหตุใด คณะกรรมการควรคัดเลอื กโรงเรยี นของท่านให้เป็นโรงเรยี นศนู ย์ขยายผลฯ ของ จังหวัด ตอบ โรงเรียนคณะราษฎรบารงุ จังหวดั ยะลา มีความพร้อม ดังน้ี 1. ดา้ นบุคลากรของโรงเรยี น 1.1 คณะผู้บรหิ ารโรงเรียน มีความสนใจและสมัครใจเข้าร่วมโครงการ และมคี วามรู้ความเขา้ ใจใน โครงการและมคี วามมุ่งม่ันในการพัฒนาโรงเรียนคณะราษฎรบารุง จงั หวดั ยะลา 1.2 ครผู ู้สอนทางคณติ ศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนมีครูผู้สอนท่สี าเรจ็ การศึกษาตรงตามวชิ าที่ สอนทางคณิตศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ 1.3 บุคลากรสายสนับสนุน โรงเรยี นมีเจา้ หน้าทีท่ างธุรการ ไดแ้ ก่ งานพัสดุ งานการเงินและบัญชี 2. ดา้ นทรัพยากรภายในโรงเรียน 2.1 โรงเรยี นมหี ้องปฏบิ ัติการทางวทิ ยาศาสตร์ท่มี คี วามพร้อมในการทาปฏบิ ัติการ 2.2 โรงเรยี นมหี ้องจดั เกบ็ เคร่ืองมือและสารเคมี 2.3 โรงเรียนมหี ้องปฏิบตั ิการพิเศษ เช่น หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารวิศวกรรม Fab Lab (Fabrication Laboratory) หอ้ งศนู ยโ์ อลิมปกิ วชิ าการคณิตศาสตร์ ค่าย 1 3. ดา้ นการสร้างความร่วมมือภายนอกโรงเรียน 3.1 โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จงั หวัดยะลาเป็นโรงเรยี นที่ไดร้ ับการยอมรับจากโรงเรยี นอนื่ ๆ ในพนื้ ท่ี จงั หวัดรวมถึงสามจังหวดั ชายแดนภาคใต้ 3.2 โรงเรยี นมเี ครือข่ายความรว่ มมอื กับมหาวิทยาลัย ดังน้ี 1. สถาบันอุดมศกึ ษา ไดแ้ ก่ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ วทิ ยาเขตปัตตานี มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตภูเก็ต และมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

2. หนว่ ยงานรฐั ได้แก่ ศูนย์ สอวน. มอ.ปัตตานี มูลนธิ ิ สอวน. (ศูนยโ์ อลิมปิกวิชาการ คณติ ศาสตร์ ค่าย 1) ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพื่อการศกึ ษายะลา สสวท.(ศูนย์ สะเตม็ ศึกษา) และโรงเรียนมหิดล วิทยานสุ รณ์ 4) ท่านยินดจี ะเป็นโรงเรียนแมข่ ่ายฯ หรือไม่ และหากยินดี ท่านจะดาเนนิ การอยา่ งไร เพ่ือยกระดับการจัดการ เรยี นรู้ของครคู ณติ ศาสตร์และครูวทิ ยาศาสตรใ์ นภูมิภาค ตอบ ยินดี โรงเรยี นจะดาเนนิ การดังนี้ 1. แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานตามโครงสรา้ งการดาเนินงานของโรงเรียนแมข่ ่ายฯ 2. ประชุมคณะทางาน จัดทาแผนงานโครงการของโรงเรียนแมข่ ่ายฯ 3. โรงเรยี นแม่ข่ายฯ จะดาเนินการคดั เลือกครูเพื่อเข้ารบั การอบรมเพื่อเตรียมความพร้อมในการเปน็ วิทยากรขยายผลองคค์ วามรู้ใหก้ ับคณะครูของโรงเรียนมัธยมศกึ ษาในจังหวัดทีเ่ ปน็ เครอื ข่ายระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยเข้าการอบรมด้านคณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี ที่จัดโดยสถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 4. คณะวิทยากรของโรงเรยี นแม่ข่ายฯ ดาเนินการอบรมขยายผลองคค์ วามรู้ใหก้ ับคณะครูของโรงเรยี น มัธยมศึกษาในจงั หวดั ท่เี ปน็ เครอื ขา่ ยระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้นและมัธยมศกึ ษาตอนปลาย 5. โรงเรียนแม่ข่ายฯ นเิ ทศกากับติดตาม ให้คาแนะนา รบั ฟงั ข้อคดิ เห็นและปญั หาเก่ยี วกบั การจดั การ เรียนการสอนด้านคณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของโรงเรยี นเครือข่าย 6. คณะทางาน ประชุมวางแผน สรุปผลการดาเนนิ งานและจดั ทารายงานผลการดาเนนิ งานของโรงเรยี น แม่ข่ายฯ

ความรู้ ความเขา้ ใจและความมุ่งมน่ั ในการพฒั นาโรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา การพัฒนาประเทศในช่วงที่โลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทั้งด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม วัฒนธรรม ส่ิงแวดล้อม และเทคโนโลยีส่งผลให้เกิดการแข่งขันในหลายประเทศทั่วโลกเพิ่มสูงขึ้น ประเทศไทย จึงจาเปน็ ตอ้ งพฒั นาประเทศไปในทิศทางที่สามารถปรับเปลี่ยนและรองรับการเปล่ียนแปลงได้อย่างเท่าทัน ท้ัง อยู่รอดและเติบโตอย่างต่อเนื่องในระยะยาว การพัฒนาดังกล่าวจาเป็นต้องวางรากฐานการศึกษาที่มีคุณภาพ เพ่อื พัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์ของประเทศใหม้ ีศกั ยภาพในการพฒั นาประเทศต่อไป ทง้ั นีก้ ารพฒั นาคุณภาพดา้ นวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีมีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศ เนื่องจาก ท่ีผ่านมาประเทศไทยเป็นผู้ซื้อและผู้รับเทคโนโลยีจากต่างประเทศส่งผลต่อเศรษฐกิจของประเทศในภาพรวม ดังนัน้ การพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์ใหม้ คี ณุ ภาพ มคี า่ นยิ มตามบรรทัดฐานทดี่ ีทางสังคม เป็นคนดี มีสุขภาวะที่ดี มี คุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัยและมีจิตสานึกที่ดีต่อส่วนรวม พัฒนาทักษะที่เป็นจาเป็นต่อการดารงชีวิตใน ศตวรรษท่ี 21 ท้ังเตรียมกาลงั คนดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีท่เี ปลย่ี นแปลง ส่ิงเหล่าน้ีจะสามารถลดต้นทุน การนาเขา้ และปญั หาตลาดแรงงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั คณุ ภาพทุนมนุษย์สง่ ผลตอ่ การพัฒนาประเทศในระยะยาว อยา่ งไรก็ตาม การพัฒนาคณุ ภาพทุนมนุษย์เปน็ ปญั หาที่เกย่ี วข้องกับการจัดการศึกษาของประเทศท่ียัง เปน็ อุปสรรคสาคญั ในการพฒั นาประเทศ เห็นได้ว่าปัญหาผลสัมฤทธิ์การศึกษาที่อยู่ในระดับต่าจากการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) และผลคะแนนสอบ PISA ของเด็กไทยซ่ึงเป็นทักษะที่จาเป็นใน ศตวรรษท่ี 21 ยังอยู่ในระดับต่ากว่าหลายประเทศและผลคะแนนมีแนวโน้มลดลง จากอันดับที่ 50 ในปี 2555 เป็นอันดับที่ 66 จาก 79 ประเทศ/เขตเศรษฐกิจในปี 2561 นอกจากน้ีดัชนีความสามารถในการแข่งขันระดับ โลกของ WEF ในส่วนของตัวช้ีวัดด้านทักษะ พบว่า อันดับความสามารถปรับตัวลดลงจากอันดับที่ 66 ในปี 2561-2562 เป็นอันดับที่ 73 จาก 141 ประเทศท่ัวโลกหรืออันดับท่ี 6 ของภูมิภาคอาเซียนในปี 2562-2563 ด้วย ดงั นั้น โรงเรียนคณะราษฎรบารงุ จังหวดั ยะลา เปน็ โรงเรียนประจาจงั หวัดในพนื้ ท่สี ามจังหวัดชายแดน ภาคใต้ มีหน้าที่เป็นฟันเฟืองขับเคลื่อนพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้แก่นักเรียน เพื่อสร้างความเข้มแข็งและ ยกระดับคุณภาพทุนมนุษย์ในอนาคต ด้วยการดาเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามกรอบของยุทธศาสตร์ ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและนโยบายการศึกษาชาติ โดยยึดหลักการบริหารองค์กร “เป็นเลิศ ทางวิชาการ สืบสานศาสตร์พระราชา มีคุณธรรมจริยธรรม ระดับมาตรฐานสากล” มีเป้าหมายและตัวช้ีวัดใน การพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนให้มีคุณภาพเพื่อพัฒนาความรู้ ทักษะศตวรรษท่ี 21 ให้แก่ นักเรียน รวมถึงด้านคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์บนพ้ืนฐานความเป็นไทย สามารถนา ความรู้ในศาสตร์พระราชาบูรณาการในการจัดการเรียนการสอนเพื่อนักเรียนมีความตระหนักรู้ ตระหนักคิดใน การดารงตนที่ย่ังยืนยาวนาน โดยใช้กระบวนการวิจัย ทบทวน นิเทศ กากับ ติดตาม เพื่อยกระดับผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนของนักเรียนสู่ระดับชาติ นานาชาติให้เป็นที่ยอมรับ ท้ังน้ีครูผู้สอนต้องมีทักษะและกระบวนการ การจัดการเรียนรู้ สามารถสร้างส่ือ นาเทคโนโลยีและนวัตกรรมท่ีทันสมัยมาใช้ในการสอนอย่างมีคุณภาพเพ่ือ พัฒนาการศึกษาทีค่ ณุ ภาพต่อไป

ภาคผนวก





สิง่ ท่ีส่งมำดว้ ย 1 โครงการวิทยาศาสตร์พลังสิบ .................................................................... 1. ทม่ี าความสาคัญของโครงการ สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน เป็นหน่วยงำนที่ขับเคล่ือนคุณภำพกำรศึกษำ ข้ันพ้ืนฐำนของประเทศไทย โดยมีเป้ำหมำยที่จะพัฒนำ ส่งเสริม และสนับสนุนกำรจัดกำรศึกษำให้ประชำกร วัยเรียนทุกคนได้รับกำรศึกษำอย่ำงมีคุณภำพ โดยเน้นกำรพัฒนำผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อให้ผู้เรียน มีควำมรู้ มีคุณธรรมจริยธรรม มีควำมสำมำรถตำมมำตรฐำนกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนและกำรพัฒนำสู่คุณภำพ ระดับสำกล โดยเฉพำะอย่ำงย่ิงกำรจัดกำรศึกษำท่ีเก่ียวข้องกับวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี โดยสอดคล้อง หลักกำรจัดกำรศึกษำที่กำหนดไว้ในพระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่งชำติ พุทธศักรำช 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม ทุกฉบับ ซ่ึงจะส่งผลใหป้ ระเทศไทยบรรลวุ ิสยั ทัศน์กำรพัฒนำประเทศทก่ี ำหนดไวว้ ่ำประเทศมีควำมมั่นคง มั่งค่ัง ย่ังยืน เป็นประเทศท่ีพัฒนำแล้ว ด้วยกำรพัฒนำตำมหลักของปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียง ตำมยุทธศำสตร์ชำติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) โดยเฉพำะอย่ำงย่ิงยุทธศำสตร์ด้ำนกำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน ท่ีมุ่งเน้นกำรยกระดับศักยภำพของประเทศในหลำกหลำยมิติด้วยวิทยำศำสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม และยังสอดคล้องกับแผนกำรศึกษำแห่งชำติ พุทธศักรำช 2560 – 2579 ในยุทธศำสตร์ด้ำนกำรผลิต และพัฒนำกำลังคน กำรวิจัย และนวัตกรรรม เพ่ือสร้ำงขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันของประเทศ และยุทธศำสตร์ด้ำนกำรพัฒนำศักยภำพคนทุกช่วงวัยและกำรสร้ำงสังคมแห่งกำรเรียนรู้ อีกท้ังเป็นกำรนำ น โ ย บ ำ ย รั ฐ บ ำ ล ด้ ำ น ก ำ ร ป ฏิ รู ป ก ร ะ บ ว น ก ำ ร เ รี ย น รู้ แ ล ะ ก ำ ร พั ฒ น ำ ศั ก ย ภ ำ พ ข อ ง ค น ไ ท ย ทุ ก ช่ ว ง วั ย และด้ำนกำรเตรียมคนไทยสศู่ ตวรรษท่ี ๒๑ มำส่กู ำรปฏิบตั ิ ตลอดจนเปน็ กำรจดั โปรแกรมกำรศึกษำระดับสำกล ตำมเป้ำหมำยกำรพัฒนำท่ียั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) ทำงด้ำนกำรศึกษำที่เท่ำเทียม ทั่วถึง และส่งเสริมกำรเรียนรู้ตลอดชีวิตแก่ทุกคน อีกท้ังยังมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะตำมเป้ำหมำย ของกำรศึกษำและกำรพัฒนำทักษะสำหรับปี 2030 (The Future of Education and Skills 2030) ตำมท่ีกลุ่มประเทศ OECD ได้กำหนดไว้เพ่ือมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะแห่งศตวรรษท่ี 21 ในทุกมิติ ทงั้ ดำ้ นควำมรู้ (Knowledge) ทกั ษะ (Skills) เจตคตแิ ละคณุ คำ่ (Attitudes and Values) ส่ิงเหลำ่ น้เี ปน็ วธิ ีกำร สำคัญที่ช่วยสนับสนุนกำรพัฒนำกำรศึกษำอย่ำงย่ังยืนและสร้ำงควำมผำสุกระดับบุคคลและสังคม ทั้งน้ีกำรขับเคลื่อน และดำเนินกำรเพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้ำหมำยดังกล่ำวของประเทศ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งในส่วนของ กำรพัฒนำคุณภำพวิทยำศำสตร์ศึกษำเพื่อสร้ำงกำลังคนคุณภำพท่ีมีสมรรถนะทำงด้ำนวิทยำศำสตร์ท่ัวไป และระดับสูง เพื่อพัฒนำขีดควำมสำมำรถกำรแข่งขันของประเทศ จึงมีควำมจำเป็นอย่ำงย่ิงที่จะต้องพัฒนำ และยกระดับคุณภำพกำรจดั กำรเรียนร้วู ทิ ยำศำสตร์ คณิตศำสตร์ และเทคโนโลยที งั้ ระบบ ดังน้ัน ครูและบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำมีส่วนสำคัญในกำรยกระดับคุณภำพทำงด้ำนวทิ ยำศำสตร์ ศึกษำและมีบทบำทสำคัญในกำรพัฒนำกระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้และพัฒนำศักยภำพนักเรียนให้มีควำมรู้ ควำมสำมำรถ และเต็มศักยภำพ อย่ำงไรก็ตำม กำรศึกษำของไทยยังมีข้อจำกัดเก่ียวกับกระบวนกำรสอน ของครู เช่น ควำมเข้ำใจในเนื้อหำอย่ำงลึกซ้ึง ทักษะกระบวนกำรเรียนรู้และวิธีกำรสอนที่เน้นเนื้อหำคำตอบ มำกกว่ำกระบวนกำรเรียนรู้ที่นำไปสู่คำตอบ เป็นต้น รวมถึงหลักสูตรที่ไม่สำมำรถตอบสนองควำมต้องกำร ของผู้เรียนได้อย่ำงเต็มศักยภำพ นักเรียนจึงไม่ได้รับกำรพัฒนำสมรรถนะเท่ำท่ีควร ส่งผลให้นักเรียนขำดทักษะ กำรคิดขั้นสูง เช่น ทักษะกำรคิดวิเครำะห์ และไม่สำมำรถนำควำมรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ และนอกจำกนี้ หลำยโรงเรียนยังขำดควำมพร้อมทำงด้ำนห้องเรียน วัสดุ อุปกรณ์ และครุภัณฑ์ ปัจจัยเหล่ำนี้ เปน็ ส่วนสำคัญที่จำเปน็ ต้องเร่งพัฒนำคณุ ภำพกำรศึกษำของไทยใหม้ ีคณุ ภำพและมปี ระสทิ ธภิ ำพอยำ่ งเรง่ ดว่ น /โครงกำร...

สิ่งทส่ี ง่ มำด้วย 1 -2- โครงกำรวิทยำศำสตร์พลังสิบ เป็นควำมร่วมมือระหว่ำงสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำ ขั้นพ้ืนฐำน (สพฐ.) สถำบันส่งเสริมกำรสอนวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) โรงเรียนมหิดลวิทยำนุสรณ์ ที่ประชุมอธิกำรบดีมหำวิทยำลัยแห่งประเทศไทย ท่ีประชุมอธิกำรบดีมหำวิทยำลัยรำชภัฏ และ สำนักงำน พัฒนำวิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยีแหง่ ชำติ (สวทช.) โดยมีวัตถุประสงค์มุ่งพัฒนำสมรรถนะ (Competencies) นักเรียนทำงด้ำนวิทยำศำสตร์ คณิตศำสตร์ และเทคโนโลยี และระดับชั้นมัธยมศึกษำ (ชั้นมัธยมศึกษำปีท่ี 1 – 6 ) ผ่ำนกระบวนกำรของหลักสูตร (Curriculum) และเครือข่ำยกำรพัฒนำศักยภำพมหำวิทยำลัย โรงเรียน ครผู สู้ อน และนกั เรียน (Peer Learning Network) 2. วัตถุประสงคโ์ ครงการ โครงกำรวิทยำศำสตรพ์ ลงั สบิ เป็นโครงกำรท่ีมุ่งพฒั นำสมรรถนะนกั เรยี น (Competencies) ทำงดำ้ นวิทยำศำสตร์ คณิตศำสตร์ และเทคโนโลยีผำ่ นกระบวนกำรของหลักสตู ร (Curriculum) และเครือข่ำย กำรพัฒนำศักยภำพมหำวิทยำลัย โรงเรียน ครูผู้สอน และนักเรียน (Peer Learning Network) เพื่อตอบสนอง ต่อยุทธศำสตร์ชำติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) ด้ำนกำรพัฒนำและเสริมสร้ำงศักยภำพทรัพยำกรมนุษย์ และกำรพัฒนำศักยภำพคนทุกช่วงวัย และกำรสร้ำงสังคมแห่งกำรเรียนรู้ตำมแผนกำรศึกษำชำติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) 3. เป้าหมายโครงการ 3.1 หลักสูตรวิทยาศาสตร์พลังสิบมีมาตรฐานและคุณภาพ สำมำรถเป็นต้นแบบในกำร จัดกำรเรียนรู้ด้ำนวิทยำศำสตร์ คณิตศำสตร์ และเทคโนโลยี โดยปรับรำยวิชำเพิ่มเติมเน้นสมรรถนะผู้เรียน เป็นฐำน เพ่ือบูรณำกำรควำมรู้ ลดควำมซ้ำซ้อนในกำรจัดรำยวิชำ เน้นทักษะกระบวนกำรแสวงหำควำมรู้ และสร้ำงกระบวนกำรคิดได้ด้วยตนเองอย่ำงมีประสิทธิภำพ ผ่ำนกิจกรรมทักษะกำรคิดแก้ปัญหำและกำรคิด อย่ำงสร้ำงสรรค์ 3.2 พัฒนาโรงเรียนท่ีเข้าร่วมโครงการ ระดับมัธยมศึกษำ ท้ังส้ิน 1,100 โรงเรียน ประกอบดว้ ย (1) โรงเรียนศูนย์ โรงเรียนที่เข้ำร่วมโครงกำรวิทยำศำสตร์พลังสิบได้รับ กำรพัฒนำให้มีคุณภำพและมีศักยภำพเป็นศูนย์ฝึกอบรมด้ำนวิทยำศำสตร์ คณิตศำสตร์ และเทคโนโลยี จำนวน 100 โรงเรยี น เพ่อื ใหบ้ รกิ ำรทำงวชิ ำกำรแกโ่ รงเรียน (2) โรงเรยี นเครอื ข่าย จำนวน 1,000 โรงเรยี น (1 โรงเรยี นศนู ย์ตอ่ 10 โรงเรยี นเครือขำ่ ย) 3.3 พัฒนาครูในโรงเรียนท่ีเข้าร่วมโครงการ โดยครูผู้สอนที่จัดกำรเรียนกำรสอน ใน 5 รำยวิชำ คือ ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยำ คณิตศำสตร์ และเทคโนโลยีจะได้รับกำรฝึกอบรมเพื่อพัฒนำตนเอง ให้มีศักยภำพในกำรจัดกำรเรียนกำรสอนให้กับผู้เรียนในทุกๆ ปี ปีละ 2 ครั้ง ซ่ึงจะมีครูที่ได้รับกำรพัฒนำ ศักยภำพ ตลอดระยะเวลำดำเนินงำน 10 ปี 3.4 พัฒนานักเรียนท่ีมีความสนใจทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ทุกคน ไดร้ ับกำรพฒั นำอยำ่ งเตม็ ศักยภำพตำมมำตรฐำนโครงกำรวทิ ยำศำสตร์พลังสบิ ตลอดระยะเวลำ 10 ปี 3.5 ให้นิสิต/นักศึกษา ครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ (Pre-service teacher) ฝึกประสบกำรณ์ วิชำชีพครูในโรงเรียนที่ร่วมโครงกำร มีควำมรู้ควำมสำมำรถในกำรจัดกำรเรียนรู้ วิทยำศำสตร์ คณิตศำสตร์ และเทคโนโลยตี ำมแนวทำงโครงกำรวิทยำศำสตร์พลงั สบิ อยำ่ งมีประสทิ ธภิ ำพ /4. ตัวช้ีวัด...

ส่งิ ท่สี ง่ มำดว้ ย 1 -3- 4. ตวั ช้วี ดั ความสาเรจ็ (เชิงปริมาณ/เชิงคุณภาพ) 4.1 เชงิ ปริมาณ 1. จำนวนโรงเรียนท่ีมีควำมพร้อมและมีศักยภำพเป็นศูนย์ฝึกอบรมและให้บริกำรทำง วชิ ำกำร จำนวน 100 ศูนย์ 2. ร้อยละของครูผู้สอนท่ีได้รับกำรอบรมพัฒนำตนเองทำงด้ำนควำมรู้ ทักษะ และประสบกำรณ์เพ่มิ ข้นึ 4.2 เชงิ คณุ ภาพ 1 . โ ร ง เ รี ย น ที่ เ ข้ ำ ร่ ว ม โ ค ร ง ก ำ ร มี ค ว ำ ม พ ร้ อ ม แ ล ะ มี ศั ก ย ภ ำ พ เ ป็ น ศู น ย์ ฝึ ก อ บ ร ม และใหบ้ ริกำรทำงวชิ ำกำร 2. ครูในโรงเรียนท่ีเข้ำร่วมโครงกำรมีควำมรู้ ทักษะ และประสบกำรณ์ ในกำรจัดกำร เรียนรู้ตำมหลกั สตู รโครงกำรวทิ ยำศำสตรพ์ ลังสิบ 3. หลักสูตรวิทยำศำสตร์พลังสิบมีมำตรฐำนและคุณภำพ ตอบสนองกำรพัฒนำผู้เรียน ตำมยุทธศำสตรช์ ำติ 20 ปี ดำ้ นกำรพฒั นำและเสริมสรำ้ งศักยภำพทรัพยำกรมนษุ ย์ 4. เกิดเครือข่ำยควำมร่วมมือทำงวิชำกำร (Network) ระหว่ำงมหำวิทยำลัย โรงเรียน ครผู ู้สอน และนักเรียน 5. สถานท/่ี พนื้ ท่ีดาเนินการ โรงเรียนสงั กดั สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขน้ั พ้นื ฐำน 5. การติดตามและประเมินผล วธิ กี ำร : ตดิ ตำมประเมนิ ผลโครงกำรเพ่อื ปรับปรุงกำรดำเนินงำนโดยกำรวจิ ัยโครงกำร, กำรวิเครำะห์ ผลกำรทดสอบของนักเรยี น และประเมินผลดำ้ นตำ่ งๆ ของโรงเรียนตำมหลกั เกณฑ์วธิ ีกำร ประเมินของโครงกำร เคร่อื งมือ : เครอื่ งมือวจิ ัย แบบทดสอบ แบบสำรวจ แบบสัมภำษณ์ ช่วงเวลำ : ตลอดระยะเวลำในงบประมำณ 7. ผูร้ ับผิดชอบโครงการ สำนักบรหิ ำรงำนควำมเป็นเลิศดำ้ นวทิ ยำศำสตร์ศกึ ษำ สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้นั พืน้ ฐำน โทรศพั ท์ 022885801 โทรสำร 022885590 8. ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั 1. นักเรียนในสังกัดสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนได้รับกำรพัฒนำสมรรถนะ ดำ้ นวทิ ยำศำสตร์ คณิตศำสตร์ และเทคโนโลยีเพ่มิ ขนึ้ ท้งั ในระดับประถมศกึ ษำและระดับมธั ยมศึกษำ 2. หลักสูตรวิทยำศำสตร์พลังสิบมีมำตรฐำนและคุณภำพ สำมำรถเป็นต้นแบบในกำรจัด กำรเรยี นรดู้ ำ้ นวิทยำศำสตร์ คณติ ศำสตร์ และเทคโนโลยี 3. เกิดควำมร่วมมือทำงวิชำกำรอย่ำงย่ังยืนในเครือข่ำย (Network) ระหว่ำงโรงเรียน ครูผสู้ อน และนกั เรียน 4. ครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำมีโอกำสได้รับกำรพัฒนำให้มีควำมรู้ควำมสำมำรถมำกข้ึน มีศักยภำพในกำรจัดกำรเรียนรู้ให้มีประสิทธิภำพตำมเป้ำหมำยที่กำหนด และเป้ำหมำยอื่น ๆ นอกเหนือจำก เปำ้ หมำยทีก่ ำหนดทว่ั ไป 5. โรงเรยี นมีห้องปฏบิ ตั ิกำรวิทยำศำสตร์ คณิตศำสตร์ และเทคโนโลยที ีม่ มี ำตรฐำน 6. ขยำยฐำนกำรพฒั นำและส่งเสริมนักเรียน เพือ่ รองรับกำรพัฒนำกำลงั คนด้ำนวิทยำศำสตร์ คณติ ศำสตร์ และเทคโนโลยี

ส่งิ ทส่ี ่งมาดว้ ย 2 คุณสมบตั ิทใี่ ช้ประกอบการพิจารณาคดั เลอื กโรงเรียนแม่ขา่ ยโครงการวิทยาศาสตร์พลังสิบ และโรงเรยี นศูนยข์ ยายผลโครงการวทิ ยาศาสตร์พลงั สบิ ……………………………………………………. โรงเรียนที่จะเป็นโรงเรียนศูนย์ขยายผลฯ โครงการวิทยาศาสตร์พลังสบิ ต้องได้รับการพิจารณาและคัดเลอื ก 2 รอบ ตามคณุ สมบัติ ดงั น้ี การพิจารณาคดั เลือก รอบที่ 1 พิจารณาคุณสมบัติของโรงเรียนแม่ข่ายฯ และโรงเรียนศูนย์ขยายผลฯ (จากใบสมัคร และ/หรือ ประเมินจาก การลงพืน้ ทจ่ี รงิ ) ในด้านต่าง ๆ ดงั นี้ 1. ดา้ นบุคลากรของโรงเรยี น 1.1 คณะผูบ้ ริหารโรงเรียน  มีความสมัครใจเขา้ ร่วมโครงการ  มีความรู้ ความเข้าใจในโครงการและมีความมุ่งมั่นในการพัฒนาโรงเรียน (พิจารณาจากเอกสาร การเขยี นแสดงวิสยั ทัศน์ของผูอ้ านวยการ ไม่เกิน 1 หน้ากระดาษ A4) 1.2 ครผู สู้ อนทางคณิตศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์  สดั สว่ นของจานวนครผู ูส้ อน ตอ่ จานวนนกั เรียน (แยกตามสาขาวชิ า) คณติ ศาสตร์ ฟสิ ิกส์  เคมี ชีววทิ ยา  จานวนครูผ้สู อนทสี่ าเร็จการศึกษาตรงตามวชิ าท่สี อนทางคณติ ศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ อย่างนอ้ ย 6 คน ฟสิ กิ ส์ อยา่ งนอ้ ย 4 คน เคมี อยา่ งน้อย 4 คน ชีววิทยา อยา่ งนอ้ ย 4 คน  จานวนชั่วโมงการสอนเฉลยี่ ตอ่ สัปดาห์  คณิตศาสตร์ ฟสิ กิ ส์  เคมี ชวี วทิ ยา 1.3 จานวนบุคลากรสายสนบั สนุน  จานวนเจ้าหนา้ ทห่ี ้องปฏิบัตกิ ารทางวทิ ยาศาสตร์  จานวนเจ้าหน้าท่ที างธรุ การท่ีมีความเช่ยี วชาญ (งานพสั ดุ งานการเงนิ และบัญช)ี 2. ด้านทรัพยากรภายในโรงเรยี น 2.1 จานวนหอ้ งปฏบิ ตั ิการทางวิทยาศาสตร์ที่มีความพร้อมในการทาปฏิบัติการ  ฟสิ กิ ส์ อยา่ งน้อย 1 ห้อง  เคมี อยา่ งน้อย 1 ห้อง  ชีววิทยา อยา่ งนอ้ ย 1 หอ้ ง /2.2 จานวนหอ้ ง...

ส่งิ ท่ีส่งมาดว้ ย 2 -2- 2.2 จานวนห้องจัดเก็บเครอ่ื งมอื และสารเคมี อยา่ งน้อย 1 ห้อง 2.3 ห้องปฏิบัติการพิเศษ เช่น ห้องปฏิบัติการวศิ วกรรม ห้องปฏิบตั กิ ารเพาะเลี้ยงเนอื้ เยื่อ เปน็ ตน้ 3. ด้านนักเรียน 3.1 สดั สว่ นของจานวนนักเรียน ตอ่ 1 หอ้ งเรียน 3.2 ดา้ นหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนในโรงเรยี น  จานวนหอ้ งเรียนพิเศษ (โปรแกรม) ทางด้านวิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ ทโ่ี รงเรยี นเปิดเอง  จานวนห้องเรียนพิเศษ (โปรแกรม) ทางดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ ทโ่ี รงเรยี นเขา้ ร่วม  จานวนช่ัวโมงการจัดการเรยี นการสอนโดยใชห้ ้องเรียนปฏิบัตกิ าร 4. ดา้ นการสร้างความรว่ มมือภายนอกโรงเรยี น  การเปน็ ทีย่ อมรบั จากโรงเรยี นอ่นื ๆ ในพนื้ ท่จี งั หวดั  การมีเครือข่ายความรว่ มมอื กบั มหาวิทยาลัย  การสรา้ งเครอื ขา่ ยแหลง่ เรยี นรู้ในทอ้ งถน่ิ 5. ด้านอน่ื ๆ 5.1 มีครุภัณฑ์การเรียนการสอนและวัสดุคงทนถาวรด้านวิทยาศาสตร์ สาหรับการจัดการเรียน การสอนและทาปฏิบัติการ ทุกปฏิบัติการตามท่ีกาหนดท้ังในหนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี และชีววทิ ยา และหนังสอื เรยี นรายวชิ าเพิ่มเตมิ วทิ ยาศาสตร์ ฟิสกิ ส์ เคมี และชีววทิ ยา 5.2 สามารถส่งครูท่ีสอนวิชาคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี และชีววิทยา ไปรับการอบรมด้านเน้ือหา ความรู้และเทคนิควิธีจัดการเรียนการสอน เพื่อเตรียมความพร้อมในการเป็นวิทยากรของศูนย์ขยายผลองค์ความรู้ฯ อย่างน้อยสาขาวิชาละ 2 คน/ครง้ั 5.3 ครูที่ผ่านการอบรมต้องนาสิ่งที่ได้รับจากอบรมไปใช้ในจัดการเรียนการสอนให้กับนักเรียน ในโรงเรยี นของตน 5.4 จัดให้มีระบบการนาองค์ความรู้ที่ได้รับจากการอบรมท่ีจากสถาบันส่งเสริมการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีหรือโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์หรือหน่วยงานอื่นที่เก่ียวข้อง ไปขยายผลให้กับครู สาขาวิชาเดียวกนั หรือครูในโรงเรยี น 5.5 มีความพร้อมในการบริหารจัดการบุคลากรครูที่สอนวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ฟิสิกส์ เคมี และชีววิทยา ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายให้สามารถนิเทศโรงเรียน มัธยมศกึ ษา สงั กัด สพฐ. ในจังหวดั ของตนทเ่ี ป็นโรงเรียนเครือข่าย 5.6 ยอมรับการประเมินตนเองตามตัวชี้วดั เก่ียวกับการดาเนินงานในฐานะโรงเรยี นศูนยข์ ยายผลฯ ท่จี ะมกี ารกาหนดรว่ มกนั ระหว่างสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โรงเรยี นมหดิ ลวิทยานสุ รณ์ และผบู้ รหิ ารโรงเรียน การพจิ ารณาคัดเลือก รอบที่ 2 1.เปน็ โรงเรียนที่ผ่านการคัดเลอื กเปน็ โรงเรยี นในโครงการวทิ ยาศาสตร์พลงั สบิ รอบที่ 1 2. มโี รงเรียนเครอื ขา่ ยในจงั หวดั ตามเกณฑท์ โ่ี ครงการกาหนด (จานวน 10 โรงเรียน)

สง่ิ ท่สี ง่ มาดว้ ย 3 บทบาทหนา้ ที่ของโรงเรยี นโครงการวทิ ยาศาสตรพ์ ลงั สิบ ระดบั มธั ยมศึกษา โรงเรียนศนู ยข์ ยายผลฯ (100 โรงเรียน)ระดบั มัธยมศึกษา 1. สง่ ผบู้ ริหารเขา้ รว่ มการอบรม 2. สง่ ครูเข้ารับการอบรมเตรยี มความพร้อมในการเป็นวทิ ยากร จานวน 2 – 4 คร้ัง/ปกี ารศึกษา ระยะเวลา 3 ปี ตอ่ เนอ่ื ง 2.1 ครูผู้สอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เข้าร่วมการอบรมด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 2.2 ครผู สู้ อนระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เขา้ รว่ มการอบรมด้านคณติ ศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี และชีววทิ ยา 3. จัดให้มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ของครูในทุกระดับช้ันภายในโรงเรียน ระหว่างระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และมธั ยมศึกษาตอนปลาย 4. คัดเลือกโรงเรียนเครอื ขา่ ย จานวนไม่เกิน 10 โรงเรยี น ทม่ี คี ณุ สมบตั เิ หมาะสมตามเกณฑ์ทีก่ าหนด 5. จัดอบรมขยายผลองค์ความรู้ให้กับครูโรงเรียนเครือข่ายในจังหวัด ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษา ตอนปลาย จานวน 2 ครั้ง/ปกี ารศกึ ษา ระยะเวลา 3 ปตี ่อเนอื่ ง 6. ติดตาม ให้คาแนะนา รับฟังข้อคิดเห็นและปัญหา เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของโรงเรยี นเครอื ขา่ ย 7. ยกระดับคณุ ภาพการจัดการเรียนการสอนด้านคณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ภายในโรงเรียน 8. บริหารจัดการงบประมาณที่ได้รับ เพ่ือจัดหาวัสดุอุปกรณ์ท่ีจาเป็นในการจัดการเรียนการสอนและให้คาแนะนา เกย่ี วกับการจดั หาวสั ดคุ รภุ ณั ฑท์ างคณติ ศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ ให้กับโรงเรยี นเครอื ข่าย โรงเรยี นเครอื ข่ายในจังหวัด (ไม่เกิน 10 โรงเรยี น/ 1 โรงเรยี นศนู ย์ขยายผลฯ) 1. ส่งครูระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี จานวน 3 – 5 คน ไปเข้ารบั การอบรมพัฒนาท่โี รงเรยี นศนู ยข์ ยายผลฯ จานวน 2 คร้งั /ปกี ารศกึ ษา ระยะเวลา 3 ปตี ่อเน่ือง 2. ส่งครูระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในสาขาวิชาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา และคณิตศาสตร์ สาขาละ 2 คน ไปเขา้ รบั การอบรมพัฒนาทโ่ี รงเรียนศูนย์ขยายผลฯ จานวน 2 คร้ัง/ปีการศกึ ษา ระยะเวลา 3 ปีต่อเนื่อง 3. ยกระดับคณุ ภาพการจดั การเรียนการสอนด้านคณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีภายในโรงเรียน 4. บรหิ ารจัดการงบประมาณท่ีไดร้ ับเพ่ือจัดหาวัสดุอุปกรณ์ทีจ่ าเป็นในการจดั การเรียนการสอนภายในโรงเรยี น โรงเรยี นแมข่ ่าย (10 โรงเรยี นคัดเลือกจากโรงเรียนศูนย์ขยายผลฯ 100 โรงเรยี น) ระดบั มธั ยมศกึ ษา 1. สง่ ครูเข้ารับการอบรมเตรยี มความพร้อมในการเป็นวิทยากร จานวน 2 – 4 ครั้ง/ปีการศึกษา ระยะเวลา 3 ปี ต่อเนอ่ื ง 1.1 ครูผู้สอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เข้าร่วมการอบรมด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ที่จัดโดยสถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี / 1.2 ครูผูส้ อน...

สิง่ ท่สี ่งมาด้วย 3 -2- 1.2 ครูผู้สอนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เข้าร่วมการอบรมด้านคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี และชีววิทยา ทจ่ี ดั โดยโรงเรียนมหิดลวทิ ยานสุ รณ์ 2. จัดอบรมเตรียมความพร้อมในการเป็นวิทยากรของโรงเรียนศูนย์ขยายผลฯ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลายในภมู ภิ าค จานวน 2 ครง้ั /ปกี ารศึกษา ระยะเวลา 3 ปีตอ่ เน่อื ง 3. ติดตาม ให้คาแนะนา รับฟังข้อคิดเห็นและปัญหา เกี่ยวกับการจัดการอบรมขยายผลของโรงเรียนศูนย์ขยายผลฯ ในภูมภิ าค 4. ปฏบิ ัติหน้าที่เป็นโรงเรียนศนู ยข์ ยายผลฯ

สิง่ ที่ส่งมำด้วย 4 ใบสมคั รเข้าร่วมโครงการวิทยาศาสตรพ์ ลงั สบิ ระดับมธั ยมศึกษา สงั กดั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน 1.ข้อมลู พนื้ ฐานโรงเรียน รหัสโรงเรยี น 10 หลกั           ชอ่ื โรงเรียน................................................................................................................................................................... ที่ตั้ง....................หมู่......................................ถนน....................................ตำบล/แขวง................................................ อำเภอ/เขต...........................................จังหวดั .........................................รหัสไปรษณยี ์ ............................................. เบอรโ์ ทรศัพท์ ...................................................... Email............................................................................................ สังกัดสำนักงำนเขตพน้ื ท่ีกำรศึกษำมัธยมศกึ ษำ............................................................................................................ จำนวนนักเรยี นระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษำปที ี่ 1 – 6 รวมทงั้ ส้นิ .....................คน จำแนกเปน็ หลักสูตรการจดั การเรียนการสอน หลกั สตู ร หลักสูตร หลกั สูตร หลักสตู ร หลักสตู ร ระดบั ชน้ั ………………………… ………………………… ………………………… ………………………… ………………………… จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน นักเรยี น หอ้ ง นักเรยี น ห้อง นักเรยี น หอ้ ง นักเรยี น หอ้ ง นักเรยี น หอ้ ง มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 มัธยมศึกษาปีที่ 3 มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 มัธยมศึกษาปีท่ี 5 มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 หมำยเหตุ : 1. โปรดระบุชอื่ หลักสตู ร อำทิ GIFTED คณติ ศำสตร์-วิทยำศำสตร์, EP และ MEP 2. โปรดระบใุ ห้ครบทุกหลักสูตร โดยสำมำรถเพิ่มตำรำงเพ่ือระบุขอ้ มูลหลักสูตรได้ ด้านครูผสู้ อนทางคณติ ศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ สาขาวชิ า ข้อมูลการสาเร็จการศกึ ษา จานวนชั่วโมงสอนเฉล่ีย จบตรงสาขา จบไมต่ รงสาขา รวมจานวน (คน) (คาบ/คน/สปั ดาห์) 1) คณติ ศำสตร์ 2) เคมี 3) ฟิสิกส์ 4) ชีววิทยำ 5) โลก ดำรำศำสตร์ และอวกำศ 6) คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยี

- 2 - สิ่งที่สง่ มำด้วย 4 สาขาวิชา ขอ้ มูลการสาเร็จการศกึ ษา จานวนช่ัวโมงสอนเฉล่ีย จบตรงสาขา จบไม่ตรงสาขา รวมจานวน (คน) (คาบ/คน/สัปดาห์) 7) วิทยำศำสตร์ท่ัวไป 8) สำขำอน่ื ๆ โปรดระบุ……………………… หมำยเหตุ : - จบตรงสำขำวชิ ำ อำทิ ครผู สู้ อนสำขำวิชำฟสิ กิ ส์ มวี ุฒกิ ำรศึกษำ วท.บ.ฟิสกิ ส์ ค.บ.ฟสิ กิ ส์ กศ.บ.ฟสิ กิ ส์ ศศ.บ.ฟสิ กิ ส์ - จบไม่ตรงสำขำ อำทิ ครผู ู้สอนสำขำวชิ ำชีววิทยำ มีวุฒิกำรศกึ ษำ พ.บ. วท.บ.เทคโนโลยอี ำหำร วท.บ.วทิ ยำศำสตรส์ ิ่งแวดลอ้ ม โรงเรยี นมกี ารจา้ งบคุ ลากรสายสนับสนนุ จำนวน ………… คน  ไมม่ ี จำนวน ………… คน  มี โปรดระบุ 1. เจ้ำหน้ำทห่ี อ้ งปฏิบตั ิกำรทำงวทิ ยำศำสตร์ 2. เจ้ำหนำ้ ทีท่ ำงธรุ กำร (งำนพัสดุ งำนกำรเงิน และบญั ชี) 3. อื่น ๆ ………………………………………… 2. ข้อมูลหอ้ งปฏบิ ัติการและอาคารสถานท่ี ควำมพร้อมดำ้ นอำคำรสถำนทขี่ องกำรจัดห้องเรยี นวทิ ยำศำสตร์พลังสิบ ระดับมัธยมศึกษำ ดา้ นทรัพยากรภายในโรงเรยี น จานวนห้อง 1. จำนวนหอ้ งปฏิบตั ิกำรทำงวิทยำศำสตร์ท่มี ีควำมพร้อมในกำรทำปฏิบตั กิ ำร 1) เคมี 2) ฟิสิกส์ 3) ชีววิทยำ 4) วทิ ยำศำสตรท์ วั่ ไป 5) หอ้ งคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยี 6) อืน่ ๆ........................................... 2. จำนวนห้องจดั เก็บเคร่อื งมอื และสำรเคมี 3. จำนวนหอ้ งปฏิบตั ิกำรพิเศษ เชน่ ห้องปฏิบตั กิ ำรวศิ วกรรม ห้องปฏบิ ัติกำร เพำะเลย้ี งเน้อื เยื่อ สถำนท่ีฝึกปฏบิ ัติงำนสำยอำชพี ในโรงเรยี น เป็นตน้ 3.1. ………………………………………. 3.2. ………………………………………. 3.3. ……………………………………….

-3- สง่ิ ทสี่ ง่ มำด้วย 4 โปรดระบเุ ครอื ข่ายความร่วมมือ 3. ดา้ นการสร้างความร่วมมือภายนอกโรงเรียน ประเภทหน่วยงาน 1. สถำบันอดุ มศกึ ษำ 2. หนว่ ยงำนรฐั 3. หนว่ ยงำนเอกชน 4. แหลง่ เรยี นรูใ้ นทอ้ งถ่นิ อำทิ ศนู ย์กำรเรยี นรู้เกษตรอินทรีย์ ปรำชญช์ ำวบำ้ น 4. ดา้ นอนื่ ๆ โปรดทาเครื่องหมาย  ข้อท่ีสามารถดาเนินการได้  มีครุภัณฑ์กำรเรียนกำรสอนและวัสดุคงทนถำวรด้ำนวิทยำศำสตร์ สำหรับจัดกำรเรียนกำรสอนและทำกิจกรรม ปฏิบตั กิ ำรทุกกิจกรรมตำมทกี่ ำหนดทง้ั ในหนังสอื เรียนรำยวิชำพ้นื ฐำนวิทยำศำสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชีววทิ ยำ และหนังสือ เรียนรำยวชิ ำเพม่ิ เติมวิทยำศำสตร์ ฟสิ ิกส์ เคมี และชวี วิทยำ  สำมำรถส่งครูที่สอนวิชำคณิตศำสตร์ วิทยำศำสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยำ คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี ไปรับกำรอบรมด้ำนเนื้อหำควำมรู้และเทคนิควิธีจัดกำรเรียนกำรสอน เพ่ือเตรียมควำมพร้อมในกำรเป็นวิทยำกร ของศูนยข์ ยำยผลองคค์ วำมรู้ อยำ่ งนอ้ ยสำขำวชิ ำละ 2 คน/คร้งั จำนวน 2 คร้ัง/ปกี ำรศึกษำ  ครทู ผี่ ่ำนกำรอบรมต้องนำสิ่งทีไ่ ดร้ ับจำกกำรอบรมไปใช้จดั กำรเรยี นกำรสอนใหก้ บั นักเรียนในโรงเรยี นของตน  จัดให้มีระบบกำรนำองค์ควำมรู้ที่ได้รบั จำกกำรอบรม ไปขยำยผลให้กับครูสำขำวิชำเดียวกันในระดับมัธยมศึกษำ ภำยในโรงเรยี น  มีควำมพร้อมในกำรบริหำรจัดกำรบุคลำกรครูที่สอนวิชำคณิตศำสตร์ วิทยำศำสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยำ คอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยี ในระดบั มธั ยมศกึ ษำให้สำมำรถนเิ ทศโรงเรียนเครือข่ำยในจงั หวดั ของตน  ยอมรับกำรประเมินตนเองตำมตัวช้ีวัดเก่ียวกับกำรดำเนินงำนในฐำนะโรงเรียนแม่ข่ำยฯ และโรงเรียนศูนย์ขยำยผลฯ ทจ่ี ะมีกำรกำหนดร่วมกันกบั สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขน้ั พ้ืนฐำน 5. กรุณาให้ขอ้ มูลเพื่อประกอบการพจิ ารณาในหัวข้อต่อไปน้ี (จดั ทาเป็นเอกสารแนบ) 1) ท่ำนคิดว่ำ กำรเป็นโรงเรียนศูนย์ขยำยผลฯ ให้กับโรงเรียนมัธยมศึกษำในจังหวัด จะส่งผลต่อโรงเรียน ของท่ำนอย่ำงไร 2) ท่ำนคิดว่ำ หำกโรงเรียนท่ำนได้รับคัดเลือกเป็นโรงเรียนศูนย์ขยำยผลฯ ให้กับโรงเรียนมัธยมศึกษำในจังหวัด ทำ่ นจะดำเนนิ กำรอย่ำงไร เพือ่ ยกระดบั กำรจัดกำรเรยี นรู้ของครคู ณิตศำสตร์และครูวิทยำศำสตรใ์ นจังหวดั 3) ทำ่ นคิดวำ่ เพรำะเหตุใด คณะกรรมกำรควรคดั เลอื กโรงเรียนของท่ำนใหเ้ ป็นโรงเรียนศนู ย์ขยำยผลฯ ของจงั หวัด 4) ท่ำนยินดีจะเป็นโรงเรียนแม่ข่ำยฯ หรือไม่ และหำกยินดี ท่ำนจะดำเนินกำรอย่ำงไร เพ่ือยกระดับกำรจัด กำรเรยี นรู้ของครคู ณิตศำสตรแ์ ละครูวิทยำศำสตรใ์ นภูมภิ ำค

- 4 - ส่งิ ท่ีส่งมำด้วย 4 6. ผู้ประสานงาน 6.1 ผู้ประสานงานระดบั ผ้บู รหิ าร ชือ่ -สกลุ ........................................................................................ ตำแหนง่ ................................................................... เบอร์โทรศัพทม์ ือถือ .................................................................E-mail………………………………………………………………… 6.2 ครูผปู้ ระสานงาน ชอื่ -สกุล........................................................................................ ตำแหนง่ ................................................................... เบอรโ์ ทรศัพทม์ ือถือ .................................................................E-mail………………………………………………………………… หมำยเหตุ : 1) ให้กรอกขอ้ มูลกำรสมัครที่ Microsoft form ทลี่ ิงก์ https://forms.office.com/r/Aqg39eUeZc หรอื QR Code 2) จัดสง่ เอกสำรฉบบั จริง ไปทสี่ ำนักงำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำมัธยมศึกษำที่ตนสงั กดั ลงชอื่ ...................................................... (............................................................) ผอู้ ำนวยกำรโรงเรียน ...................................................